Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 100

ชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล

SIMULATION OF FLUID FLOW

กุญชร ศรีพินิจ
ญาณิศา เกี่ยวพันธ์
รัตติกาล มหาเจริญ

ปริญญานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต
กลุ่มวิชาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ปีการศึกษา 2554
SIMULATION OF FLUID FLOW

GUNCHON SEEPINID

YANISA KEOWPAN

RATTIKARN MAHACHAROEN

A PROJECT SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF REQUIREMENTS

FOR THE DEGREE OF BACHELOR OF TECHNOLOGY

MAJOR OF INDUSTRIAL MANAGEMENT TECHNOLOGY

BURAPHA UNIVERSITY 2011


ปริญญานิพนธ์ ชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล
โดย นายกุญชร ศรีพินิจ
นางสาวญาณิศา เกี่ยวพันธ์
นายรัตติกาล มหาเจริญ
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ พรชัย ปิ่นสุวรรณ
อาจารย์ ปาณิสรา จ่างจิตร์
จานวนหน้า 86
ปีการศึกษา 2554

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา อนุมัติปริญญานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา


ตามหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต กลุ่มวิชาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม

...................................................ประธานกรรมการสอบปริญญานิพนธ์
(อาจารย์ พรชัย ปิ่นสุวรรณ)

...................................................กรรมการสอบปริญญานิพนธ์
(อาจารย์ สุภาพ ธาราศักดิ์)

...................................................กรรมการสอบและอาจารย์ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์
(อาจารย์ พรชัย ปิ่นสุวรรณ)

...................................................ประธานกลุ่มวิชาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม
(อาจารย์ ยศพนธ์ อินทรจันทร์)

...................................................ผู้อานวยการวิทยาลัยเทคนิคบ้านค่าย
(อาจารย์ กมล ชุ่มเจริญ)

...................................................ประธานสาขาหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต
(ดร. ภาณุวัฒน์ ด่านกลาง)
ii

บทคัดย่อ

การจัดทาโครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจาลองการไหลของของไหลภายในท่อจากประสบการณ์
ของสมาชิกในกลุ่มที่ได้ปฏิบัติงานในโรงงานปิโตรเคมี โดยได้ทาการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการ
ไหลของของไหลในรู ป แบบต่ า งๆตามหลั ก เกณฑ์ ท างด้ า นทฤษฎี ในการด าเนิ น งานนั้ น ผู้ จั ด ท าได้
ทาการศึกษาการไหลของของไหล ทั้ง ไหลแบบราบเรียบ ไหลแบบราบเรียบกึ่งปั่นป่วน และไหลแบบ
ปั่นป่วน ซึ่งผู้วิจัยได้ทาการออกแบบจาลองชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหลจากคาแนะนาของอาจารย์
ที่ ป รึ ก ษาและจากโรงงานของสมาชิ ก ในกลุ่ ม ที่ ไ ด้ ป ฏิ บั ติ ง านในโรงงานปิ โ ตรเคมี ซึ่ ง มี น้ าหนั ก เบา
เคลื่อนย้ายได้ง่าย สะดวกต่อการทดลอง มีความเหมาะสมในการออกแบบเครื่อง สามารถทดลองได้ตาม
วัตถุประสงค์ ซึ่งผู้วิจัยได้สร้างชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหลจานวน1 เครื่องและให้ผู้เชี่ยวชาญใน
ด้านเครื่องกล ด้านฝ่ายผลิต ด้านเครื่องมือวัดและด้านควบคุมที่มีประสบการณ์ในการทางานได้ ประเมิน
คุณภาพการจากการทดลอง โดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็น หลังจากที่ผู้วิจัยได้สาธิต โดยใช้ผลจาก
การประเมินความเห็นของผู้เชี่ยวชาญในด้านคุณภาพของชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหลผู้เชี่ยวชาญ
มีความเห็นสอดคล้องกันว่า ชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหลมีคุณภาพที่ค่า IOC เท่ากับ 0.85 ซึ่งอยู่
ในเกณฑ์ที่กาหนดไว้ จึงกล่าวได้ว่าชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหลสามารถใช้เป็นสื่อจาลองการไหล
ของของไหลภายในท่อเพื่อให้เข้าใจถึงรูปแบบการไหลที่ใช้ภายในโรงงานอุตสาหกรรม ผู้เชี่ยวชาญมี
ความเห็นสอดคล้องกันว่ามีคุณภาพ และเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยสามารถนาชุดสาธิตอัตราการไหล
ของของไหลนี้ไปใช้งานได้ตรงตามวัตถุประสงค์ และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

คาสาคัญ: ไหลแบบราบเรียบ / ไหลแบบราบเรียบกึ่งปั่นป่วน /ไหลแบบปั่นป่วน/ปิโตรเคมี / ชุดสาธิต


อัตราการไหลของของไหล
iii

Abstract

This project design for Simulation of fluid flow within the pipe from experience of
members who work in Petrochemical plants and compile information about flowing fluid in
various forms according to the rules and theories. In operating, We study this project including
the Laminar flow, the Transitional flow and the Turbulent flow that designed by the
suggestions of advisors and members. The Simulation flow that lightweight, easy to move,
comfortable to test and appropriate to designed. We built this machine then, evaluated test by
questionnaires from Mechanic experts, Operation experts and Instrument and control experts.
After that, we have the same opinion that this test has value IOC as 0.85 in criterion.
Therefor, this test is Simulation of Fluid flow within pipe that use in industrial factory. And we
consider that this machine has quality and be in accordance with hypothesis. So, this project
can use this machine in functional objective and useful purpose.

Important words : the Laminar flow, the Transitional flow, the Turbulent flow, Petrochemical,
Simulation of fluid flow
1
iv

กิตติกรรมประกาศ

ปริญญานิพนธ์ฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยความช่วยเหลืออย่างดียิ่งจากอาจารย์พรชัย ปิ่นสุวรรณ
อาจารย์ที่ปรึกษาหลักและอาจารย์ปาณิสรา จ่างจิตร์ที่กรุณาให้คาปรึกษาและแนะนาแนวทางที่ถูกต้อง
รวมถึงข้อคิดเห็นต่างๆ ในการวิจัยมาโดยตลอดผู้วิจัยรู้สึกซาบซึ้งเป็นอย่างยิ่ง จึงขอกราบขอบพระคุณ
เป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้
ขอขอบพระคุณผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่ ให้ความอนุเคราะห์ในการตรวจสอบ รวมทั้งให้คาแนะนา
แก้ไขเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยให้มีคุณภาพ นอกจากนี้ยังได้รับความอนุเคราะห์จากท่านผู้อานวยการ
วิทยาลัยเทคนิคบ้านค่ายตลอดจนอาจารย์ทุกท่านที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการเก็ บรวบรวมข้อมูล
ที่ใช้ในการวิจัย ทาให้ปริญญานิพนธ์ฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี
คุณค่ าและประโยชน์ ของปริ ญญานิพ นธ์ ฉบั บนี้ ผู้วิ จัย ขอมอบเป็ นกตัญ ญูกตเวทิตาแด่ บุพ การี
บูรพาจารย์ และผู้มีพระคุณทุกท่านทั้งในอดีตและปัจจุบันที่ ทาให้ข้าพเจ้าเป็นผู้มีการศึกษา และประสพ
ความสาเร็จมาจนตราบเท่าทุกวันนี้

กุญชร ศรีพินิจ
ญาณิศา เกี่ยวพันธ์
รัตติกาล มหาเจริญ
v

สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ .......................................................................................................................................... ii
Abstract.......................................................................................................................................... iii
กิตติกรรมประกาศ ........................................................................................................................... vi
สารบัญ ............................................................................................................................................ v
สารบัญรูป ..................................................................................................................................... viii
สารบัญตาราง .................................................................................................................................. xi
สารบัญแผนภูม.ิ ..................................................................................................................................x
บทที่ 1 บทนา .................................................................................................................................1
1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ..........................................................................1
1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา.............................................................................................2
1.3 ขอบเขตการศึกษา .........................................................................................................2
1.4 แผนการดาเนินการวิจัย .................................................................................................2
1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั .............................................................................................2

บทที่ 2 ทฤษฎี / และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง...........................................................................................4


2.1 ทฤษฎีการไหลของของไหล............................................................................................4
2.1.1แรงกระทาเนื่องจากของไหลสถิต ............................................................................5
2.2 ทฤษฎีการหาเลขเรย์โนลด์ .............................................................................................6
2.3 ความหมายของเลขไร้หน่วย (Renolde Number) ............................................................8
2.4 ทฤษฎีการสูญเสียของของไหลภายในท่อ ......................................................................11
2.4.1 การสูญเสียจากแรงเสียดทานของการไหลราบเรียบ ..............................................11
2.4.2 การสูญเสียจากแรงเสียดทานของการไหลปั่นป่วน ................................................12
2.5 อุปกรณ์วัดปริมาณการไหล (Rota meter) ....................................................................15
2.6 ระบบการควบคุมเบื้องต้น (Control Basic) ...................................................................17
2.7 ตัวควบคุมและแบบการควบคุม (Controller and control action) ....................................18
2.8 แบบของการควบคุม (Control action) .........................................................................19
2.9 การควบคุมแบบ Feed Back เบื้องต้น (Lntroduction to Feed Back Control .................21
2.9.1 หลักการของการควบคุมแบบ Feed Back............................................................21
vi

สารบัญ (ต่อ)
หน้า
บทที่ 3 วิธีการดาเนินการวิจยั ........................................................................................................25
3.1 การสร้างชุดสาธิการไหลของของไหล .............................................................................25
3.1.1 วัสดุและอุปกรณ์ในการสร้างชุดสาธิตการไหลของของไหล ....................................26
3.1.2 การเดินระบบและการใช้งานชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล ............................27
3.1.3 วิธีการเดินระบบและการใช้งานชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล ........................28
3.2 การหาประสิทธิภาพและความพึงพอใจของชุดสาธิตการไหลของของไหล .........................29
3.2.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ..................................................................................29
3.2.2 การออกแบบและสร้างชุดสาธิตการไหลของของไหล .............................................29
3.2.3 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ........................................................................31
3.2.4 การทดลองใช้และรวบรวมข้อมูล ..........................................................................32
3.2.5 การวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล.............................................................................33

บทที่ 4 ผลการวิจัย ........................................................................................................................35


4.1 การทดลองจากชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล .........................................................35
4.2 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลทั่วไปของผู้เชี่ยวชาญ ...................................................................48
4.3 ผลการวิเคราะห์ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญโดยแยกออกเป็นด้านต่างๆ..............................50
4.4 ผลการวิเคราะห์ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญโดยรวมต่อชุดสาธิตการไหลของของไหล ..........51

บทที่ 5 สรุปผล อภิปราย และข้อเสนอแนะ......................................................................................53


5.1 สรุปผลการดาเนินงาน ..................................................................................................53
5.2 อภิปรายผล ..................................................................................................................53
5.3 ข้อเสนอแนะ .................................................................................................................54

เอกสารอ้างอิง.................................................................................................................................55
vii

สารบัญ (ต่อ)

หน้า
ภาคผนวก ......................................................................................................................................56
ภาคผนวก ก ภาพประกอบการสร้างชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล ............................................57
ภาคผนวก ข รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ ......................................................................................................64
ภาคผนวก ค แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพ …………… 68
ภาคผนวก ง แบบชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล .......................................................................72
ภาคผนวก จ คูม่ ือการใช้งานชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล ........................................................78
ประวัติผู้เขียน .................................................................................................................................83
viii

