Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 8

หนังสือชี้ชวนส่วนสรุปข้อมูลสาคัญ Factsheet

บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ทาลิส จากัด ข้อมูล ณ วันที่ 28 ธ.ค. 2566


กองทุนเปิด MEGA 10 CHINA ชนิดสะสมมูลค่า
MEGA10CHINA-A
ประเภทกองทุนรวม / กลุ่มกองทุนรวม ระดับความเสี่ยง
• กองทุนรวมตรำสำรทุน
ต่า 1 2 3 4 5 6 7 8 สูง
เสี่ยงสูง
• กลุ่ม Greater China Equity
ลงทุนในตรำสำรทุนเป็นหลักโดยเฉลี่ย
นโยบายและกลยุทธ์การลงทุน ในรอบปีไม่น้อยกว่ำ 80% ของ NAV
• กองทุนมีนโยบำยลงทุนในตรำสำรทุนของบริษัทจดทะเบียนที่จดทะเบียนซือ้ ขำยในตลำดหลักทรัพย์
ฮ่องกง (Hong Kong Stock Exchange; HKEX) ซึง่ เป็นบริษัทที่เน้นควำมเป็นผูน้ ำในด้ำนตรำสินค้ำ ข้อมูลกองทุนรวม
(Brand Value) ในกลุม่ TOP/BEST CHINESE BRANDS จำกกำรจัดอันดับโดยบริษัทที่มีชื่อเสียงและ วันจดทะเบียนกองทุน 27 ธ.ค. 2566
เป็นที่ยอมรับในเรือ่ งของกำรจัดอันดับดังกล่ำว โดยผูจ้ ัดกำรกองทุนจะคัดเลือกและพิจำรณำเน้นลงทุน วันเริ่มต้น class 27 ธ.ค. 2566
ในตรำสำรทุนที่ผ่ำนกำรพิจำรณำคัดเลือกจำนวน 10 บริษัท นโยบำยกำรจ่ำยเงินปันผล ไม่จ่ำย
• ลงทุนตำมหลักเกณฑ์กำรคัดเลือกหลักทรัพย์และกำรบริหำรจัดกำรที่กำหนด (Rules based อำยุกองทุน ไม่กำหนด
Approach) โดยมุ่งหวังให้ผลประกอบกำรเคลือ่ นไหวสูงกว่ำดัชนีชี้วดั ในระยะยำว
ผู้จัดการกองทุนรวม
ผลการดาเนินงานและดัชนีชี้วัดย้อนหลัง 5 ปีปฏิทิน (%ต่อปี) นำย วีระพล สิมะโรจน์ (ตั้งแต่ 27 ธ.ค. 2566)
กองทุ
ดัชนนี ชวี้ ัดavg
Peer
กองทุน ดัชนีชี้วัด น.ส. ปวเรศร์ ตั้งอภิชำติเจริญ (ตั้งแต่ 27 ธ.ค. 2566)
2.00% ## ## ##1.85%
##

1.00%
ดัชนีชี้วัด :
ดัชนี Hang Seng Total Return ปรับด้วยอัตรำ
0.00% แลกเปลี่ยน เพื่อคำนวณผลตอบแทนเป็นสกุลเงินบำท ณ
-1.00% วันที่คำนวณผลตอบแทน สัดส่วน 100% เพื่อเปรียบเทียบ
-0.96% กับผลกำรดำเนินงำนของกองทุน
-2.00%
2566

ผลการดาเนินงานย้อนหลังแบบปักหมุด (%ต่อปี1)
YTD 3 เดือน 6 เดือน 1 ปี1 คาเตือน
กองทุน -0.96 N/A N/A N/A • กำรลงทุนไม่ใช่กำรฝำกเงิน
ดัชนีชี้วัด 1.85 N/A N/A N/A • ผลกำรดำเนินงำนในอดีต มิได้เป็นสิ่งยืนยันผลกำร
ค่ำเฉลี่ยในกลุ่มเดียวกัน -20.20 N/A N/A N/A ดำเนินงำนในอนำคต
ควำมผันผวนกองทุน N/A N/A N/A N/A
ควำมผันผวนดัชนีชี้วัด N/A N/A N/A N/A กำรเข้ำร่วมต่อต้ำนทุจริต : ได้รับกำรรับรองจำก CAC
3 ปี1 5 ปี1 10 ปี1 ตั้งแต่จัดตั้ง1 จัดอันดับกองทุน Morningstar
กองทุน N/A N/A N/A -0.96 หนังสือชี้ชวนฉบับเต็ม
ดัชนีชี้วัด N/A N/A N/A 1.85
ค่ำเฉลี่ยในกลุ่มเดียวกัน N/A N/A N/A N/A "ผู้ลงทุนสำมำรถศึกษำเครื่องมือ
ควำมผันผวนกองทุน N/A N/A N/A N/A บริหำรควำมเสี่ยงด้ำนสภำพคล่อง
ควำมผันผวนดัชนีชี้วัด N/A N/A N/A N/A ได้ในหนังสือชี้ชวนฉบับเต็ม"
www.talisam.co.th
MEGA10CHINA-A
การซือ้ หน่วยลงทุน การขายคืนหน่วยลงทุน ข้อมูลเชิงสถิติ
วันทำกำรซื้อ : ทุกวันทำกำร วันทำกำรขำยคืน : ทุกวันทำกำร Maximum Drawdown 0.00%
เวลำทำกำร : 8.30 น. - 14.00 น. เวลำทำกำร : 8.30 น. - 14.00 น. Recovering Period N/A
กำรซื้อครั้งแรกขั้นต่ำ : 1,000 บำท กำรขำยคืนขั้นต่ำ : ไม่กำหนด FX Hedging กองทุนไม่ป้องกันควำมเสี่ยง
กำรซื้อครั้งถัดไปขั้นต่ำ : 1 บำท ยอดคงเหลือขั้นต่ำ : ไม่กำหนด อัตรำส่วนหมุนเวียนกำรลงทุน 0.00 เท่ำ
ระยะเวลำกำรรับเงินค่ำขำยคืน : Sharpe Ratio N/A
T+5 วันทำกำรนับถัดจำกวันคำนวณ NAV Alpha N/A
หมำยเหตุ โดยทั่วไปจะได้รับเงิน 3 วันทำกำรหลังวันทำรำยกำรขำยคืน (T+3) / ประกำศ NAV (T+1)
Beta N/A