สารบัญรูป
หน้า
รูปที่ 2.1 รูปตัวอย่างการวัดหาแรงที่มากระทาในของไหลสถิต .............................................................5
รูปที่ 2.2 ลักษณะการไหลภายในท่อ ..................................................................................................8
รูปที่ 2.3 รูปแบบการไหล ..................................................................................................................9
รูปที่ 2.4 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความขรุขระกับเลขเรย์โนลด์ .............................................13
รูปที่ 2.5 ความสัมพันธ์ระหว่างความหนืดกับอุณหภูมิของของเหลวต่างๆ ..........................................14
รูปที่ 2.6 มาตรวัดแบบโรตา.............................................................................................................15
รูปที่ 2.7 ลักษณะการทางานของอุปกรณ์วัดอัตราการไหล .................................................................16
รูปที่ 2.8 ตัวควบคุมนิวเเมติกส์ ........................................................................................................18
รูปที่ 2.9 ตัวควบคุมแบบอิเล็กทรอนิกส์ ............................................................................................19
รูปที่ 2.10 แสดงโครงสร้างง่ายๆ ของตัวควบคุม ...............................................................................19
รูปที่ 2.11 Block Diagram ของตัวควบคุม ON-OFF ........................................................................20
รูปที่ 2.12 ระบบการควบคุมระดับของเหลว ....................................................................................20
รูปที่ 2.13 แสดง Dead band ของการควบคุมระดับของเหลวแบบ ON-OFF .....................................21
รูปที่ 2.14 การควบคุม Process วงรอบแบบ Feed Back ของระบบ .................................................22
รูปที่ 2.15 แสดงระบบควบคุม Feed Back ......................................................................................30
รูปที่ 3.1 วัสดุและอุปกรณ์ในการสร้างชุดสาธิตการไหลของของไหล .................................................26
รูปที่ 3.2 แสดงอุปกรณ์ต่างๆของชุดสาธิตการไหลของของไหล ........................................................28
รูปที่ 4.1 กราฟแสดงผลเปรียบเทียบ................................................................................................47
รูปที่ 4.2 แสดงค่า IOC ระดับความเห็นของผู้เชี่ยวชาญด้านวัตถุประสงค์เพื่อสร้างชุดสาธิตการไหล ....50
รูปที่ 4.3 แสดงค่า IOC ระดับความเห็นของผู้เชี่ยวชาญในด้านวัตถุประสงค์นาไปสาธิตการไหล ..........51
ix

สารบัญตาราง
หน้า
ตารางที่ 1.1 แสดงแผนการดาเนินการวิจัย…………………………………………………………………2
ตารางที่ 4.1 การคานวณจากสูตรและผลการทดลองจากชุดสาธิตการไหลของของไหล…….………….47
ตารางที่ 4.2 ผลการประเมินชุดสาธิตการไหลของของไหลโดยผู้เชี่ยวชาญ 15 ท่าน ทั้ง12 จุดประเมิน.51
ตารางที่ 4.3 ผลการประเมินของผู้เชี่ยวชาญโดยรวมต่อชุดสาธิตการไหลของของไหล………………...52
x

สารบัญแผนภูมิ
หน้า
แผนภูมิที่ 3.1 การเดินระบบและการใช้งานชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล………………………..27
แผนภูมิที่ 3.2 การหาประสิทธิภาพและความพึงพอใจของชุดสาธิตการไหลของของไหล……………...29
แผนภูมิที่ 3.3 การออกแบบและสร้างชุดสาธิตการไหลของของไหล…………………………………….30
แผนภูมิที่ 3.4 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย.…………………………………………………………31
แผนภูมิที่ 4.1 ระดับการศึกษาของผู้เชี่ยวชาญ……………………………………………………………48
แผนภูมิที่ 4.2 ประสบการณ์ทางานของผู้เชี่ยวชาญ………………………………………………………49
แผนภูมิที่ 4.3 ระดับอายุของผู้เชี่ยวชาญ…………….…………………………………………………….49
1

บทที่1

บทนำ

1.1 ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ
จากการที่สมาชิกในกลุ่มโครงงานได้ทางานในโรงงานอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ทางคณะผู้จัดทาจึงได้คิด
ที่ทาโครงงานเรื่อง ชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหลภายในท่อ ซึ่งจากการทางานระบบเครื่องมือวัดและ
ระบบควบคุมภายในโรงงานที่ผ่านมา ทาให้เล็งเห็นว่าของไหลภายในท่อมีหลายรูปแบบ ซึ่งการไหลของของ
ไหลภายในท่อจะส่งผลถึงสารที่วิ่งภายในท่อ รวมถึงการสูญเสียที่เกิดขึ้นกับการไหลในแบบต่าง ๆ ทั้งนี้จาก
การสังเกตของไหลไม่ว่าจะเป็นแก๊ส หรือว่าของแข็ง เช่นเม็ดพลาสติกก็ตาม ซึ่งถ้ าเราไม่ได้คานึงถึงรูปแบบ
การไหล ก็จะทาให้เกิดการสูญเสียภายในระบบขึ้น ถ้าเป็นเม็ดพลาสติกที่เป็นของแข็งก็จะทาให้เกิดการอุด
ตันขึ้นภายในท่อได้ ทั้งนี้เกิดจากรูปแบบการไหลของของไหลเอง

จากเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้น คณะผู้จัดทาโครงการมีแนวคิดว่าจะพัฒนาและต่อยอดองค์กรความรู้ จาก


การปฏิบัติงานจริงสถานประกอบการมาสร้างชุดสื่อสาธิตของจริงที่แสดงลักษณะจาลองของการไหลภายใน
ท่อ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเพื่อเชื่อมโยงเข้ากับทฤษฎี ทั้งนี้ทางคณะผู้จัดทาได้เล็งเห็นแล้วว่ารูปแบบการ
ไหลของของไหล ถือเป็นพื้นฐานในการต่อยอดองค์ความรู้ ของตัวผู้จัดทาและผู้ที่ได้ศึกษาเพื่อทาให้มีความรู้
ความเข้าใจในเรื่องการไหลของของไหล สามารถนาองค์ความรู้ ไปต่อยอดในการศึกษาหรือการทางานใน
โรงงานอุตสาหกรรมเพื่อให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทั้งนี้โครงงานที่ทาออกมานั้นจะรวบรวมเอาความรู้ใน
หลายวิชาเข้าด้วยกัน เพื่อที่ จะแสดงให้เห็นถึงการควบคุมของเหลวภายในถังอีกด้วย เพื่อให้เห็นภาพได้
ชัดเจนยิ่งขึ้น

1.2 วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำ
1.2.1 เพื่อศึกษารูปแบบของของไหลภายในท่อ
1.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาถึ ง วิ ธี ก ารออกแบบการสร้ า งชุ ด ทดลองอั ต ราการ ไหลเพื่ อ ใช้ ท ดสอบหาการ
เปลี่ยนแปลงอัตราการไหลภายในท่อ
1.2.3 เพื่อศึกษาการควบคุมของเหลว ภายในถังแบบอัตโนมัติ
1.2.4 เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดการไหลแบบ Lamina Flow แบบ Transition Flow และ
แบบ Turbulence Flow
1.2.5 เพื่อฝึกฝนทักษะและกระบวนการคิดและการศึกษาค้น คว้าหรือสืบค้นข้อมูลตลอดจนการนามา
ประยุกต์ใช้งานในชีวิตประจาวั
2

1.3 ขอบเขตของกำรศึกษำ
ศึกษาหลักการและทฤษฎีการเกิดการไหลแบบ Lamina Flow แบบ Transition Flow และแบบ
Turbulence Flow เพื่อนามาพัฒนาต่อยอดการสร้างสื่อการเรียนการสอนในการพัฒนาผู้เรียนในสาขางานปิ
โตรเคมี

1.4 แผนกำรดำเนินงำนวิจัย

ตำรำงที่ 1.1 แสดงแผนการดาเนินงานวิจัย

พ.ศ.2554 พ.ศ.2555
รำยละเอียด
ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ มีค เม.ย พ.ค มิ.ย
1. เลือกหัวข้อปัญหา
2. นาเสนอหัวข้อปัญหา
3. สารวจงานวิจัยและ
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
4. นาไปปฏิบัติกับงานจริง
5. ศึกษารวบรวมข้อมูล
6. วิเคราะห์ปัญหา
7. สรุปและจัดทารายงาน
8. ส่งรายงานฉบับสมบูรณ์

1.5 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
1.5.1 ทาให้มีความรู้ความเข้าใจในการใช้สื่อสาธิตแสดงอัตราการไหลของของไหล
1.5.2 ผู้เรียนสามารถนาชุดสื่อไปประยุกต์ใช้ในอนาคต
1.5.3 มีความรู้ความเข้าใจในการออกแบบชุดสาธิตอัตราการไหล
1.5.4 สามารถเชื่อมโยงชุดสาธิตอัตราการไหลเข้ากับวิชาเรียนและเชื่อมโยงสู่โรงงานได้
1.5.5 ผูเ้ รียนสามารถมองภาพรวมของการเกิดอัตราการไหลแบบ Lamina Flow แบบ Transition
Flow และแบบ Turbulence Flow ในกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมได้
1.5.6 ทาให้มีความรู้ความเข้าใจในระบบควบคุมแบบอัตโนมัติ และสามารถมองเห็นภาพได้จริง
3

นิยำมเฉพำะ
Lamina Flow หมายถึง การไหลอย่างเป็นระเบียบ เป็นการไหลในอุดมคติ ไม่แตกสายหรือปะปนกัน ซึ่ง
การไหลแบบนี้จะเกิดขึ้นในท่อที่มีขนาดใหญ่ของไหล ไหลไม่เร็วมากนัก
Transition Flow หมายถึง การไหลผสมทั้งการไหลอย่างเป็นระเบียบและการไหลอย่างปั่นป่วน ซึ่งการ
ไหลแบบนี้จะเกิดขึ้นได้ยากนอกจากการควบคุมให้เกิดขึ้นเอง
Turbulence Flow หมายถึง การไหลอย่างปั่นป่วน การไหลแบบไม่เป็นระเบีย บ ซึ่งเราจะเห็นได้ใน
ชีวิตประจาวัน เช่น การบีบสายยางก็จะทาให้เกิดการไหลแบบปั่นป่วนขึ้น
Rota meter หมายถึง อุปกรณ์วัดปริมาณของของไหล ซึ่งจะอาศัยหลัก การลอยตัวของลูกเหล็กภายใน
กระบอกเพื่อบอกปริมาณของของไหล
เลขเรย์โนลด์ หมายถึง เป็นเลขที่บอกถึงลักษณะการไหล เป็นเลขที่ไม่มีหน่วยจานวนเลขเรย์โนลด์
(Reynold Number) ซึ่ งจ านวนเลขเรย์ โ นลด์ จ ะมี ค่า ขึ้ น อยู่ กับ ความเร็ ว การไหล ความหนื ด ขนาด
เส้ นผ่าศูน ย์กลางท่ อ และความหนาแน่น ของของไหล ถึงแม้ จานวนเลขเรย์โ นลด์จ ะไม่ มีหน่ว ย แต่มั น มี
ความสาคัญอย่างมาก กล่าวคือ จานวนเลขนี้จะเป็นตัวกาหนดรูปแบบการไหลของของไหลว่าเป็นแบบใด
เช่น
Re อยู่ในช่วง 0-2000 สภาพการไหลเป็นแบบ Laminar Flow
Re อยู่ในช่วง 2001 – 4000 สภาพการไหลเป็นแบบ Transition Zone
Re มากกว่า 4001 สภาพการไหลเป็นแบบ Turbulent Flow
4

บทที่ 2

เอกสารและทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง

ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องจากเอกสารตาราและงานวิจัย ซึ่งจะ
เป็นประโยชน์ทาให้การวิจัยครั้งนี้บรรลุตามจุดมุ่งหมายที่ได้ตั้งไว้โดยแยกเป็นหัวข้อดังต่อไปนี้
2.1 ทฤษฏีการไหลของของไหล
2.2 ทฤษฎีการหาเลขเรย์โนลด์
2.3 ความหมายของเลขไร้หน่วย (Renolde Number)
2.4 ทฤษฎีการสูญเสียของของไหลภายในท่อ
2.5 อุปกรณ์วัดปริมาณการไหลของของไหล (Rota meter)
2.6 ระบบการควบคุมเบื้องต้น (Control Basic)
2.7 ตัวควบคุมและแบบการควบคุม (Controller and control action)
2.8 แบบของการควบคุม (Control action)
2.9 การควบคุมแบบ Feed Back เบื้องต้น (Introduction to Feed Back Control)

2.1 ทฤษฎีการไหลของของไหล
ของไหลสถิต คือ ของไหลที่อยู่นิ่งหรือไม่ไหล สมการพื้นฐานของของไหลสถิตได้มาจากการทา
สมดุลของแรงที่กระทาต่อของไหลอยู่นิ่งบนพื้นฐานของกฎข้อสองของนิวตัน โดยเริ่มจากความสัมพันธ์
ระหว่า งความดั นสั ม บูร ณ์ (Absolute pressure) ความดั น เกจ (Gauge pressure) และความดั น
บรรยากาศ (atmospheric pressure) โดยที่ความดันเกจ คือ ความดันของของไหลที่วัดเทียบกับความ
ดันบรรยากาศ ความดันสมบูรณ์ คือ ความดันของของไหลที่วัดเมื่อเทียบกับความดันสุญญากาศ เขียน
สมการได้

P(abs) = P(gauge) + P(atm)

ความดั น สมบู ร ณ์ แ ละความดั น เกจที่ เ หนื อ ความดั น บรรยากาศมี เ ครื่ อ งหมายบวก ความดั น
สุญญากาศเป็นความดันต่าสุดและความดันเกจที่ต่ากว่าความดันบรรยากาศมีเครื่องหมายเป็นลบ หน่วย
ของความดันเกจเป็น Pa(gauge) หรือ psig ส่วนความดันสมบูรณ์ Pa(abs) หรือ psia
ความดันบรรยากาศที่แท้จริงแปรเปลี่ยนกับสถานที่และภูมิอากาศ โดยที่ความดั นบรรยากาศใกล้
ผิวโลกมีค่าประมาณ 92 kPa (abs) ถึง 105 kPa (abs) หรือ จาก 13.8 psiaถึง 15.3 psiaความดัน
บรรยากาศมาตรฐานที่ระดับน้าทะเลเท่ากับ 101.3 kPa (abs) หรือ 14.69 psiaในการคานวณจะใช้ค่า
ความดันบรรยากาศเท่ากับ 101kPa (abs) หรือ 14.7 psia
5

2.1.1 แรงกระทาเนื่องจากของไหลสถิต
ความดันที่ของไหลออกแรงกระทาต่อพื้นที่ของผิวแบบซึ่งอยู่ใต้ของเหลว มี 2 ลักษณะ คือ กระทา
ต่อผิวแบนในแนวนอนที่อยู่ด้านล่างและกระทาต่อผิวด้านบนของของเหลวในถัง ซึ่งสัมผัสกับความดัน
บรรยากาศอ่านได้จากอุปกรณ์วัดความดันจะมีค่าเท่ากับศูนย์ แรงจากความดันของของเหลวที่กระทาต่อ
ผนังด้านข้างของถังแปรผันเป็นเส้นตรงจากความดันเท่ากับศูนย์ที่ด้านบนสุดของผิวไปยังค่ามากที่สุดซึ่ง
อยู่ด้านล่างที่ก้นถัง ส่วนถังบรรจุของเหลวที่ด้านบนมีฝาปิดและมีความดันอยู่เหนือของเหลว ซึ่งอาจมีค่า
มากหรือต่ากว่าความดันบรรยากาศและที่เรียกว่าปิโซเมตริกเฮด (piezometric head) ความดันนี้มี
อิทธิพลสัมผัสกับความดันบรรยากาศเพียงอย่างเดียว (ฝาเปิดทางด้านบน) แรงที่กระทาต่อผิวแบนใน
แนวนอนซึ่งอยู่ใต้ของเหลว ได้แก่ ถังทรงกระบอก บรรจุน้ามันและน้า เช่นตัวอย่างด้านล่าง

Example

รูปที่ 2.1 รูปตัวอย่างการวัดหาแรงที่มากระทาในของไหลสถิต

Pb = Patm + o (2.5m) + w (2.0m)


o = (sg) o (9.81 kN/m3) = (0.90) (9.81 kN/m3) = 8.83 kN/m3
pB = 0 Pa (gauge) + (8.83 kN/m3) (2.5 m) + (9.81 kN/m3) (2.0m)=41.72kPa(gauge)
A = D2/4 =(3.5)2 / 4 = 9.62 m2
F = pA = (41.72 kN/m2) (9.62 m2) = 401.45 kN
6

2.2 ทฤษฎีการหาเลขเรย์โนลด์
ธรรมชาติของการไหลของของไหลในขอบเขตขึ้นกับความเร็วสัมพันธ์ ที่ความเร็วต่า ชั้นของไหล
จะราบเรียบในแต่ละชั้น เรียกว่า การไหลแบบราบเรียบ (Laminar flow) เมื่อเพิ่มความเร็วมากขึ้น จะมี
การรบกวนทาให้เกิดความเสียดทานเพิ่มขึ้น ซึ่งจะทาให้ชั้นของการไหลผสมกัน รูปแบบของการไหลนี้
เรียกว่า การไหลแบบปั่นป่วน (Turbulence Flow) การเปลี่ยนแปลงนี้ เนื่องมาจากแรงที่กระทาระหว่าง
ของไหลและของแข็ง คือขอบเขตซึ่งเป็นความเข้าใจพื้นฐานที่สาคัญในการศึกษาทางด้านไฮโดรมิกส์และ
กลศาสตร์ของไหล ธรรมชาติของการไหลของอากาศบริเวณปีกเครื่องบินก่อให้เกิดแรงเสียดทานและต้อง
หากาลังที่ต้องการให้เครื่องบินบินไปข้างหน้า ของไหลไหลไปในท่อจะก่อให้เกิดการสูญเสียความดันและ
ต้องใช้ปั๊มเพื่อให้ของไหลไหลไปตามท่อได้
การศึกษาการไหลในท่อเพื่อสังเกตพฤติกรรมของการไหล นักฟิสิกส์ ชื่อ ออสบอร์นเรย์โนลด์
(Osborne Reynolds 1842-1912) เป็นคนแรกที่ได้พิสูจน์หาตัวแปรที่ใช้ในการควบคุมการไหลและหา
ความสัมพันธ์เพื่อทานายการไหล เรย์โนลด์แสดงว่าพฤติกรรมขึ้นกับสมดุลระหว่ างแรงเฉื่อยและแรงจาก
ความเสียดทาน หรือความหนืดของของไหล จึงนาไปสู่นิยามของเทอมไร้หน่วย เรียกว่า เลขเรย์โนลด์
(Reynold number) ซึ่งอัตราส่วนระหว่างแรงเฉื่อยกับแรงเนื่องจากความหนืดและใช้เป็นตัวบอกการ
เปลี่ยนแปลงการไหลจากลามินาร์เป็นปั่นป่วน การทดลองพบว่า การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นที่เลขเรย์
โนลด์เท่ากันเสมอในของไหลและท่อเดียวกัน
การหาเลขเรย์โนลด์จากอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง เพื่อศึกษาโดยการสังเกตเส้นสีที่ฉีดลงในของ
ไหลที่เคลื่อนที่ โดยปรับอัตราไหลที่ค่าต่าง ๆ จากการไหลราบเรียบ จนถึงการเปลี่ยนแปลงที่เรียกว่า
ทรานสิชั่น (Transition) ซึ่งคือการไหลที่เริ่มเปลี่ยนจากการไหลที่เริ่มเปลี่ยนจากราบเรียบไปเป็นปั่นป่วน
พิจารณากรณีที่ของไหล ไหลจากจุดหยุดนิ่ง เช่น ผนังท่อ ที่ระยะ y จากผนังของของไหลจะมี
ความสัมพันธ์ v กับผนัง การเคลื่อนที่จะก่อให้เกิดความเค้นเฉือน ซึ่งมีแนวโน้มทาให้การเคลื่อนที่ลดลง
ดังนั้น ความเร็วใกล้ ๆ ผนังจะลดลงกว่าความเร็วจุดกึ่งกลาง ซึ่งสามารถแสดงให้เห็นว่าความเค้นเฉือน
ทาให้มีการกระจายความเร็ว dv/dyซึ่งเป็นสัดส่วนกับความเค้นที่ทาให้ค่าคงที่ของสมการความหนืด คือ

dv
 =  dy
7

สมการเป็นรูปแบบการไหลที่เป็นชั้น ๆ แบบราบเรียบ ซึ่งใช้ได้จริงสาหรับของไหลที่ค่าความหนืด


คงที่ที่อุณหภูมิกาหนด อาจพูดได้ว่า ความหนืดของของไหล หาได้จากการทราบความเค้นเฉือนและการ
กระจายความเร็ว ในการทดลองจะใช้กับของไหลที่มีความหนืดต่า ถ้าความเร็วของของไหลเพิ่มขึ้นที่ค่า
แน่นอนค่าหนึ่งจะเกิดการรบกวนชั้นของไหล ก่อให้เกิดความเสียดทานที่เรียกว่า eddies ซึ่งเป็นสาเหตุ
ของการผสมระหว่างชั้นของของไหลที่มีพลังงานสูงและต่าเข้าด้วยกัน เรียกการไหลแบบนี้ว่า การไหล
ปั่นป่วน และภายใต้เงื่อนไขเหล่านี้ ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นเฉือนและการกระจายความเร็วขึ้นกับ
ปัจจัยอื่น ๆ เพิ่มเติมนอกจากความหนืดของของไหล ธรรมชาติของการไหลจะแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง
เพราะการเปลี่ยนแปลงของพลังงานระหว่างชั้นในตอนนี้ ขึ้นกับความเข้มข้นของ eddies (ขึ้นกับความ
เฉื่อยของของไหล) มากกว่า ความหนื ดไดนามิ กส์ (  )เรายั งคงน าเอาสมการไปใช้ได้เ พีย งแต่ค่า
สัมประสิทธิ์ความหนืด ไม่ใช่ความหนืดของของไหลเพียงอย่างเดียว ตอนนี้จะเรียกว่าความหนืดแบบ
เอ็ดดี้ (Eddy Viscosity) และมีค่าไม่คงที่อีกต่อไป ค่าความหนืดชนิดนี้ขึ้นกับเงื่อนไขของการไหลที่เข้ามา
และจะมีค่ามากกว่าสัมประสิทธิ์ ความหนืดสาหรับของไหล อาจพูดได้ว่าเอ็ดดี้ก่อให้เกิดความเค้นเฉือน
เพิ่มขึ้นที่ความเร็วกาหนด ดังนั้นการสูญเสียในการไหล จึงมีค่ามากกว่าการไหลแบบราบเรียบ การไหล
แบบราบเรียบเป็นผลของแรงจากความหนืดและการไหลแบบปั่น ป่วนเป็นผลจากแรงเฉื่อย สิ่งนี้เป็นจริง
พิสูจน์โดยเรย์โนลด์ ผู้นาการเสนอธรรมชาติของการไหลขึ้นกับอัตราส่วนของแรงเฉื่อยจากแรงเนื่องจาก
ความหนื ด น าไปสู่ เ ลขไร้ ห น่ ว ย เรี ย กว่ า เรย์ โ นลด์ (Re) แรงเฉื่ อ ยคื อ สั ด ส่ ว นของมวลคู ณ กั บ การ
เปลี่ยนแปลงความเร็ว หารด้วยเวลา คืออัตราการไหลของมวลเท่ากับความหนาแน่น  คูณกับพื้นที่ คูณ
กับความเร็ว v เขียนสมการได้ดังนี้

Re = inertia force
viscosity force
dv
Re = 

เทอม  เรียกว่า ความหนืดจลน์ (Kinetic Viscosity) จึงเขียนสมการใหม่ดังนี้



vd
Re =
v
8

2.3 ความหมายของเลขไร้หน่วย (Reynold Number)


เลขไร้หน่วย Re แบ่งการไหลออกเป็น 3 หน่วย คือ การไหลแบบราบเรียบ, การไหลทรานสิชั่น
และการไหลปั่นป่วน กรณีที่ความเร็วเพิ่มขึ้ น ตอนแรกแรงเนื่องจากความหนืดมีผลมากและความเร็ว
ยังคงเป็นแบบราบเรียบ ขณะที่ความเร็วถูกทาให้เพิ่มขึ้น ก่อให้เกิดเอ็ดดี้ แต่ก็ยังเอาชนะผลของความ
หนืดไม่ได้จนกระทั่งเพิ่มความเร็วมากขึ้นที่ก่อให้เกิดเอ็ดดี้จานวนมาก จนกระทั่งถึงจุดที่การไหลเป็นแบบ
ปั่นป่วน อย่างสมบูรณ์ จะเกิดการผสมและเรียกว่าเป็น Fully turbulent ทรานสิชั่น เป็นการไหลที่อยู่
ระหว่างการเกิด Fully laminar กับ turbulent flow ซึ่งอาจเกิดเบี่ยงเบนไปจากช่วงที่มีการไหลราบเรียบ
คงที่ ที่จุดปลายของทรานสิชั่นจะก่อให้เกิดการไหลปั่นป่วนจะมีไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะถึงความเร็วที่เริ่ม
ไหลแบบปั่นป่วน ในที่สุดจุดที่แรงจากความหนืดแยกออกจากเอ็ดดี้ ซึ่งจะรวดเร็วมาก การไหลจะเปลี่ยน
กลับมาเป็นการไหลแบบราบเรียบ พฤติกรรมเช่นนี้สามารถสังเกตเห็นได้ด้วยตา จากการทดลองและการ
วัดความสูญเสียความดันไปตามความยาวท่อ เป็นการเปลี่ยนแปลงความดันกับความเร็วในท่อเรียบ เมื่อ
เพิ่มความเร็วจะเกิดทรานสิชั่นขึ้นระหว่างจุด A และจุด B และเมื่อลดความเร็วลง ทรานสิชั่นจะเกิด
ระหว่างจุด C และจุด D เป็นจุดที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงความเร็วจากการไหลแบบปั่นป่วนมาเป็นการ
ไหลแบบราบเรียบ ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเรย์โนลด์ระหว่ าง 2,000 และ 2,300 เรย์โนลด์ที่จุด A, B และ C
ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขตรงทางเข้าและความขรุขระของท่อจุด A แทนเลขเรย์โนลด์ระหว่าง 2,000 และ 2,500
แต่ถ้าตรงทางเข้าถูกควบคุมอย่างดีและท่อเรียบมาก การไหลราบเรียบอาจทาให้เรย์โนลด์เป็นค่าที่สูงขึ้น
ช่วงที่การไหลราบเรียบเกิดขึ้นที่เลขเรย์โนลด์ต่ากว่า 2,000 ตรงช่วงทีเ่ ริ่มไหลเข้าในท่อ