ค่าธรรมเนียมที่เรียกเก็บจากกองทุนรวม (% ต่อปีของ NAV)


ค่ำธรรมเนียม สูงสุดไม่เกิน เก็บจริง
กำรจัดกำร 1.6050 1.6050
รวมค่ำใช้จ่ำย 2.3754 1.7120 การจัดสรรการลงทุนในต่างประเทศ
หมำยเหตุ 1) ค่ำธรรมเนียมหรือค่ำใช้จ่ำยดังกล่ำวได้รวมภำษีมูลค่ำเพิ่ม ภำษีธุรกิจเฉพำะ หรือภำษีอื่นใดแล้ว
2) สำมำรถดูค่ำธรรมเนียมที่เรียกเก็บจำกกองทุนรวมย้อนหลัง 3 ปี ในหนังสือชี้ชวนส่วนข้อมูลกองทุนรวมได้ที่
country % NAV
www.talisam.co.th Hong Kong 94.81
ค่าธรรมเนียมที่เรียกเก็บจากผู้ถือหน่วย (% ของมูลค่าซือ้ ขาย)
ค่ำธรรมเนียม สูงสุดไม่เกิน เก็บจริง
กำรขำย 1.50 1.00
กำรรับซื้อคืน 1.50 ยกเว้น
กำรสับเปลี่ยนหน่วยลงทุนเข้ำ 1.50 1.00
การจัดสรรการลงทุนในกลุ่มอุตสาหกรรม
กำรสับเปลี่ยนหน่วยลงทุนออก 1.50 ยกเว้น
กำรโอนหน่วย* 100.00 100.00 sector % NAV
หมำยเหตุ (1) ค่ำธรรมเนียมที่เรียกเก็บจำกผู้สั่งซื้อได้รวมภำษีมูลค่ำเพิ่ม ภำษีธรุ กิจเฉพำะ หรือภำษีอื่นใดแล้ว โดยบริษัทจัดกำรอำจ Media & Entertainment 28.50
เรียกเก็บค่ำธรรมเนียมจำกผู้ลงทุนโดยตรง (2) ค่ำธรรมเนียมกำรขำย/กำรรับซื้อคืน/กำรสับเปลี่ยนหน่วยลงทุนอำจเรียกเก็บจำกผู้ถือ
หน่วยลงทุนแต่ละกลุ่มในอัตรำที่ไม่เท่ำกัน โดยบริษัทจัดกำรจะแจ้งรำยละเอียดและหลักเกณฑ์ให้ทรำบต่อไป
Consumer Discretionary Distrib 19.27
(3) ค่ำธรรมเนียมกำรโอนหน่วย 100 บำท/1,000 หน่วยลงทุน ขั้นต่ำ 500 บำท Consumer Services 9.56
สัดส่วนประเภททรัพย์สินที่ลงทุน ทรัพย์สินที่ลงทุน 5 อันดับแรก Food, Beverage & Tobacco 9.53
breakdown % NAV holding % NAV Technology Hardware & Equipmen 9.51
เงินฝำกธนำคำร 99.98 JD.COM INC-CLASS A 9.64
หุ้นสำมัญ 94.81 ALIBABA GROUP HOLDING LTD 9.63
สินทรัพย์อื่นหรือหนี้สินอื่น -94.79 MEITUAN-CLASS B 9.56
BAIDU INC-CLASS A 9.56
NONGFU SPRING CO LTD 9.53
MEGA10CHINA-A