รูปที่ 2.2 ลักษณะการไหลภายใน


ท่อ
9

จานวนเลขเรย์โนลด์ (Reynold Number) เป็นเลขที่ดัชนีที่ชี้บอกสภาพปรากฏการณ์การไหลของ


ของไหล ซึ่งจานวนเลขเรย์โนลด์จะมีค่าขึ้นอยู่กับความเร็วการไหล ความหนืด ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อ
และความหนาแน่นของของไหล เราอาจเขียนความสัมพันธ์ดังกล่าวได้เป็น

RD = VD

RD = จานวนเลขเรย์โนลด์ (Reynold Number)


V = ความเร็วการไหล
D = เส้นผ่าศูนย์กลางภายในท่อ
 = ความหนาแน่นของของไหล
 = ความหนืดของของไหล

ถึงแม้จานวนเลขเรย์โนลด์จะไม่มีหน่วย แต่มันมีความสาคัญอย่างมาก กล่าวคือ จานวนเลขนี้จะ


เป็นตัวกาหนดรูปแบบการไหลของของไหลว่าเป็นแบบใด เช่น

รูปที่ 2.3 รูปแบบการไหล


10

RD อยู่ในช่วง 0-2000 สภาพการไหลเป็นแบบ Laminar Flow


RDอยู่ในช่วง 2001 – 4000 สภาพการไหลเป็นแบบ Transition Zone คือ มีการไหล 2 แบบ คือ
Laminar + Turbulent
RD มากกว่า 4001 สภาพการไหลเป็นแบบ Turbulent Flow โดยส่วนใหญ่จะเป็นการไหลแบบนี้
ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการวัด Flow Rate ซึ่งตัวแปรที่มีผลทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง จานวนเลขเรย์โนลด์
(Reynolds’ number)ค่าเหล่านี้จะมีความสัมพันธ์ต่อการไหล

อุณหภูมิ ตามปกติเมื่ออุณหภูมิมีการเปลี่ยนแปลงจะทาให้สภาพหรือคุณลักษณะของของไหลมีการ
เปลี่ยนแปลงตามไปด้วย โดยจะเกี่ยวข้องกับค่า ความหนืด ความหนาแน่น ฯลฯ ดังนั้น อุณหภูมิจึงมีผล
อย่างมากต่อการไหลของของไหล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสภาวะของก๊าซจะต้องคานึงถึงเป็นพิเศษ
ความดัน เนื่องจากความดันมีความสัมพันธ์กับแรงและพื้นที่หน้าตัด ดังนั้ นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
ค่าความดันในของไหลที่ต้องการวัดจะทาให้ความเร็วการไหลของของไหลเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย
ความหนาแน่น เนื่องจากความหนาแน่นมีความสัมพันธ์กับน้าหนักและปริมาตร ดังนั้น หากของ
ไหลบรรจุอยู่ในภาชนะที่มีปริมาตรจากัด ก็จะทาให้มีความหนาแน่นมาก นั่นคืออาจมีผลต่อการไหลของ
สารเหล่านั้น (เกี่ยวกับความเร็วการไหล)
ความหนืด หมายถึง ความต้านทานต่อการไหลของของไหลเหล่านั้น เช่น น้ามันหล่อลื่นมีความ
หนืดมากกว่าน้า หรือน้ามีความหนืดมากกว่าน้ามันเบนซิน เป็นต้น ตามปกติความหนืดของของเหลวจะ
ลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น แต่ขณะเดียวกัน ความหนืดของก๊าซจะเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิของก๊าซลดลง
ความเร็ว จะเป็นค่าตัวแปรที่กาหนดพฤติกรรมการไหลของของไหลว่าจะเป็นไปในลักษณะใด
กล่าวคือ เมื่อความเร็วเฉลี่ยของของไหลเป็นไปอย่างช้า ๆ เราจะเรียกการไหลแบบนี้ว่า การไหลแบบ
ราบเรียบ (Laminar flow) แสดงดังรูป จะเห็นได้ว่าในบริเวณใกล้กับเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อความเร็ว
ของการไหลจะมีค่ามากกว่าบริเวณที่ห่างออกไป และหากความเร็วมีค่ามากขึ้นถึงระดับหนึ่งจะทาให้เกิด
การไหลแบบปั่นป่วน (Turbulent flow) แสดงดังรูป ซึ่งการไหลแบบหลังนี้จะพบเห็นกัน เป็นส่วนมาก
อนึ่ง การไหลแบบปั่นป่วนนี้จะเป็นการไหลที่มีรูปแบบไม่แน่นอน เราอาจคานวณหาค่ าความเร็วการไหล
ของของไหลได้
11

2.4 ทฤษฎีการสูญเสียของของไหลภายในท่อ
2.4.1การสูญเสียจากแรงเสียดทานของการไหลราบเรียบ
การไหลราบเรียบของไหลจะไหลจากชั้ นหนึ่งไปอีกชั้นหนึ่ง ทาให้มีแรงต้านทานเนื่องจากความ
หนืดเกิดเป็นความเค้นขึ้นระหว่างชั้นของของไหลที่เคลื่อนที่ไป การสูญเสียพลังงานจึงเกิดจากของไหลที่
เคลื่ อ นที่ ไ ป การสู ญ เสี ย พลั ง งานจึ ง เกิ ด จากของไหลที่ ต้ อ งการเอาชนะแรงจากความเค้ น เฉื อ น
ความสัมพันธ์ของการสูญเสียพลั งงานและตัวแปรของระบบการไหลราบเรียบได้จากสมการของเฮเกน
พอซิวอาย
2
hf = f L v
D 2g

f = สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน (Friction Factor)


L= ความยาวท่อ
D= เส้นผ่านศูนย์กลางของท่อ
v = ความเร็วของการไหลเฉลี่ยผ่านท่อ
g= ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก =9.81 m/s2

ตัวแปรในสมการของเฮเกน พอซิวอาย คือสมบัติของของไหล ได้แก่ ความหนืด น้าหนักจาเพาะ


รูปทรง ความยาว เส้นผ่าศูนย์กลาง และความเร็วเฉลี่ยของการไหล อย่างไรก็ได้มีการพิสูจน์จากการ
ทดลอง ผลที่ได้จากการพิสูจน์ทฤษฎีของ เฮเกน พอซิวอาย พบว่าลักษณะของของผิวท่อมีผลต่อความ
หนื ดภายในของการไหล ซึ่ งสมการนี้ก็ส ามารถน ามาพิ สู จน์ การเปลี่ ย นแปลงดังกล่า วได้ ซึ่งสมการ
ด้านบนสามารถหาได้จาก

L v2 32 Lv
F   =
V 2g D
2

32 Lv D2g 64 g 64


F = D
2  2 = vD = vD
Lv
 vD
จากสมการ  =g และ Re =  ดังนั้น สมการการไหลแบบราบเรียบ (Laminar Flow)
ค่า จะมีค่าดังสมการด้านล่าง

f = 64
Re
จากสมการดังกล่าว เราสามารถพิสูจน์การไหลแบบราบเรียบและแบบกึ่งราบเรียบได้เท่านั้น ถ้า
เป็นการไหลแบบปั่นป่วน สมการดังกล่าวอาจจะนามาใช้จริงไม่ได้ เนื่องจากอาจจะเกิดการคลาดเคลื่อน
12

2.4.2 การสูญเสียจากแรงเสียดทานของการไหลปั่นป่วน
เราไม่สามารถหาแฟกเตอร์ความเสียดทานอย่างง่ายสาหรับการไหลปั่นป่วนในท่อเหมือนในการ
ไหลราบเรี ยบเพราะว่ าลั กษณะการเคลื่ อนที่ ของการไหลปั่ นป่ วนไม่ เป็ นชั้ นหรื อเป็ นเส้ น การไหลไม่ เป็ น
ระเบียบ แต่ค่อนข้างยุ่งเหยิงและแปรปรวนตลอดเวลา ด้วยเหตุผลดังกล่าว การสูญเสีย พลังงานจากการ
ไหลปั่นป่วนจึงต้องใช้แฟกเตอร์ความเสียดทานที่ได้จากการทดลองเพื่อนาไปใช้
แฟกเตอร์แรงเสียดทานที่ได้จากการทดลองนี้กับเลขไร้หน่วยสองกลุ่ม คือ เลขเรย์โนลด์และความ
ขรุขระสัมพัทธ์ของท่อ ซึ่งอัตราส่วนของเส้นผ่าศูนย์กลางท่อ (D) กับความขรุขระของผนังท่อ ( ) เป็นค่า
ความขรุขระของผนังท่อ ความหนาของผิวท่อ ไม่มีความแน่นอนขึ้นอยู่กับชนิดของวัสดุและกรรมวิธีการ
ผลิตท่อ ท่อที่ใช้ทางการค้าทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ค่าการออกแบบความขรุขระของผนังท่อเป็น
ค่าเฉลี่ยของท่อใหม่และสะอาด หลังจากนาท่อไปใช้ความขรุขระของท่อจะเปลี่ยนไป เนื่องจากการสะสม
บนผนังหรือการกัดกร่อนของท่อซึ่งขึ้นอยู่กับการสะสมจะทาให้ท่อเป็นไปในลักษณะใด
ท่อแก้วและท่อพลาสติกมีผิวภายในเรียบ ค่าของความขรุขระผิวมีน้อย ทาให้ค่าความขรุขระ
D
สัมพันธ์  มีค่ามาก ท่อทองแดงและทองเหลืองผิวค่อนข้างเรียบ สาหรับท่อเหล็กมาตรฐาน เช่น ท่อ
เหล็ก Schedule 40 และ 80 และท่อเหล็กทั่วไปใช้ค่าความขรุขระของท่อเหล็กทางการค้า หรือ Welded
Steel ท่อเหล็กดักไทล์ (Duction iron pipe) ถูกเคลือบด้วยปูนซีเมนต์ที่ด้านในเพื่อป้องกันการผุกร่อน
และเพื่อปรับปรุงความขรุขระ
ค่าของ f และ Re ถูกเขียนบนสเกลของล็อกฐานสิบ เพราะว่าค่าที่เกี่ยวข้องมีค่าอยู่ในช่วงกว้าง
เลขเรย์โนลด์น้อยกว่า 2,000 ได้เส้นตรงของเทอม f = 64/Re อยู่ทางซ้ายมือของกราฟ สาหรับการ
ไหลแบบราบเรียบ ในช่วง 2000 น้อยกว่า Re น้อยกว่า 4000 ไม่มีเส้นโค้งเพราะว่าเป็นบริเวณวิกฤต
การไหลเปลี่ยนกลับไป/มา ระหว่างราบเรียบและปั่นป่วน จึงไม่มีสมการของการไหลในบริเวณนี้ ของไหล
จะเปลี่ยนจากไหลราบเรียบไปเป็นปั่นป่วนที่ความเร็ววิกฤตเมื่อมีค่า Re = 4000 เส้นโค้ง D/ เรียกว่า
ความขรุขระสัมพัทธ์
เมื่อกาหนดค่าความขรุขระสัมพัทธ์มาให้ เนื่องจากบริเวณวิกฤตอยู่ระหว่างเลขเรย์โนลด์ 2000
และ 4000 ถ้าเป็นไปได้ควรหลีกเลี่ยงการใช้ความเร็วในช่วงวิกฤตเพราะว่าช่วงนี้ไม่ สามารถทานาย
ประเภทของการไหลได้ เส้นโค้งประแสดงการเปลี่ยนแปลงของแฟกเตอร์ความเสียดทานที่เกิดขึ้นตามค่า
ของความขรุขระสัมพัทธ์ที่ค่าของ D/ ต่า (ชี้ว่าความขรุขระของผนังท่อมีค่ามาก) แฟกเตอร์ความเสียด
ทานมีค่าเพิ่มขึ้นขณะที่ค่าเลขเรย์โนลด์เปลี่ยนจากการไหลราบเรียบเป็นปั่นป่วน เช่น การไหลในท่อที่มี
D/ = 20 แฟกเตอร์ความเสียดทานเพิ่มขึ้นจาก 0.032 ที่ Re = 2000 ตรงส่วนปลายของช่วงการไหล
ราบเรียบไปยังประมาณ 0.077 ที่ Re = 4000 ที่จุดเริ่มต้นของช่วงการไหลปั่นป่วนซึ่งเพิ่มขึ้น 240
เปอร์เซ็นต์
13