คาอธิบาย
Maximum Drawdown เปอร์เซ็นต์ผลขำดทุนสูงสุดของกองทุนรวมในระยะเวลำ 5 ปีย้อนหลัง (หรือตัง้ แต่จัดตัง้ กองทุนกรณีที่ยังไม่ครบ 5 ปี) โดยวัดจำกระดับ NAV ต่อหน่วยที่
จุดสูงสุดไปจนถึงจุดต่ำสุดในช่วงที่ NAV ต่อหน่วยปรับตัวลดลง ค่ำ Maximum Drawdown เป็นข้อมูลที่ช่วยให้ทรำบถึงควำมเสีย่ งที่อำจจะขำดทุนจำกกำรลงทุนในกองทุนรวม
Recovering Period ระยะเวลำกำรฟืน้ ตัว เพือ่ เป็นข้อมูลให้ผลู้ งทุนทรำบถึงระยะเวลำตัง้ แต่กำรขำดทุนสูงสุดจนถึงระยะเวลำที่ฟนื้ กลับมำที่เงินทุนเริม่ ต้นใช้ระยะเวลำนำนเท่ำใด
FX Hedging เปอร์เซ็นต์ของกำรลงทุนในสกุลเงินต่ำงประเทศที่มีกำรป้องกันควำมเสีย่ งจำกอัตรำแลกเปลีย่ น
อัตราส่วนหมุนเวียนการลงทุน ควำมถี่ของกำรซือ้ ขำยหลักทรัพย์ในพอร์ตกองทุนในช่วงเวลำใดช่วงเวลำหนึ่ง โดยคำนวณจำกมูลค่ำที่ต่ำกว่ำระหว่ำงผลรวมของมูลค่ำกำรซือ้
หลักทรัพย์กับผลรวมของมูลค่ำกำรขำยหลักทรัพย์ของกองทุนรวมในรอบระยะเวลำ 1 ปี หำรด้วยมูลค่ำ NAV ของกองทุนรวมเฉลีย่ ในรอบระยะเวลำเดียวกัน กองทุนรวมที่มีค่ำ
portfolio turnover สูง บ่งชี้ถึงกำรซือ้ ขำยหลักทรัพย์บ่อยครัง้ ของผูจ้ ัดกำรกองทุนและทำให้มีต้นทุนกำรซือ้ ขำยหลักทรัพย์ที่สูง จึงต้องพิจำรณำเปรียบเทียบกับผลกำรดำเนินงำน
ของกองทุนรวมเพือ่ ประเมินควำมคุม้ ค่ำของกำรซือ้ ขำยหลักทรัพย์ดังกล่ำว
Sharpe Ratio อัตรำส่วนระหว่ำงผลตอบแทนส่วนเพิม่ ของกองทุนรวมเปรียบเทียบกับควำมเสีย่ งจำกกำรลงทุน โดยคำนวณจำกผลต่ำงระหว่ำงอัตรำผลตอบแทนของกองทุนรวม
กับอัตรำผลตอบแทนที่ปรำศจำกควำมเสีย่ ง (risk-free rate) เปรียบเทียบกับค่ำเบี่ยงเบนมำตรฐำน (standard deviation) ของกองทุนรวม ค่ำ Sharpe Ratio สะท้อนถึงอัตรำ
ผลตอบแทนที่กองทุนรวมควรได้รบั เพิม่ ขึ้นเพือ่ ชดเชยกับควำมเสีย่ งที่กองทุนรวมรับมำ โดยกองทุนรวมที่มีค่ำ Sharpe Ratio สูงกว่ำจะเป็นกองทุนที่มีประสิทธิภำพในกำรบริหำร
จัดกำรลงทุนที่ดีกว่ำ เนื่องจำกได้รบั ผลตอบแทนส่วนเพิม่ ที่สูงกว่ำภำยใต้ระดับควำมเสีย่ งเดียวกัน
Alpha ผลตอบแทนส่วนเกินของกองทุนรวมเมื่อเปรียบเทียบกับดัชนีชี้วดั (benchmark) โดยค่ำ Alpha ที่สูง หมำยถึง กองทุนสำมำรถสร้ำงผลตอบแทนได้สูงกว่ำดัชนีชี้วดั ซึง่ เป็น
ผลจำกประสิทธิภำพของผูจ้ ัดกำรกองทุนในกำรคัดเลือกหรือหำจังหวะเข้ำลงทุนในหลักทรัพย์ได้อย่ำงเหมำะสม
Beta ระดับและทิศทำงกำรเปลีย่ นแปลงของอัตรำผลตอบแทนของหลักทรัพย์ในพอร์ตกำรลงทุน โดยเปรียบเทียบกับอัตรำกำรเปลีย่ นแปลงของตลำด
Beta น้อยกว่ำ 1 แสดงว่ำหลักทรัพย์ในพอร์ตกำรลงทุนมีกำรเปลีย่ นแปลงของอัตรำผลตอบแทนน้อยกว่ำกำรเปลีย่ นแปลงของอัตรำผลตอบแทนของกลุม่ หลักทรัพย์ของตลำด
Beta มำกกว่ำ 1 แสดงว่ำหลักทรัพย์ในพอร์ตกำรลงทุนมีกำรเปลีย่ นแปลงของอัตรำผลตอบแทนมำกกว่ำกำรเปลีย่ นแปลงของอัตรำผลตอบแทนของกลุม่ หลักทรัพย์ของตลำด
Tracking Error อัตรำผลตอบแทนของกองทุนมีประสิทธิภำพในกำรเลียนแบบดัชนีชี้วดั โดยหำก tracking error ต่ำ หมำยถึงกองทุนรวมมีประสิทธิภำพในกำรสร้ำงผลตอบแทน
ให้ใกล้เคียงกับดัชนีชี้วดั กองทุนรวมที่มีค่ำ tracking error สูง จะมีอัตรำผลตอบแทนโดยเฉลีย่ ห่ำงจำกดัชนีชี้วดั มำกขึ้น
Yield to Maturity อัตรำผลตอบแทนจำกกำรลงทุนในตรำสำรหนี้โดยถือจนครบกำหนดอำยุ ซึง่ คำนวณจำกดอกเบี้ยที่จะได้รบั ในอนำคตตลอดอำยุตรำสำรและเงินต้นที่จะได้รบั
คืน นำมำคิดลดเป็นมูลค่ำปัจจุบัน โดยใช้วดั อัตรำผลตอบแทนของกองทุนรวมตรำสำรหนี้ คำนวณจำกค่ำเฉลีย่ ถ่วงน้ำหนักของ Yield to Maturity ของตรำสำรหนี้แต่ละตัวที่
กองทุนมีกำรลงทุน และเนื่องจำก Yield to Maturity มีหน่วยมำตรฐำนเป็นเปอร์เซ็นต์ต่อปี จึงสำมำรถนำไปใช้เปรียบเทียบอัตรำผลตอบแทนระหว่ำงกองทุนรวมตรำสำรหนี้ที่มี
นโยบำยถือครองตรำสำรหนี้จนครบกำหนดอำยุและมีลักษณะกำรลงทุนที่ใกล้เคียงกันได้

บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ทาลิส จากัด


โทรศัพท์: 02 015 0222 www.talisam.co.th
เลขที่ 89 ชั้น 10 ห้อง 1001-1002 อาคาร AIA Capital Center ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400
MEGA10CHINA-A
ข้อมูลอื่น ๆ
หลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกหลักทรัพย์ที่กองทุนเข้าลงทุน
ขั้นตอนที่ 1 : คัดเลือกตรำสำรทุนของบริษัทจดทะเบียนที่เป็นผู้นำในด้ำนตรำสินค้ำ (Brand Value) ในกลุ่ม TOP/BEST CHINESE BRANDS จำกกำรจัดอันดับ
โดยบริษัทที่มีชื่อเสียงและเป็นที่ยอมรับในเรื่องของกำรจัดอันดับดังกล่ำว*
ขั้นตอนที่ 2 : คัดเลือกตรำสำรทุนที่มีมูลค่ำหลักทรัพย์ตำมรำคำตลำด (Market Capitalization) สูงสุดที่จดทะเบียนซื้อขำยในตลำดหลักทรัพย์ฮ่องกง (Hong
Kong Stock Exchange; HKEX) จำนวน 10 บริษัท และมีตรำสำรทุนสำรอง 5 บริษัท โดยเรียงลำดับตำมมูลค่ำหลักทรัพย์ตำมรำคำตลำด (Market
Capitalization) ทั้งนี้ ตรำสำรที่คดั เลือกต้องไม่เป็นบริษัทที่เป็น State-Owned** และจะลงทุนในหลักทรัพย์กลุ่มอุตสำหกรรมเดียวกันไม่เกินกว่ำ 4 หลักทรัพย์
ขั้นตอนที่ 3 : คัดเลือกตรำสำรทุนที่มีสภำพคล่องสูง โดยพิจำรณำจำกมูลค่ำกำรซื้อขำยเฉลี่ยต่อวัน (Average Daily Turnover) เทียบกับขนำดของกองทุน และ/
หรือ Free Float ของบริษัทนั้น ๆ
ทั้งนี้ หลักเกณฑ์กำรพิจำรณำคัดเลือกหลักทรัพย์ข้ำงต้น จะไม่ใช้กำรวิเครำะห์มูลค่ำ (Valuation) และทิศทำงกำรเคลื่อนไหวของรำคำหลักทรัพย์
กองทุนจะเน้นลงทุนในตรำสำรทุนจำนวน 10 บริษัทในสัดส่วนกำรลงทุนที่ใกล้เคียงกัน แต่ในบำงขณะสัดส่วนกำรลงทุนนั้นอำจแตกต่ำงกันซึ่งสืบเนื่องจำกกำร
เพิ่มขึ้นหรือลดลงของรำคำหลักทรัพย์นั้น ๆ ทั้งนี้ กองทุนอำจมีกำรถือครองตรำสำรทุนในจำนวนที่มำกกว่ำหรือน้อยกว่ำ 10 บริษัทได้ เช่น ในช่วงกำรปรับรำยชื่อ
หลักทรัพย์ อันเกิดจำกกำรปรับเพิ่มและลดจำนวนหลักทรัพย์ที่ลงทุนในช่วงเวลำเดียวกัน หรือในกรณีอื่น ๆ ที่จำเป็นได้
หมำยเหตุ
* บริษัทจัดกำรจะเลือกบริษัทที่เป็นผู้นำในด้ำนตรำสินค้ำ (Brand Value) ที่ได้รับกำรจัดอันดับจำกองค์กรที่มีชื่อเสียงในด้ำนจัดอันดับตรำสินค้ำของโลกที่มีวิธีกำร
จัดอันดับ (Methodology) ที่มีกำรวิเครำะห์ปัจจัยด้ำนตัวเลขทำงกำรเงิน และกำรวิเครำะห์ควำมแข็งแกร่งของตรำสินค้ำ รวมถึงมีกำรดำเนินกำรจัดอันดับ
ดังกล่ำวมำอย่ำงต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
** State-Owned ที่ถูกนิยำมจำกแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ หรือมีสัดส่วนกำรถือหุ้นในบริษัทโดยรัฐบำลรวมถึงที่รัฐบำลมีอำนำจควบคุมกิจกำร อย่ำงมีนัยสำคัญ
ตำมที่บริษัทจัดกำรพิจำรณำ

การปรับสมดุลของสัดส่วนน้าหนักการลงทุน (Rebalance) และการปรับรายชื่อหลักทรัพย์


บริษัทจัดกำรจะทำกำรปรับสมดุลของสัดส่วนน้ำหนักกำรลงทุน (Rebalance) รวมถึงปรับรำยชื่อหลักทรัพย์กำรลงทุนในตรำสำรทุนอย่ำงน้อยปีละ 2 ครั้ง โดย
กำรปรับสมดุลของสัดส่วนน้ำหนักกำรลงทุนในแต่ละรอบดังกล่ำว บริษัทจัดกำรจะปรับสัดส่วนกำรลงทุนในหลักทรัพย์ทั้ง 10 บริษัทให้อยู่ในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน

อนึ่ง บริษัทจัดกำรสงวนสิทธิที่จะปรับรำยชื่อหลักทรัพย์ของบริษัทใดบริษัทหนึ่งหรือหลำยบริษัทออกจำกรำยชื่อหลักทรัพย์ที่กองทุนลงทุน ณ ขณะนั้น เมื่อ


พิจำรณำจำกเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้น ณ ขณะนั้น หรืออำจเกิดขึ้น หรือข้อมูลจำกแหล่งที่เชื่อถือได้ ที่บริษัทจัดกำรคำดกำรณ์ว่ำอำจส่งผลกระทบทำงลบต่อรำคำใน
ทิศทำงที่จะทำให้รำคำตรำสำรทุนของบริษัทนั้นลดลงอย่ำงมำก ซึ่งกำรดำเนินกำรข้ำงต้นจะส่งผลให้กำรลงทุนของกองทุนไม่เป็นไปตำมหลักเกณฑ์กำรพิจำรณำ
คัดเลือกของกองทุน ทั้งนี้ บริษัทจัดกำรจะดำเนินกำรเพื่อประโยชน์ของผู้ถือหน่วยลงทุนเป็นสำคัญ

ทั้งนี้ ในกรณีที่บริษัทจัดกำรพิจำรณำแล้วเห็นว่ำหลักเกณฑ์กำรพิจำรณำคัดเลือกหลักทรัพย์ ควำมถี่ในกำรปรับสมดุลของสัดส่วนน้ำหนักกำรลงทุน (Rebalance)