ท่อเรียบ (แก้ว พลาสติก) ซึ่งมีความขรุขระน้อย ค่า D/ มีค่ามาก ซึ่งไดอะแกรมของมูดีใช้หาค่า


แฟกเตอร์ความเสียดทานสาหรับการไหลปั่นป่วนซึ่งต้องทราบเลขเรย์ โนลด์และความขรุขระสัมพัทธ์
ข้อมูลพื้นฐานที่ต้องการใช้คือเส้นผ่าศูนย์กลางภายในชนะของวัสดุทาท่อ ความเร็วของการไหล ชนิดของ
การไหล และอุณหภูมิ

รูปที่ 2.4 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความขรุขระกับเลขเรย์โนลด์

ความสัมพันธ์ระหว่างสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน (Friction Factor), Reynolds Number และ Relative


Roughness สามารถนามาเขียนเป็นแผนภูมิเรียกว่า Moody Diagram

vD
Re = 
14

 = ความหนาแน่นของน้า (Water Density)


997 kg/m3ที่อุณหภูมิ 25๐C
 = ความหนืดของน้า (Absolute Dynamic Viscosity)
8.94 x 10-4Ns/m2ที่อุณหภูมิ 25๐C

รูปที่ 2.5 ความสัมพันธ์ระหว่างความหนืดกับอุณหภูมิของของเหลวต่าง ๆ


15

2.5 อุปกรณ์วัดปริมาณการไหล (Rota meter)

รูปที่ 2.6 มาตรวัดแบบโรตา

เป็นท่อใสในแนวดิ่ง ภายในจะมีลูกลอยที่หนักกว่าของไหล เมื่อของไหลเข้าทางด้านล่าง ความเร็ว


ของมันจะพยุงให้ลูกลอยลอยอยู่ได้ บนท่อจะมีมาตรส่วนบอกค่าเป็นหน่วยความสูง สามารถนามาเทียบ
เป็นอัตราการไหล โดยใช้ Calibrate Chart ที่กาหนด
มาตรวัดแบบโรตาประกอบด้วยท่อกลมเรียว (Tapered Tube) มีลูกลอยทรงกระบอกกลมปลาย
ด้านล่างแหลมเป็นรูปกรวยอยู่ภายในท่อกลมเรียว ขณะใช้งานจะวางอยู่ในแนวดิ่ง ปลายด้านเล็กจะอยู่
ด้านล่างเป็นทางเข้าของของไหล เมื่อของไหลไหลขึ้นในแนวดิ่งจะดันให้ลูกลอยถูกยกสูงขึ้นจนสมดุล
ของไหลจะไหลผ่านพื้นที่ว่าง รูปวงแหวนระหว่างลูกลอยทับท่อเรียว ตาแหน่ งความสูงของลูกลอยขึ้นอยู่
กับอัตราการไหล เมื่อลูกลอยสมดุล น้าหนักของลูกลอยจะเท่ากับแรงฉุด (Drag Force) ของของไหล
กระทาต่อลูกลอย
16

รูปที่ 2.7 ลักษณะการทางานของอุปกรณ์วัดอัตราการไหล

สามารถใช้ค่าความสัมพันธ์ของแรงเหล่านี้มาใช้คานวณหาอัตราการไหลในขณะนั้นได้ตามสมการ

1/2
Q = Cd Aa 2WNet
AFloatFluid

WNet = น้าหนักสุทธิของลูกลอย
Aa = ATube – AFloat
ATube = พื้นที่หน้าตัดของท่อโรตา ณ ตาแหน่งที่ลูกลอยอยู่ในสถานะสมดุล
AFloat = พื้นที่หน้าตัดของลูกลอย

หรือ
Aa = พื้นที่วงแหวนของการไหลผ่าน
Fluid = ความหนาแน่นของของไหลที่ต้องการวัด
Cd = สัมประสิทธิ์ของการไหลผ่านมาตรวัดโรตา,ค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน

มาตรวัดชนิดนี้ได้ทาการติดตั้งสเกลบอกขนาดอัตราการไหลไว้ที่บริเวณข้างหลอดของเครื่องมือวัด
ทาให้สะดวกต่อการอ่านค่าอัตราการไหล อย่างไรก็ตาม มาตรวัดแบบโรตาจะให้ค่าความคลาดเคลื่อน
มากในช่วงที่มีการไหลน้อย ๆ และไม่เหมาะกับของไหลที่มีค่าความหนาแน่นมาก
17

2.6 ระบบการควบคุมเบื้องต้น (Control Basic)


การควบคุมอัตโนมัติ คือ การที่ให้อุปกรณ์ตัวนั้นทางานเองตามที่เราได้สั่งไว้ ซึ่งในขบวนการผลิต
ทุกชนิดจะต้องมีการควบคุมค่าของปริมาณต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องในการผลิต เช่น อุณหภูมิ , การไหล,
แรงดัน, ระดับของเหลว, ความหนาแน่น, ค่า pH, ปริมาณ O2, ความเข้มข้นของสารเคมี, ความหนืด, ค่า
ความถ่วงจาเพาะ, น้าหนัก, ความเร็วรอบฯ ปริมาณเหล่านี้เป็นเงื่อนไขที่สาคัญที่ประกันได้ว่า สินค้าที่
ผ่านการผลิตจะมีคุณภาพดีตามต้องการ การวัดและการควบคุมปริมาณเหล่านี้ให้เป็นไปตามการโดย
อัตโนมัติ เราเรียกว่า การควบคุม ระบบ (Process control) การควบคุมระบบที่ดีและถูกต้องจะเพิ่ ม
ประสิทธิภาพการผลิตทาให้สินค้ามีคุณภาพดี ลดต้นทุน
การควบคุมระบบในปัจจุบันได้รับการพัฒนาไปมาก จากการวัดและควบคุมด้วยมือจนถึงการ
ควบคุมโดยอัตโนมัติ การควบคุมที่สลับซับซ้อน ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย ขั้นตอนการพัฒนาการ
ควบคุมระบบสามารถแบ่งเป็นขั้นตอน ดังนี้
สมัยที่ 1 วัดอย่างเดียว เครื่องวัดแบบง่าย ๆ ได้แก่ เทอร์โมมิเตอร์ เครื่องชั่งน้าหนักเป็นการวัดเพื่อ
ตรวจสอบสภาพการผลิต เครื่องวัดบางชนิดไม่สามารถวัดอย่างต่อเนื่องได้ การควบคุมเป็น
การควบคุมด้วยมือ (Manual Control)
สมัยที่ 2 วัดและควบคุม เครื่องวัดไฟฟ้าและเครื่องวัดอุตสาหกรรมแบบ Field instrument มีการควบคุม
แบบง่าย ๆ
สมัยที่ 3 ระบบเครื่องวัด Transmitter, Instrument Panel, เครื่องมือวัดและบันทึกข้อมูลในแบบหลาย
จุด การควบคุมแบบ ON-OFF
สมัยที่ 4 ควบคุมอัตโนมัติ การควบคุมแบบป้อนกลับ มี Loop การควบคุมหลาย ๆ Loop ในโรงงาน
สมัยที่ 5 ระบบควบคุม อัตโนมั ติ การควบคุ ม แบบซี เ คว้ น ซ์ ผสมกับ การควบคุ ม แบบป้ อนกลั บ ทาให้
ขบวนการผลิตทุกขั้นตอนเป็นอัตโนมัติ
สมัยที่ 6 Optimum Control การควบคุมที่ซับซ้อน การควบคุมโดยใช้คอมพิวเตอร์เพื่อให้การผลิตมี
ประสิทธิภาพสูงสุด ลดต้นทุนและประหยัดพลังงาน

การควบคุม
การควบคุม คือ การกระทาเพื่อให้บรรลุสภาพหรือคุณภาพทางฟิสิกส์ ลองพิจารณาการกระทาซึ่ง
เป็นการควบคุมจากตัวอย่าง

2.7 ตัวควบคุมและแบบการควบคุม (Controller and control action)


โดยทั่วไปตัวควบคุมอัตโนมัติจะทาหน้าที่เปรียบเทียบค่าเอาท์พุตที่เกิดขึ้นจริง (Actual Valve)
จากการวัดของระบบกับค่าเป้าหมาย (Set Point) ผลต่างของสัญญาณทั้งสองจะถูกส่งเข้าค่าเป้าหมาย
กับค่าจริงของโปรเซสเป็นศูนย์หรือมีค่าน้อยที่สุด สัญญาณควบคุมที่ตัวควบคุมผลิตออกมานี้ เรียกว่า
แบบของการควบคุม (control action)
ตัวควบคุมแบบอัตโนมัติในวงการอุตสาหกรรมมีแบบของการควบคุม ดังนี้
1. On-Off Control Action (Two-position controller)
18

2. Proportional Control Action (P controller)


3. Integral Control Action (I controller)
4. Proportional-Plus-Integral Control Action (PI controller)
5. Proportional-Plus-Derivative Control Action (PD controller)
6. Proportional-Plus-Plus-Integral-Derivation Control Action (PID controller)

ตัวควบคุมแบบอัตโนมัติในวงการอุตสาหกรรม ส่วนมากจะใช้ระบบอิเล็คทรอนิคส์หรือแบบนิว เเม


ติกส์ นั้นขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของโรงงานและขบวนการผลิต เช่น ควรพิจารณาถึงความปลอดภัย
ราคา ความสะอาด ความเชื่อถือ ความถูกต้อง แม่นยา น้าหนักและขนาด องค์ประกอบของตัวควบคุม
แบบอัตโนมัติในงานอุตสาหกรรม โดยปกติตัวควบคุมจะประกอบไปด้วยส่วนเปรียบเทียบระหว่างค่า
เป้าหมาย (set point) กับค่าวัด (measuring value) ซึ่งจะได้ผลต่าง

รูปที่ 2.8 ตัวควบคุมนิวแมติกส์.


19

รูปที่ 2.9 ตัวควบคุมแบบอิเล็กทรอนิกส์

รูปที่ 2.10 แสดงโครงสร้างง่าย ๆ ของตัวควบคุม

2.8 แบบของการควบคุม (Control action)


แบบการควบคุม ดังที่กล่ าวมาตั้งแต่ต้น ของบทนี้นั้น เป็ นแบบที่ ง่ายและรู้จักกั นดีของผู้ที่อยู่ใ น
วงการอุตสาหกรรม ที่ควบคุมการผลิตโดยใช้ตัวควบคุมแบบอัตโนมัติ ให้พยายามสังเกตและศึกษาให้
เข้าใจ ซึ่งเป็นสิ่งที่จาเป็นของวิศวกรควบคุม ในการที่จะเลือกใช้วิธีใดวิธีหนึ่งที่เหมาะสมกับ Application
ของคนต่อไป
ในระบบที่มีการควบคุมแบบ Two-position นั้น ตัว actuating element จะมี ตาแหน่งแน่นอนสอง
ตาแหน่งเท่านั้น เช่น เปิด-ปิด ในปัจจุบันการควบคุมแบบนี้ก็ยังเป็นที่นิยมแพร่หลายเนื่องจากติดตั้งง่าย
ราคาถูก ให้สัญญาณเอาท์พุทจากตัวควบคุมเป็น m (t) และสัญญาณผลต่างระหว่างค่าเป้าหมายและค่า
วัดเป็น e (t) เราจะได้ว่าค่าของสัญญาณ m (t) จะเป็นค่าน้อยที่สุดหรือมากที่สุดเท่านั้น โดยขึ้ นอยู่กับค่า
สัญญาณผลต่างว่าเป็นบวกหรือลบเท่านั้น

m (t) = M1 ที่ e (t) > 0


m (t) = M2 ที่ e (t) < 0 : โดยที่ค่า M1 และ M2 เป็นค่าคงที่

ค่าของ M2 เป็นค่าที่ต่าที่สุดหรืออาจเป็น -M1 ก็ได้ ตัวควบคุมแบบ two-position โดยทั่วไปมักจะ


ใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น solenoid valve, motor valve ฯลฯ
20