และกำรปรับรำยชื่อหลักทรัพย์ที่กำหนดไว้ข้ำงต้นไม่เพียงพอ และ/หรือไม่เหมำะสมกับสถำนกำรณ์กำรลงทุน ณ ขณะใดแล้ว บริษัทจัดกำรขอสงวนสิทธิที่จะ
ปรับปรุงหลักเกณฑ์ฯ ดังกล่ำวนั้นโดยเป็นไปในลักษณะที่ไม่ดอ้ ยกว่ำหลักเกณฑ์เดิมที่กำหนด เช่น เพิ่มควำมถี่ของรอบกำรปรับสมดุลในสัดส่วนน้ำหนักกำรลงทุน
และ/หรือปรับรำยชื่อหลักทรัพย์เพื่อลงทุน และ/หรือใช้วิธีกำรวิเครำะห์มูลค่ำ (Valuation) และทิศทำงกำรเคลื่อนไหวของรำคำหลักทรัพย์เป็นเกณฑ์ โดยถือ
ประโยชน์ของผู้ถือหน่วยลงทุนเป็นสำคัญ ทั้งนี้ บริษัทจัดกำรจะแจ้งรำยละเอียดของกำรปรับเปลี่ยนหลักเกณฑ์ฯ ให้ผู้ถือหน่วยลงทุน และ/หรือผู้ลงทุนทรำบ
ล่วงหน้ำไม่น้อยกว่ำ 3 วันทำกำร ผ่ำนทำงเว็บไซต์ของบริษัทจัดกำร
หนังสือชี้ชวนส่วนสรุปข้อมูลสาคัญ Factsheet

บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ทาลิส จากัด ข้อมูล ณ วันที่ 28 ธ.ค. 2566


กองทุนเปิด MEGA 10 CHINA ชนิดเพื่อการออม
MEGA10CHINA-SSF
ประเภทกองทุนรวม / กลุ่มกองทุนรวม ระดับความเสี่ยง
• กองทุนรวมตราสารทุน
ต่า 1 2 3 4 5 6 7 8 สูง
• กองทุนรวมเพื่อการออม (Super Savings Fund: SSF)
เสี่ยงสูง
• กลุ่ม Greater China Equity
ลงทุนในตราสารทุนเป็นหลักโดยเฉลี่ย
นโยบายและกลยุทธ์การลงทุน ในรอบปีไม่น้อยกว่า 80% ของ NAV
• กองทุนมีนโยบายลงทุนในตราสารทุนของบริษัทจดทะเบียนที่จดทะเบียนซือ้ ขายในตลาดหลักทรัพย์
ฮ่องกง (Hong Kong Stock Exchange; HKEX) ซึง่ เป็นบริษัทที่เน้นความเป็นผูน้ ําในด้านตราสินค้า ข้อมูลกองทุนรวม
(Brand Value) ในกลุม่ TOP/BEST CHINESE BRANDS จากการจัดอันดับโดยบริษัทที่มีชื่อเสียงและ วันจดทะเบียนกองทุน 27 ธ.ค. 2566
เป็นที่ยอมรับในเรือ่ งของการจัดอันดับดังกล่าว โดยผูจ้ ัดการกองทุนจะคัดเลือกและพิจารณาเน้นลงทุน วันเริ่มต้น class 27 ธ.ค. 2566
ในตราสารทุนที่ผ่านการพิจารณาคัดเลือกจํานวน 10 บริษัท นโยบายการจ่ายเงินปันผล ไม่จ่าย
• ลงทุนตามหลักเกณฑ์การคัดเลือกหลักทรัพย์และการบริหารจัดการที่กําหนด (Rules based อายุกองทุน ไม่กําหนด
Approach) โดยมุ่งหวังให้ผลประกอบการเคลือ่ นไหวสูงกว่าดัชนีชี้วดั ในระยะยาว
ผู้จัดการกองทุนรวม
ผลการดาเนินงานและดัชนีชี้วัดย้อนหลัง 5 ปีปฏิทิน (%ต่อปี) นาย วีระพล สิมะโรจน์ (ตั้งแต่ 27 ธ.ค. 2566)
กองทุ
ดัชนนี ชวี้ ัดavg
Peer
2.00% ## ## ##1.85%
## กองทุน ดัชนีชี้วัด น.ส. ปวเรศร์ ตั้งอภิชาติเจริญ (ตั้งแต่ 27 ธ.ค. 2566)

1.00%
ดัชนีชี้วัด :
ดัชนี Hang Seng Total Return ปรับด้วยอัตรา
0.00% แลกเปลี่ยน เพื่อคํานวณผลตอบแทนเป็นสกุลเงินบาท ณ
-1.00% วันที่คํานวณผลตอบแทน สัดส่วน 100% เพื่อเปรียบเทียบ
-0.96% กับผลการดําเนินงานของกองทุน
-2.00%
2566

ผลการดาเนินงานย้อนหลังแบบปักหมุด (%ต่อปี1)
YTD 3 เดือน 6 เดือน 1 ปี1 คาเตือน
กองทุน -0.96 N/A N/A N/A • การลงทุนไม่ใช่การฝากเงิน
ดัชนีชี้วัด 1.85 N/A N/A N/A • ผลการดําเนินงานในอดีต มิได้เป็นสิ่งยืนยันผลการ
ค่าเฉลี่ยในกลุ่มเดียวกัน -20.20 N/A N/A N/A ดําเนินงานในอนาคต
ความผันผวนกองทุน N/A N/A N/A N/A
ความผันผวนดัชนีชี้วัด N/A N/A N/A N/A การเข้าร่วมต่อต้านทุจริต : ได้รับการรับรองจาก CAC
3 ปี1 5 ปี1 10 ปี1 ตั้งแต่จัดตั้ง1 จัดอันดับกองทุน Morningstar
กองทุน N/A N/A N/A -0.96 หนังสือชี้ชวนฉบับเต็ม
ดัชนีชี้วัด N/A N/A N/A 1.85
ค่าเฉลี่ยในกลุ่มเดียวกัน N/A N/A N/A N/A "ผู้ลงทุนสามารถศึกษาเครื่องมือ
ความผันผวนกองทุน N/A N/A N/A N/A บริหารความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง
ความผันผวนดัชนีชี้วัด N/A N/A N/A N/A ได้ในหนังสือชี้ชวนฉบับเต็ม"
www.talisam.co.th
MEGA10CHINA-SSF
การซือ้ หน่วยลงทุน การขายคืนหน่วยลงทุน ข้อมูลเชิงสถิติ
วันทําการซื้อ : ทุกวันทําการ วันทําการขายคืน : ทุกวันทําการ Maximum Drawdown 0.00%
เวลาทําการ : 8.30 น. - 14.00 น. เวลาทําการ : 8.30 น. - 14.00 น. Recovering Period N/A
การซื้อครั้งแรกขั้นต่ํา : 1,000 บาท การขายคืนขั้นต่ํา : ไม่กําหนด FX Hedging กองทุนไม่ป้องกันความเสี่ยง
การซื้อครั้งถัดไปขั้นต่ํา : 1 บาท ยอดคงเหลือขั้นต่ํา : ไม่กําหนด อัตราส่วนหมุนเวียนการลงทุน 0.00 เท่า
ระยะเวลาการรับเงินค่าขายคืน : Sharp Ratio N/A
T+5 วันทําการนับถัดจากวันคํานวณ NAV Alpha N/A
หมายเหตุ โดยทั่วไปจะได้รับเงิน 3 วันทําการหลังวันทํารายการขายคืน (T+3) / ประกาศ NAV (T+1)
Beta N/A

ค่าธรรมเนียมที่เรียกเก็บจากกองทุนรวม (% ต่อปีของ NAV)


ค่าธรรมเนียม สูงสุดไม่เกิน เก็บจริง
การจัดการ 1.6050 1.6050
รวมค่าใช้จ่าย 2.3754 1.7120 การจัดสรรการลงทุนในต่างประเทศ
หมายเหตุ 1) ค่าธรรมเนียมหรือค่าใช้จ่ายดังกล่าวได้รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ หรือภาษีอื่นใดแล้ว
2) สามารถดูค่าธรรมเนียมที่เรียกเก็บจากกองทุนรวมย้อนหลัง 3 ปี ในหนังสือชี้ชวนส่วนข้อมูลกองทุนรวมได้ที่
country % NAV
www.talisam.co.th Hong Kong 94.81
ค่าธรรมเนียมที่เรียกเก็บจากผู้ถือหน่วย (% ของมูลค่าซือ้ ขาย)
ค่าธรรมเนียม สูงสุดไม่เกิน เก็บจริง
การขาย 1.50 ยกเว้น
การรับซื้อคืน 1.50 ยกเว้น
การสับเปลี่ยนหน่วยลงทุนเข้า 1.50 ยกเว้น
การจัดสรรการลงทุนในกลุ่มอุตสาหกรรม
การสับเปลี่ยนหน่วยลงทุนออก 1.50 ยกเว้น*
การโอนหน่วย ไม่มี ไม่มี sector % NAV
หมายเหตุ (1) ค่าธรรมเนียมที่เรียกเก็บจากผู้สั่งซื้อได้รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ หรือภาษีอื่นใดแล้ว โดยบริษัทจัดการอาจเรียก Media & Entertainment 28.50
เก็บค่าธรรมเนียมจากผู้ลงทุนโดยตรง (2) ค่าธรรมเนียมการขาย/การรับซื้อคืน/การสับเปลี่ยนหน่วยลงทุนอาจเรียกเก็บจากผู้ถือหน่วยลงทุน
แต่ละกลุ่มในอัตราที่ไม่เท่ากัน โดยบริษัทจัดการจะแจ้งรายละเอียดและหลักเกณฑ์ให้ทราบต่อไป (3) ค่าธรรมเนียมการสับเปลี่ยนหน่วย Consumer Discretionary Distrib 19.27
ลงทุนไปกองทุน SSF ภายใต้การจัดการของบลจ.อื่น : 200 บาทต่อรายการ โดยเรียกเก็บเป็นเงินสด Consumer Services 9.56
สัดส่วนประเภททรัพย์สินที่ลงทุน ทรัพย์สินที่ลงทุน 5 อันดับแรก Food, Beverage & Tobacco 9.53
breakdown % NAV holding % NAV Technology Hardware & Equipmen 9.51
เงินฝากธนาคาร 99.98 JD.COM INC-CLASS A 9.64
หุ้นสามัญ 94.81 ALIBABA GROUP HOLDING LTD 9.63
สินทรัพย์อื่นหรือหนี้สินอื่น -94.79 MEITUAN-CLASS B 9.56
BAIDU INC-CLASS A 9.56
NONGFU SPRING CO LTD 9.53
MEGA10CHINA-SSF