รูป 2.11 Block diagram ของตัวควบคุมแบบ ON-OFF

รูปที่ 2.12 ระบบการควบคุมระดับของเหลว


21

รูปที่ 2.13 แสดง Dead band ของการควบคุมระดับของเหลวแบบ ON-OFF

พิจารณา ระบบของการควบคุมระดับของเหลว ด้วยการควบคุมแบบ ON-OFF วาล์วจะเปิดหรือ


ปิดอย่างใดอย่างหนึ่ง อัตราการไหลเข้าของน้าจะเป็นค่าคงที่ที่เป็นบวกหรือศูนย์ ดังแสดงในรูป ข) จะ
เห็นว่าค่าความสูงของระดับน้าในถังจะเพิ่มและลดอย่างต่อเนื่องที่ระดับ 2 ระดับ คือ M1 และ M2 ซึ่งเกิด
จากการเคลื่อนที่ของ actuating element (ในที่นี้คือลูกลอย) จากตาแหน่งที่กาหนดให้ตาแหน่งหนึ่ง
(ON) ไปยังอีกตาแหน่งหนึ่ง (OFF) เป็น cycle ดังนั้น ผลของการควบคุมจะทาให้ระดับน้าเกิดการแกว่ง
(oscillation) ข้นได้ ข) เราจะพบว่า ช่วงกว้าง (Amplitude) ของการแกว่งสามารถลดลงได้โดยการลดค่า
Dead band ซึ่งอาจจะทาได้โดยการเพิ่มอัตราของ ON-OFF ของสวิทซ์ต่อนาที เป็นต้น สาหรับความถี่
ในการแกว่ง จะขึ้นอยู่กับค่าคงตัวเวลา (time constant) ของระบบเอง ตามรูปได้แสดงเส้นโค้งลักษณะ
สมบัติ (characteristic curve) ของระบบควบคุมระดับน้า โดยแบ่งเป็นสองส่วนคือ ส่วนแรกเกิดจากการ
เปิดน้าให้ไหลเข้าถัง ขณะให้งานตามปกติ น้าจะค่อย ๆ เพิ่มเป็นแบบ exponential จนหมดถัง จากการ
พิจารณาระบบดังกล่าวนี้เราสามารถสรุปได้ว่าการควบคุมแบบ ON-OFF จะได้ผลต่อเมื่อโปรเซสมีค่าคง
ตัวเวลายาวมาก แต่มี dead time สั้น ๆ เท่านั้น

2.9 การควบคุมแบบ Feed Back เบื้องต้น (Introduction to Feed Back Control)


2.9.1 หลักการของการควบคุมแบบ Feed Back
พิจารณาขบวนการผลิต เป็นขบวนการที่มีเอาท์พุท Y, Disturbance D, และค่าตัวแปรของระบบ
เป็น M
22

รูปที่ 2.14 การควบคุมProcess วงรอบแบบFeed Back ของระบบ

การเปลี่ยนค่า disturbance d (บางครั้งอาจจะเป็น load ของโปรเซสเองก็ได้ ) เราไม่สามารถ


ทานายล่วงหน้าได้และจุดประสงค์ในการควบคุมของเราคือพยายามรักษาค่า Output y ให้ได้ค่าตาม
ต้องการ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในการควบคุมแบบ Feed back จะเรียงลาดับดังนี้
2.9.1.1 วัดค่าของ Output (การไหล (Flow), ความดัน (Pressure), ระดับของเหลว (Liquid
level), อุณหภูมิ (Temperature), ส่วนประกอบทางเคมี (Composition) โดยใช้อุปกรณ์การวัด (Sensor)
ที่เหมาะสมให้ ymเป็นค่าที่แสดงผลการวัดของอุปกรณ์การวัดดังกล่าว
2.9.1.2 เปรียบค่า Output ymที่วัดได้กับค่าเป้าหมาย ysp (set point) ของเอาท์พุท สัญญาณ
ควบคุมมวล (m)เพื่อที่จะลดขนาดของผลต่าง ปกติตัวควบคุมจะไม่ผลิตสัญญาณควบคุม m โดยตรงแต่
จะผ่านอุปกรณ์อีกตัวหนึ่ง (โดยทั่วไปมักจะเป็น control valve) เราเรียกว่า อุปกรณ์ควบคุมตัวสุดท้าย
(Final control element) รูป 2.18 (b) แสดงแผนภาพตามลาดับ 3 ขั้นตอนดังกล่าว ระบบในรูป 2.18 (a)
คือ การควบคุมแบบเปิด (Open loop control) คอยเปรียบเทียบให้เห็นความแตกต่างกับระบบควบคุม
แบบ Feed back ในรูป 2.18 (b) ซึ่งบางครั้งเรียกว่า การควบคุมแบบวงปิด (Closed loop control) เมื่อ
ค่า d เปลี่ยนแปลงไป ผลตอบรับของรูป 2.18 (a) คือผลตอบรับแบบวงเปิด (Open loop response)
ขณะที่ของรูป 2.18 (b) เรียกว่า ผลตอบรับแบบวงปิด (closed loop response) ระบบควบคุมแบบ Feed
back ที่พบบ่อย ๆ ในโปรเซสทั่ว ๆ ไป แบ่งตามระบบการวัดได้ดังนี้

ตัวอักษรย่อที่มักใช้ในระบบควบคุม
FC สาหรับการควบคุมการไหล
PC สาหรับการควบคุมความดัน
CC สาหรับควบคุมส่วนประกอบทางเคมี
LC สาหรับควบคุมระดับของเหลว
TC สาหรับควบคุมอุณหภูมิ
23

รูปที่ 2.15 แสดงระบบควบคุม Feed back

โดยใช้สัญลักษณ์ตามที่กาหนดแทนรายละเอียดบางส่วน ในรูปยังแสดงถึงระบบการส่ งสัญญาณ


และการวัดด้วย โดยใช้อักษรLT, TT, PT, FT และ CT แทนระบบของระดับ, อุณหภูมิ, การไหล และ
ส่วนผสมทางเคมี ตามลาดับ รูป a) และ b) แทนรูป 2.19 b) และ d) นั่นเอง
ตามรูปที่ 2.14 และ รูปที่ 2.15 ได้แสดงถึงอุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบพื้นฐานของวงรอบควบคุม
แบบ Feed back ซึ่งพออธิบายสรุปในแต่ละส่วนได้ดังนี้
1. Process: เป็นวัสดุหรืออุปกรณ์ที่ทาให้เกิดขบวนการทางด้านเคมีและฟิสิกส์ (ถังน้า, ตัว
แลกเปลี่ยนความร้อน, reactor, separators ฯลฯ)
2. อุปกรณ์การวัดหรือหัววัด (Sensor): ตัวอย่างเช่น เทอร์โมคัปเปอร์ (สาหรับอุณหภูมิ) เบลโล่
(Bellow) หรือไดอะแฟรม (สาหรับความดันหรือระดับ), แผ่น orifice (สาหรับอัตราการไหล, ก๊าซโครมา
โดกราฟหรือเครื่องวิเคราะห์สเปคโดรสโคบิคหลายๆแบบ (สาหรับวัดองค์ประกอบทางเคมี)
3. สายต่อสัญญาณ (Transmission Line) ใช้ในการนาสัญญาณที่วัดได้จากหัววัด (Sensor) ไปยัง
ตัวควบคุมและนาสัญญาณจากตัวควบคุมไปยัง อุปกรณ์ควบคุมตัวสุดท้าย (Final control element
:control valve เป็นต้น) สายส่งสัญญาณนี้สามารถเป็นได้ทั้งแบบสัญญาณลมและสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์
24

4. ตัวควบคุม :จะทาหน้าที่ในการเปรียบเทียบระหว่างค่าที่ต้องการ (Set point) กับค่าที่วัดได้และ


ทาการตัดสินใจส่งคาสั่งที่ได้ผ่านการคานวณตามแบบการควบคุมแบบต่าง ๆ (P, PI หรือ PID) ไปยังตัว
ควบคุมสุดท้ายเพื่อให้ค่าที่วัดได้ใกล้เคียงกับค่าที่ต้องการมากที่สุด
5. อุปกรณ์ควบคุมตัวสุดท้าย : โดยปกติจะใช้ Control valve หรือ Metering – pump ที่ปรับ
ความเร็วได้ อุปกรณ์ตัวนี้จะรับสัญญาณควบคุมจากตัวควบคุมเพื่อไปปรับหรือเปลี่ยนค่าของตัวแปรของ
โปรเซสที่กาลังควบคุมอยู่ในทางฟิสิกส์หรือเคมีใ ห้เป็นไปตามสัญญาณควบคุมที่มันได้รั บ จะเห็นว่ า
อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ใ น แ ต่ ล ะ ส่ ว น ที่ ก ล่ า ว ม า นี้ ถ้ า ข า ด ส่ ว น ใ ด ส่ ว น ห นึ่ ง ไ ป ร ะ บ บ ค ว บ คุ ม
แบบ Feedback จะไม่ครบวงจร ดังนั้น เราจึงจาเป็นที่จะต้องศึกษาในแต่ละส่วนอย่างละเอียดต่อไป
25

บทที่ 3

วิธีดำเนินกำรวิจัย

ในการสร้างชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล มีวั ตถุประสงค์เพื่อหาประสิทธิภาพของชุดสาธิต


อัตราการไหลของของไหลและเพื่อสารวจความพึ่งพอใจของผู้ทดสอบชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล
คณะผู้ทาสิ่งประดิษฐ์ได้ดาเนินการเป็น 2 ขั้นตอน ดังนี้
1. การสร้างชุดสาธิตการไหลของของไหล
2. การหาประสิทธิภาพและความพึงพอใจของชุดสาธิตการไหลของของไหล

3.1 กำรสร้ำงชุดสำธิตกำรไหลของของไหล
ขั้นตอนการสร้างชุดสาธิตการไหลของของไหลมีดังรูปนี้

รูป (ก) ชุดสาธิตการไหลของของไหล


26

รูป (ข) ถังพลาสติก ขนาด 20 ลิตร

รูป (ค) Centrifugal Pump

รูป (ง) Check Valve

รูปที่ 3.1 (ก,ข,ค,ง) วัสดุและอุปกรณ์ในการสร้างชุดสาธิตการไหลของของไหล


27

3.1.1 วัสดุและอุปกรณ์ในกำรสร้ำงชุดสำธิตกำรไหลของของไหล
3.1.1.1 ถังพลาสติก ขนาด 20 ลิตร 1 ถัง
3.1.1.2 Centrifugal Pump
3.1.1.3 ท่ออะคริลิค
3.1.1.4 เครื่องวัดแรงดัน (PRESSURE GAUGE)4ตัว
3.1.1.5 เครื่องวัดอัตราการไหล (Rota meter)
3.1.1.6 Gate Valve 3 ตัว
3.1.1.7 Diaphragm Valve 3 ตัว
3.1.1.8 Orifice 1 อัน
3.1.1.9 Venture 1 อัน
3.1.1.10Ball Valve 2 ตัว
3.1.1.11 Check Valve 1 ตัว
3.1.1.12 อุปกรณ์วัดอุณหภูมิ 1ตัว

3.1.2 กำรเดินระบบและกำรใช้งำนชุดสำธิตอัตรำกำรไหลของของไหล
การเดิ นระบบและใช้งานชุดสาธิตการไหลของของไหลมีรายละเอียดดัง ที่จะนาเสนอต่อไป ซึ่ง
สามารถสรุปเป็นขั้นตอนได้ดังต่อไปนี้
การใช้งานชุดสาธิตการไหลของของลงไหล

จัดเตรียมระบบ

เติมของไหลเข้าสู้ระบบ(น้า)

เตรียม Line ที่จะทาการสาธิต ของไหลในท่อจะ


เปลี่ยนไปตามอุปกรณ์ที่
ของไหลหมุนเวียนในระบบ
ไหลผ่าน
Pipe,Orifice,Venture
การตรวจสอบค่า แรงดัน อัตราการไหล ลักษณะของการ
ไหล
ทาความสะอาดอุปกรณ์

แผนภูมิที่ 3.1 การเดินระบบและการใช้งานชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล


3.1.3 วิธีกำรเดินระบบและใช้งำนชุดสำธิตกำรไหลของของไหล
28

ก่อนการเดินระบบและใช้งานชุดสาธิตการไหลของของไหล ให้ศึกษารายละเอียดของวาล์วและท่อ
ต่างๆในชุดสาธิตการไหลของของไหล

16
13
7 8

6 17 9
14

5 10

18
15
4 11

12
3

1 2

1.ถังน้า 7.Pressure Gauge 1 13.Flange


2.Centrifugal Pump 8.Thermometer 14.Orifice
3.Check Valve 9.Gate Valve 1 15.Venture
4.Diaphragm Valve 1 10.Gate Valve 2 16.Pressure Gauge 2
5.Diaphragm Valve 2 11.Gate Valve 3 17.Pressure Gauge 3
6.Diaphragm Valve 3 12.Rota Meter 18.Pressure Gauge 4

รูปที่ 3.2 แสดงอุปกรณ์ต่างๆของชุดสาธิตการไหลของของไหล


29

3.2 กำรหำประสิทธิภำพและควำมพึงพอใจของชุดสำธิตกำรไหลของของไหล
ขั้นตอนการหาประสิทธิภาพและความพึงพอใจของของชุดสาธิตการไหลของของไหลมีดังนี้

ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง

การออกแบบและสร้างชุดสาธิตการไหลของของไหล

การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

การทดลองใช้และรวบรวมข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล

แผนภูมิที่ 3.2 การหาประสิทธิภาพและความพึงพอใจของชุดสาธิตการไหลของของไหล

3.2.1 ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง
กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนีเ้ ป็นผู้เชี่ยวชาญผู้วิจัยได้ทาการเลือกแบบเจาะจง ผู้เชี่ยวชาญที่
มีประสบการณ์อย่างน้อย 5 ปี ผู้จัดการส่วน 3 ท่าน วิศวกรเครื่องกล3ท่านวิศวกรกระบวนการผลิต 2
ท่านวิศวกรเครื่องมือวัดและควบคุม 3 ท่านShift Supervisor 1 ท่านUnit Supervisor 2ท่านและControl
Room Operator1 ท่านรวม 15 ท่านแสดงความคิดเห็นต่อชุดสาธิตการไหลของของไหลที่สร้างขึ้น ตอบ
แบบประเมินเพื่อประเมินคุณภาพของชุดสาธิตการไหลของของไหลเและเสนอแนะความคิดเห็น

3.2.2 กำรออกแบบและสร้ำงชุดสำธิตกำรไหลของของไหล
การออกแบบในการสร้างชุดสาธิตการไหลของของไหล มีรายละเอียดการดาเนินงานจากแผนภูมิ
ที่ 3.3 ดังนี้
30

ศึกษาข้อมูล

เขียนแบบ

เลือกวัสดุ

สร้างชุดสาธิตการไหลของของไหล

ทดลองใช้ชุดสาธิตการไหลของของไหล

นาไปสาธิต
แผนภูมิที่ 3.3 การออกแบบและสร้างชุดสาธิตการไหลของของไหล

3.2.2.1 ศึกษาข้อมูล
ชุ ด สาธิ ต การไหลของของไหลจากดร.เสรี ศุ ภ ราทิ ต ย์ ห นั ง สื อ กลศาสตร์ ข องไหล (Fluid
Mechainics) สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยรังสิต ดร.สมศักดิ์ กีรวุฒิเศรษฐ์หนังสือการใช้
งานเครื่องมือวัด สานักพิมพ์สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย – ญี่ปุ่น) และผศ.ผ่งศรี ศิวราศักดิ์หนังสือ
กลศาสตร์ของไหลประยุกต์ (Applied Fluid Mechanic) สานักพิมพ์บริษัททริปเพิ้ล กรุ๊ปจากัด ที่เคยทา
มาและปัญหาที่เกิดจากการทาเลยนามาประดิฐขึ้นใหม่

3.2.2.1.1 ขนาดของอุปกรณ์ชุดสาธิตการไหลของของไหลต้นแบบจะต้องมีขนาดกะทัดรัด
มีความแข็งแรงและปลอดภัย รูปทรงของอุปกรณ์ของขุดสาธิตการไหลของของไหลจะต้องมีประสิทธิภาพ
3.2.2.1.2 ชนิดของวัสดุที่นามาสร้างชุดสาธิตการไหลของของไหล วัสดุที่นามาใช้ในการ
สร้าง จะต้องเป็นวัสดุที่มีคุณสมบัติเพียงพอที่สามารถนามาใช้สร้างชุดสาธิตได้อย่างเหมาะสม
3.2.2.2 เขียนแบบ
3.2.2.2.1 ออกแบบ และร่างแบบ
3.2.2.2.2 นาแบบร่า งของชุดสาธิ ตการไหลของของไหล เสนออาจารย์ ที่ปรึกษา แล้ ว
นามาปรับปรุงแก้ไข
3.2.2.3 เลือกวัสดุ เลือกวัสดุที่นามาใช้ในการสร้างชุดสาธิตการไหลของของไหลจากการศึกษา
ข้อมูลเบื้องต้นผู้วิจัยได้ดาเนินการสร้างชุดสาธิตการไหลของของไหลเพื่อใช้ในการสาธิต ผู้วิจัยได้เลือกใช้
อะคริลิค (Acrylic)
31

3.2.2.4 สร้างชุดสาธิตการไหลของของไหลโดยพิจารณาว่า ชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหลที่


สร้างขึ้นจะต้องตอบสนองวัตถุประสงค์ของการสร้างชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหลได้ครบ
3.2.2.5 ทดลองใช้ชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหลผู้วิจัยได้ดาเนินการทดลองใช้ชุดสาธิต อัตรา
การไหลของของไหล
3.2.2.5.1 นาเครื่องสาธิตอัตราการไหลของของไหลไปทดลองใช้ แล้วบันทึกผลการทดลอง
ใช้ ปัญหาที่เกิดขึ้น และข้อบกพร่องต่างๆ
3.2.2.5.2 นาผลการทดลองใช้ไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ และนาข้อเสนอแนะมาปรับปรุง
แก้ไขชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล
3.2.2.6 นาไปสาธิตนาไปสาธิตและให้ผู้เชี่ยวชาญประเมิน นาชุดสาธิตการไหลของของไหลไปใช้
ในการสาธิตการไหลของของไหล โดยการสาธิตให้ผู้เชี่ยวชาญดูแล้วให้ผู้เชี่ยวชาญประเมินความคิดเห็น
เกีย่ วกับคุณภาพของชุดสาธิตการไหลของของไหลโดยใช้แบบสอบถามแสดงความคิดเห็น

3.2.3 กำรสร้ำงเครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย
ผู้วิจัยได้ดาเนินการสร้างเครื่องมือในการวิจัย เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งมี
ขั้นตอนการสร้างแบบสอบถามดังต่อไปนี้
วิเคราะห์ลักษณะของข้อมูลที่ต้องการ

กาหนดรูปแบบของคาถาม

เขียนแบบสอบถามฉบับร่าง

ให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณา

ทดลองใช้และปรับปรุง

พิมพ์แบบสอบถามฉบับจริง

แผนภูมิที่ 3.4 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย


32

3.2.3.1 วิเคราะห์ลักษณะของข้อมูลที่ต้องการ
เป็นขั้นแรกของการสร้างแบบสอบถามก็คือทาการวิเคราะห์ลักษณะของข้อมูลที่ต้องการในการ
วิจัยโดยวิเคราะห์จากจุดประสงค์การวิจัย กาหนดโครงสร้างของเนื้อหาแบบสอบถามโดย แบ่งออกเป็น 3
ตอนคือ
ตอนที1่ เป็นข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญซึ่งเป็น
แบบเลือกตอบ
ตอนที2่ เป็นข้อมูลแบบสอบถามคิดเห็นแบบมาตรส่วนประมาณค่า โดยแบ่งออกเป็น 3 ระดับ
+1 หมายถึงแน่ใจว่าจุดประเมินวัดได้ตรงตามที่ระบุไว้จริง
0 หมายถึงไม่แน่ใจว่าจุดประเมินวัดได้ตรงตามที่ระบุไว้จริง
- 1 หมายถึงแน่ใจว่าจุดประเมินไม่ได้วัดได้ตรงตามที่ระบุไว้จริง
ตอนที3่ เป็นคาถามแบบปลายเปิดสาหรับผู้ตอบแบบสอบถาม แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมและให้
ข้อเสนอแนะต่างๆ
3.2.3.2 กาหนดรูปแบบของคาถาม ศึกษาวิธีการสร้างแบบสอบถามจากตารา หรืองานวิจัยอื่น
แล้วกาหนดรูปแบบของแบบสอบถาม
3.2.3.3 เขียนแบบสอบถามฉบับร่าง ลงมือเขียนแบบสอบถามฉบับร่าง ตามโครงสร้างของเนื้อหา
ของแบบสอบถาม และตามหลักในการสร้าง และรูปแบบที่กาหนดไว้
3.2.3.4 ให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณา นาแบบสอบถามไปให้ผู้เชี่ยวชาญในด้านที่จะศึกษา และด้าน
วัดผลพิจารณา ความถูกต้องของข้อคาถามแต่ละข้อ แล้วนาเอาข้อวิจารณ์เหล่านั้นมาพิจารณาแก้ไขให้
เหมาะสม
3.2.3.5 ทดลองใช้และปรับปรุงนาแบบสอบถามไปทดลองใช้กับผู้ที่มีลักษณะคล้ายกลุ่มตั วอย่าง
หรือกลุ่มประชากร จานวน 15 คน เพื่อพิจารณาความชัดเจนของข้อคาถามต่างๆ ปัญหาที่อาจจะพบ
ในขณะตอบ แล้วนาข้อวิจารณ์เหล่านั้นมาพิจารณาแก้ไขปรับปรุงแบบสอบถามให้เหมาะสม
3.2.3.6 พิมพ์แบบสอบถามฉบับจริง

3.2.4 กำรทดลองใช้และรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลการประเมินหาประสิทธิภาพของชุดสาธิตการไหลของของไหล
โดยผู้เชี่ยวชาญ มีขั้นตอนดังนี้
ผู้วิจัยและคณะเรียนเชิญผู้เชี่ยวชาญมาตรวจสอบชุดสาธิตการไหลของของไหล จานวน 15 ท่าน
ได้แก่
1. นายภูมินทร์ พุ่มทรัพย์ ผู้จัดการส่วนผลิต I-4/1
2. นายราชัย ชันมะเวส ผู้จัดการส่วนเพิ่มประสิทธิภาพ
33

3.นายบุญเลิศ ชัยมานิตย์ ShiftSupervisor


4.นายสีแก้ว เทพคาดี ผู้จัดการส่วนผลิต I-4/2
5. นายวีรพล แพงแก้ว วิศวกรเครื่องกล
6. นายวิบลู ย์ ศรสนิทชัย Unit Supervisor
7.นายประสิทธิ์ ศรีอินกิจ Unit Supervisor
8. นายกมล แก้วจา วิศวกรเครื่องกล
9. นายยุคล เมฆกระจาย Control Room Operator
10.นายวิริยะวัฒน์ พิทักษ์กิจเจริญ วิศวกรเครื่องมือวัดและควบคุม
11.นายณรรฐพล วิจิตรเฉลิมพงษ์ วิศวกรกระบวนการผลิต
12.นายณัฐพล เรืองรัศมี วิศวกรกระบวนการผลิต
13.นายเทพฌาน พรหมทอง วิศวกรเครื่องมือวัดและควบคุม
14.นายวัชระ แซ่โค้ว วิศวกรเคริ่องมือวัดและควบคุม
15.นายชิษณุพงศ์ มะโน วิศวกรเครื่องกล

โดยให้ผู้เชี่ยวชาญทาการตรวจสอบคุณภาพและประสิทธิภาพของชุดสาธิตอัตราการไหลของของ
ไหลและหาประสิทธิภาพ

3.2.5 กำรวิเครำะห์ข้อมูลและสรุปผล
การวิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผลการวิจัยได้ดาเนินการตามขั้นตอน ดังนี้
3.2.5.1 ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
เพื่อหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างผลที่ได้จากการทดลองกับค่าทางทฤษฎีจากผู้เชี่ยวชาญ
และเก็บรวบรวมข้อมูลโดยคิดเป็นค่าเฉลี่ย (IOC)
สถิติที่ใช้ในการคานวณ และวิเคราะห์ข้อมูล มีดังนี้