คาอธิบาย
Maximum Drawdown เปอร์เซ็นต์ผลขาดทุนสูงสุดของกองทุนรวมในระยะเวลา 5 ปีย้อนหลัง (หรือตัง้ แต่จัดตัง้ กองทุนกรณีที่ยังไม่ครบ 5 ปี) โดยวัดจากระดับ NAV ต่อหน่วยที่
จุดสูงสุดไปจนถึงจุดต่ําสุดในช่วงที่ NAV ต่อหน่วยปรับตัวลดลง ค่า Maximum Drawdown เป็นข้อมูลที่ช่วยให้ทราบถึงความเสีย่ งที่อาจจะขาดทุนจากการลงทุนในกองทุนรวม
Recovering Period ระยะเวลาการฟืน้ ตัว เพือ่ เป็นข้อมูลให้ผลู้ งทุนทราบถึงระยะเวลาตัง้ แต่การขาดทุนสูงสุดจนถึงระยะเวลาที่ฟนื้ กลับมาที่เงินทุนเริม่ ต้นใช้ระยะเวลานานเท่าใด
FX Hedging เปอร์เซ็นต์ของการลงทุนในสกุลเงินต่างประเทศที่มีการป้องกันความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ น
อัตราส่วนหมุนเวียนการลงทุน ความถี่ของการซือ้ ขายหลักทรัพย์ในพอร์ตกองทุนในช่วงเวลาใดช่วงเวลาหนึ่ง โดยคํานวณจากมูลค่าที่ต่ํากว่าระหว่างผลรวมของมูลค่าการซือ้
หลักทรัพย์กับผลรวมของมูลค่าการขายหลักทรัพย์ของกองทุนรวมในรอบระยะเวลา 1 ปี หารด้วยมูลค่า NAV ของกองทุนรวมเฉลีย่ ในรอบระยะเวลาเดียวกัน กองทุนรวมที่มีค่า
portfolio turnover สูง บ่งชี้ถึงการซือ้ ขายหลักทรัพย์บ่อยครัง้ ของผูจ้ ัดการกองทุนและทําให้มีต้นทุนการซือ้ ขายหลักทรัพย์ที่สูง จึงต้องพิจารณาเปรียบเทียบกับผลการดําเนินงาน
ของกองทุนรวมเพือ่ ประเมินความคุม้ ค่าของการซือ้ ขายหลักทรัพย์ดังกล่าว
Sharpe Ratio อัตราส่วนระหว่างผลตอบแทนส่วนเพิม่ ของกองทุนรวมเปรียบเทียบกับความเสีย่ งจากการลงทุน โดยคํานวณจากผลต่างระหว่างอัตราผลตอบแทนของกองทุนรวม
กับอัตราผลตอบแทนที่ปราศจากความเสีย่ ง (risk-free rate) เปรียบเทียบกับค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ของกองทุนรวม ค่า Sharpe Ratio สะท้อนถึงอัตรา
ผลตอบแทนที่กองทุนรวมควรได้รบั เพิม่ ขึ้นเพือ่ ชดเชยกับความเสีย่ งที่กองทุนรวมรับมา โดยกองทุนรวมที่มีค่า Sharpe Ratio สูงกว่าจะเป็นกองทุนที่มีประสิทธิภาพในการบริหาร
จัดการลงทุนที่ดีกว่า เนื่องจากได้รบั ผลตอบแทนส่วนเพิม่ ที่สูงกว่าภายใต้ระดับความเสีย่ งเดียวกัน
Alpha ผลตอบแทนส่วนเกินของกองทุนรวมเมื่อเปรียบเทียบกับดัชนีชี้วดั (benchmark) โดยค่า Alpha ที่สูง หมายถึง กองทุนสามารถสร้างผลตอบแทนได้สูงกว่าดัชนีชี้วดั ซึง่ เป็น
ผลจากประสิทธิภาพของผูจ้ ัดการกองทุนในการคัดเลือกหรือหาจังหวะเข้าลงทุนในหลักทรัพย์ได้อย่างเหมาะสม
Beta ระดับและทิศทางการเปลีย่ นแปลงของอัตราผลตอบแทนของหลักทรัพย์ในพอร์ตการลงทุน โดยเปรียบเทียบกับอัตราการเปลีย่ นแปลงของตลาด
Beta น้อยกว่า 1 แสดงว่าหลักทรัพย์ในพอร์ตการลงทุนมีการเปลีย่ นแปลงของอัตราผลตอบแทนน้อยกว่าการเปลีย่ นแปลงของอัตราผลตอบแทนของกลุม่ หลักทรัพย์ของตลาด
Beta มากกว่า 1 แสดงว่าหลักทรัพย์ในพอร์ตการลงทุนมีการเปลีย่ นแปลงของอัตราผลตอบแทนมากกว่าการเปลีย่ นแปลงของอัตราผลตอบแทนของกลุม่ หลักทรัพย์ของตลาด
Tracking Error อัตราผลตอบแทนของกองทุนมีประสิทธิภาพในการเลียนแบบดัชนีชี้วดั โดยหาก tracking error ต่ํา หมายถึงกองทุนรวมมีประสิทธิภาพในการสร้างผลตอบแทน
ให้ใกล้เคียงกับดัชนีชี้วดั กองทุนรวมที่มีค่า tracking error สูง จะมีอัตราผลตอบแทนโดยเฉลีย่ ห่างจากดัชนีชี้วดั มากขึ้น
Yield to Maturity อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนในตราสารหนี้โดยถือจนครบกําหนดอายุ ซึง่ คํานวณจากดอกเบี้ยที่จะได้รบั ในอนาคตตลอดอายุตราสารและเงินต้นที่จะได้รบั
คืน นํามาคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบัน โดยใช้วดั อัตราผลตอบแทนของกองทุนรวมตราสารหนี้ คํานวณจากค่าเฉลีย่ ถ่วงน้ําหนักของ Yield to Maturity ของตราสารหนี้แต่ละตัวที่
กองทุนมีการลงทุน และเนื่องจาก Yield to Maturity มีหน่วยมาตรฐานเป็นเปอร์เซ็นต์ต่อปี จึงสามารถนําไปใช้เปรียบเทียบอัตราผลตอบแทนระหว่างกองทุนรวมตราสารหนี้ที่มี
นโยบายถือครองตราสารหนี้จนครบกาหนดอายุและมีลักษณะการลงทุนที่ใกล้เคียงกันได้

บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ทาลิส จากัด


โทรศัพท์: 02 015 0222 www.talisam.co.th
เลขที่ 89 ชั้น 10 ห้อง 1001-1002 อาคาร AIA Capital Center ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400
MEGA10CHINA-SSF
ข้อมูลอื่น ๆ
หลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกหลักทรัพย์ที่กองทุนเข้าลงทุน
ขั้นตอนที่ 1 : คัดเลือกตราสารทุนของบริษัทจดทะเบียนที่เป็นผู้นําในด้านตราสินค้า (Brand Value) ในกลุ่ม TOP/BEST CHINESE BRANDS จากการจัดอันดับ
โดยบริษัทที่มีชื่อเสียงและเป็นที่ยอมรับในเรื่องของการจัดอันดับดังกล่าว*
ขั้นตอนที่ 2 : คัดเลือกตราสารทุนที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด (Market Capitalization) สูงสุดที่จดทะเบียนซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ฮ่องกง (Hong
Kong Stock Exchange; HKEX) จํานวน 10 บริษัท และมีตราสารทุนสํารอง 5 บริษัท โดยเรียงลําดับตามมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด (Market
Capitalization) ทั้งนี้ ตราสารที่คดั เลือกต้องไม่เป็นบริษัทที่เป็น State-Owned** และจะลงทุนในหลักทรัพย์กลุ่มอุตสาหกรรมเดียวกันไม่เกินกว่า 4 หลักทรัพย์
ขั้นตอนที่ 3 : คัดเลือกตราสารทุนที่มีสภาพคล่องสูง โดยพิจารณาจากมูลค่าการซื้อขายเฉลี่ยต่อวัน (Average Daily Turnover) เทียบกับขนาดของกองทุน และ/
หรือ Free Float ของบริษัทนั้น ๆ
ทั้งนี้ หลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกหลักทรัพย์ข้างต้น จะไม่ใช้การวิเคราะห์มูลค่า (Valuation) และทิศทางการเคลื่อนไหวของราคาหลักทรัพย์
กองทุนจะเน้นลงทุนในตราสารทุนจํานวน 10 บริษัทในสัดส่วนการลงทุนที่ใกล้เคียงกัน แต่ในบางขณะสัดส่วนการลงทุนนั้นอาจแตกต่างกันซึ่งสืบเนื่องจากการ
เพิ่มขึ้นหรือลดลงของราคาหลักทรัพย์นั้น ๆ ทั้งนี้ กองทุนอาจมีการถือครองตราสารทุนในจํานวนที่มากกว่าหรือน้อยกว่า 10 บริษัทได้ เช่น ในช่วงการปรับรายชื่อ
หลักทรัพย์ อันเกิดจากการปรับเพิ่มและลดจํานวนหลักทรัพย์ที่ลงทุนในช่วงเวลาเดียวกัน หรือในกรณีอื่น ๆ ที่จําเป็นได้
หมายเหตุ
* บริษัทจัดการจะเลือกบริษัทที่เป็นผู้นําในด้านตราสินค้า (Brand Value) ที่ได้รับการจัดอันดับจากองค์กรที่มีชื่อเสียงในด้านจัดอันดับตราสินค้าของโลกที่มีวิธีการ
จัดอันดับ (Methodology) ที่มีการวิเคราะห์ปัจจัยด้านตัวเลขทางการเงิน และการวิเคราะห์ความแข็งแกร่งของตราสินค้า รวมถึงมีการดําเนินการจัดอันดับ
ดังกล่าวมาอย่างต่อเนื่องและสม่ําเสมอ
** State-Owned ที่ถูกนิยามจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ หรือมีสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทโดยรัฐบาลรวมถึงที่รัฐบาลมีอํานาจควบคุมกิจการ อย่างมีนัยสําคัญ
ตามที่บริษัทจัดการพิจารณา

การปรับสมดุลของสัดส่วนน้าหนักการลงทุน (Rebalance) และการปรับรายชื่อหลักทรัพย์


บริษัทจัดการจะทําการปรับสมดุลของสัดส่วนน้ําหนักการลงทุน (Rebalance) รวมถึงปรับรายชื่อหลักทรัพย์การลงทุนในตราสารทุนอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง โดย
การปรับสมดุลของสัดส่วนน้ําหนักการลงทุนในแต่ละรอบดังกล่าว บริษัทจัดการจะปรับสัดส่วนการลงทุนในหลักทรัพย์ทั้ง 10 บริษัทให้อยู่ในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน

อนึ่ง บริษัทจัดการสงวนสิทธิที่จะปรับรายชื่อหลักทรัพย์ของบริษัทใดบริษัทหนึ่งหรือหลายบริษัทออกจากรายชื่อหลักทรัพย์ที่กองทุนลงทุน ณ ขณะนั้น เมื่อ


พิจารณาจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ณ ขณะนั้น หรืออาจเกิดขึ้น หรือข้อมูลจากแหล่งที่เชื่อถือได้ ที่บริษัทจัดการคาดการณ์ว่าอาจส่งผลกระทบทางลบต่อราคาใน
ทิศทางที่จะทําให้ราคาตราสารทุนของบริษัทนั้นลดลงอย่างมาก ซึ่งการดําเนินการข้างต้นจะส่งผลให้การลงทุนของกองทุนไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์การพิจารณา
คัดเลือกของกองทุน ทั้งนี้ บริษัทจัดการจะดําเนินการเพื่อประโยชน์ของผู้ถือหน่วยลงทุนเป็นสําคัญ

ทั้งนี้ ในกรณีที่บริษัทจัดการพิจารณาแล้วเห็นว่าหลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกหลักทรัพย์ ความถี่ในการปรับสมดุลของสัดส่วนน้ําหนักการลงทุน (Rebalance)


และการปรับรายชื่อหลักทรัพย์ที่กําหนดไว้ข้างต้นไม่เพียงพอ และ/หรือไม่เหมาะสมกับสถานการณ์การลงทุน ณ ขณะใดแล้ว บริษัทจัดการขอสงวนสิทธิที่จะ
ปรับปรุงหลักเกณฑ์ฯ ดังกล่าวนั้นโดยเป็นไปในลักษณะที่ไม่ดอ้ ยกว่าหลักเกณฑ์เดิมที่กําหนด เช่น เพิ่มความถี่ของรอบการปรับสมดุลในสัดส่วนน้ําหนักการลงทุน
และ/หรือปรับรายชื่อหลักทรัพย์เพื่อลงทุน และ/หรือใช้วิธีการวิเคราะห์มูลค่า (Valuation) และทิศทางการเคลื่อนไหวของราคาหลักทรัพย์เป็นเกณฑ์ โดยถือ
ประโยชน์ของผู้ถือหน่วยลงทุนเป็นสําคัญ ทั้งนี้ บริษัทจัดการจะแจ้งรายละเอียดของการปรับเปลี่ยนหลักเกณฑ์ฯ ให้ผู้ถือหน่วยลงทุน และ/หรือผู้ลงทุนทราบ
ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 3 วันทําการ ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัทจัดการ

You might also like