สูตร IOC = R
N

เมื่อ IOC = คือ ค่าดัชนีความสอดคล้องตามสมมติฐานของการวิจัย


R = คือ ค่าผลรวมของคะแนนจากผู้เชี่ยวชาญ
N = คือ จานวนผู้เชี่ยวชาญ
34

3.2.5.2 การวิเคราะห์ดาเนินการเป็นขั้นตอน ดังนี้


3.2.5.2.1 นาแบบสอบถาม และชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหลไปให้ผู้เชี่ยวชาญแต่
ละคนพิจารณาลงความคิดเห็นว่าจุดประเมินแต่ละข้อวัดได้ตรงตามที่ระบุไว้หรือไม่ โดยกาหนดคะแนน
ความคิดเห็นไว้ ดังนี้
+1 หมายถึง แน่ใจว่าจุดประเมินวัดได้ตรงตามที่ระบุไว้จริง
0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่าจุดประเมินวัดได้ตรงตามที่ระบุไว้จริง
- 1 หมายถึง แน่ใจว่าจุดประเมินไม่ได้วัดได้ตรงตามที่ระบุไว้จริง
3.2.5.2.2 บันทึกผลการพิจารณาลงความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเนื้อหาวิชาแต่ละคน ใน
แต่ละข้อแล้วหาคะแนนผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมดเป็นรายข้อแทนค่าสูตร
3.2.5.2.3 กาหนดคะแนนจุดตัด เพื่อที่จะหาค่าคะแนนที่ต่าที่สุดที่ยอมรับว่าแบบสอบถาม
สามารถวัดได้ตรงตามที่ระบุไว้ และเนื่องจากเกณฑ์การยอมรับนี้ต้องไม่เปลี่ยนแปลงไปตามจุดประเมิน
แต่ละข้อ ดังนั้นจึงกาหนดคะแนนจุดตัดเท่ากันหมดทุกข้อคือเท่ากับ 0.5
3.2.5.2.4 แปลความหมายดัชนีความสอดคล้องระหว่างชุดสาธิตอัตราการไหลของของ
ไหลกับจุดประเมิน ถ้าค่าดัชนีที่คานวณได้มากกว่า หรือเท่ากับ 0.5 แสดงว่า แน่ใจว่าจุดประเมินวัดได้
ตรงตามที่ระบุไว้จริง ถ้าค่าดัชนีที่คานวณได้น้อยกว่า 0.5 แสดงว่า แน่ใจว่าจุดประเมินไม่สามารถวัดได้
ตามที่ระบุไว้จริง
0.5หมายถึงมีประสิทธิภาพตรงตามจุดประเมินที่ตั้งไว้
< 0.5หมายถึงมีประสิทธิภาพไม่ตรงตามจุดที่ตั้งไว้ ต้องมีการปรับปรุง แก้ไข
3.2.5.2.5 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจ ตามความคิดเห็นของผู้
ทดสอบชุดสาธิตการไหลของของไหล สถิติที่ใช้ คือ คะแนนเฉลี่ย (mean , x ) และความเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (standard deviation , SD) ในการแปลความหมายของค่าเฉลี่ย ของการวิเคราะห์ข้อมูล
ได้วิเคราะห์ความหมายของค่าเฉลี่ยตามหลักการ ดังนี้

4.51 – 5.00 หมายความว่าความพึงพอใจตามความคิดเห็นของผู้ตอบแบบ


สอบถามอยู่ในระดับมากที่สุด
3.51 – 4.50 หมายความว่าความพึงพอใจตามความคิดเห็นของผู้ตอบแบบ
สอบถามอยู่ในระดับมาก
2.51 – 3.50 หมายความว่าความพึงพอใจตามความคิดเห็นของผู้ตอบแบบ
สอบถามอยู่ในระดับปานกลาง
1.51 – 2.50 หมายความว่าความพึงพอใจตามความคิดเห็นของผู้ตอบแบบ
สอบถามอยู่ในระดับน้อย
1.00 – 1.50 หมายความว่าความพึงพอใจตามความคิดเห็นของผู้ตอบแบบ
สอบถามอยู่ในระดับน้อยที่สุด
35

บทที่ 4

ผลการวิจัย

จากการดาเนินการตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ผู้จัดทาได้เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมดที่ได้จาก
การทดลอง และแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อชุดสาธิตการไหลของของไหล จานวน
15 ชุด แล้วนามาวิเคราะห์ข้อมูลว่าผู้เชี่ยวชาญมีความสอดคล้องกันในระดับใด โดยแสดงผลการวิเคราะห์
ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามความคิดเห็นในรูปของกราฟ และตารางประกอบคาบรรยายโดยแบ่งผล
การศึกษาออกเป็น 4 ตอน ดังนี้
1. การทดลองจากชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล
2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้เชี่ยวชาญ
3. ผลการวิเคราะห์ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญโดยแยกออกเป็นด้านต่าง ๆ
4. ผลการวิเคราะห์ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญโดยรวมต่อชุดสาธิตการไหลของของไหล

4.1 การทดลองจากชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล
4.1.1 การทดลองจากชุดสาธิตอัตราการ
จากสูตรสมการหาค่าทดลองการไหล
qm =

การคานวณหาค่าการไหลแบบปั่นป่วน โดยกาหนด Pressure 0.5 Kg/

จากสมการ qm =

แทนค่า 0.035 kg/s = 0.6×1×3.14×(0.019 × × 1000

X4

0.035 kg/s = ×

0.035 kg/s = 0.000739 ×


=

2000 =
36

2000 = 2244.138

= 1.122069 ( ใช้โปรแกรมแปลงหน่วยเป็น Kg/ )

ดังนั้น = 0.00001144 Kg/

จากสมการ = P1-P2 ( P1 = 0.5 Kg/ จากค่า Pressure Guage ที่กาหนด )

P2 = 0.5 – 0.00001144

P2 = 0.49988 Kg/

การคานวณหาค่าการไหลแบบปั่นป่วน โดยกาหนด Pressure 0.75 Kg/

จากสมการ qm =

แทนค่า 0.041666667 kg/s = 0.6×1×3.14×(0.019 × × 1000

X4

0.041666667 kg/s = ×

0.041666667 kg/s = 0.000739 ×

2000 =

2000 = 3179.037

=
37

= 1.589519 ( ใช้โปรแกรมแปลงหน่วยเป็น Kg/ )

ดังนั้น = 0.00001621 Kg/

จากสมการ = P1-P2 ( P1 = 0.75 Kg/ จากค่า Pressure Guage ที่


กาหนด )

P2 = 0.75 – 0.00001621

P2 = 0.74996 Kg/

การคานวณหาค่าการไหลแบบปั่นป่วน โดยกาหนด Pressure 1.0 Kg/

จากสมการ qm =

แทนค่า 0.046666667 kg/s = 0.6×1×3.14×(0.019 × × 1000

X4

0.046666667 kg/s = ×

0.046666667 kg/s = 0.000739 ×

=
2000 =

2000 = 3987.72

= 1.993860132 ( ใช้โปรแกรมแปลงหน่วยเป็น Kg/ )

ดังนั้น = 0.00002033 Kg/


38

จากสมการ = P1-P2 ( P1 = 1 Kg/ จากค่า Pressure Guage ที่กาหนด )

P2 = 1 – 0.00002033

P2 = 0.99974 Kg/

การคานวณหาค่าการไหลแบบปั่นป่วน โดยกาหนด Pressure 1.5 Kg/

จากสมการ qm =

แทนค่า 0.05833333 kg/s = 0.6×1×3.14×(0.019 × × 1000

X4

0.05833333 kg/s = ×

0.05833333 kg/s = 0.000739 ×

2000 =

2000 = 6230.83

= 3.115406456 ( ใช้โปรแกรมแปลงหน่วยเป็น Kg/ )

ดังนั้น = 0.00003176 Kg/

จากสมการ = P1-P2 ( P1 = 1.5 Kg/ จากค่า Pressure Guage ที่กาหนด )

P2 = 1.5 – 0.00003176
P2 = 1.49992 Kg/
39

การคานวณหาค่าการไหลแบบกึ่งราบเรียบกึ่งปั่นป่วน โดยกาหนด Pressure 0.5 Kg/

จากสมการ qm =

แทนค่า 0.08 kg/s = 0.6×1×3.14×(0.019 × × 1000

X4

0.08 kg/s = ×

0.08 kg/s = 0.001107 ×

2000 =

2000 = 999.633

= 0.499816802 ( ใช้โปรแกรมแปลงหน่วยเป็น Kg/ )

ดังนั้น = 0.00007223 Kg/

จากสมการ = P1-P2 ( P1 = 0.5 Kg/ จากค่า Pressure Guage ที่


กาหนด )

P2 = 0.5 – 0.00007223

P2 = 0.49998 Kg/
40

การคานวณหาค่าการไหลแบบกึ่งราบเรียบกึ่งปั่นป่วน โดยกาหนด Pressure 0.75 Kg/

จากสมการ qm =

แทนค่า 0.098888887 kg/s = 0.6×1×3.14×(0.019 × × 1000

X4

0.098888887 kg/s = ×

0.098888887 kg/s = 0.0001107 ×

2000 =

2000 = 1416.737

= 0.708368479 ( ใช้โปรแกรมแปลงหน่วยเป็น Kg/ )


ดังนั้น = 0.00007223 Kg/

จากสมการ = P1-P2 ( P1 = 0.75 Kg/ จากค่า Pressure Guage ที่


กาหนด )

P2 = 0.75 – 0.00007223

P2 = 0.74992 Kg/
41

การคานวณหาค่าการไหลแบบกึ่งราบเรียบกึ่งปั่นป่วน โดยกาหนด Pressure 1.0 Kg/

จากสมการ qm =

แทนค่า 0.1 kg/s = 0.6×1×3.14×(0.019 × × 1000

X4

0.1 kg/s = ×

0.1 kg/s = 0.0001107 ×

2000 =

2000 = 8160.274

= 4.080137158 ( ใช้โปรแกรมแปลงหน่วยเป็น Kg/ )


ดังนั้น = 0.00004161 Kg/

จากสมการ = P1-P2 ( P1 = 1 Kg/ จากค่า Pressure Guage ที่


กาหนด )

P2 = 1 – 0.00004161

P2 = 0.99958 Kg/
42

การคานวณหาค่าการไหลแบบกึ่งราบเรียบกึ่งปั่นป่วน โดยกาหนด Pressure 1.5 Kg/


จากสมการ qm =

แทนค่า 0.13333333 kg/s = 0.6×1×3.14×(0.019 × × 1000

X4

0.13333333 kg/s = ×

0.13333333 kg/s = 0.0001107 ×

2000 =

2000 = 14507.15

= 7.25357717 ( ใช้โปรแกรมแปลงหน่วยเป็น Kg/ )

ดังนั้น = 0.00007396 Kg/

จากสมการ = P1-P2 ( P1 = 1.5 Kg/ จากค่า Pressure Guage ที่


กาหนด )

P2 = 1.5 – 0.00007396

P2 = 1.49973 Kg/
43

การคานวณหาค่าการไหลแบบราบเรียบ โดยกาหนด Pressure 0.5 Kg/

จากสมการ qm =

แทนค่า 0.035 kg/s = 0.6×1×3.14×(0.019 × × 1000

X4

0.035 kg/s = ×

0.035 kg/s = 0.000739 ×

2000 =

2000 = 2244.138

= 1.122069 ( ใช้โปรแกรมแปลงหน่วยเป็น Kg/ )

ดังนั้น = 0.00001144 Kg/

จากสมการ = P1-P2 ( P1 = 0.5 Kg/ จากค่า Pressure Guage ที่


กาหนด )

P2 = 0.5 – 0.00001144

P2 = 0.49998 Kg/
44

การคานวณหาค่าการไหลแบบราบเรียบ โดยกาหนด Pressure 0.75 Kg/


จากสมการ qm =

แทนค่า 0.2333333 kg/s = 0.6×1×3.14×(0.019 × × 1000

X4

0.2333333 kg/s = ×

0.2333333 kg/s = 0.000739 ×

2000 =

2000 = 3179.037

= 1.589518522 ( ใช้โปรแกรมแปลงหน่วยเป็น Kg/ )

ดังนั้น = 0.00001620 Kg/

จากสมการ = P1-P2 ( P1 = 0.75 Kg/ จากค่า Pressure Guage ที่


กาหนด )

P2 = 1.5 – 0.00001620

P2 = 0.74998 Kg/
45

การคานวณหาค่าการไหลแบบราบเรียบ โดยกาหนด Pressure 1 Kg/

จากสมการ qm =

แทนค่า 0.27777778 kg/s = 0.6×1×3.14×(0.019 × × 1000

X4

0.27777778 kg/s = ×

kg/s = 0.000739 ×

2000 =

2000 = 141288.3

= 70.64413731 ( ใช้โปรแกรมแปลงหน่วยเป็น Kg/ )

ดังนั้น = 0.00002033 Kg/

จากสมการ = P1-P2 ( P1 = 1 Kg/ จากค่า Pressure Guage ที่


กาหนด )

P2 = 1 – 0.00002033

P2 = 0.99998 Kg/
46

การคานวณหาค่าการไหลแบบราบเรียบ โดยกาหนด Pressure 1.5 Kg/

จากสมการ qm =

แทนค่า 0.41666666 kg/s = 0.6×1×3.14×(0.019 × × 1000

X4

0.41666666 kg/s = ×

0.41666666 kg/s = 0.000739 ×

2000 =

2000 = 317898.6

= 158.949309 ( ใช้โปรแกรมแปลงหน่วยเป็น Kg/ )

ดังนั้น = 0.00003176 Kg/

จากสมการ = P1-P2 ( P1 = 1.5 Kg/ จากค่า Pressure Guage ที่


กาหนด )

P2 = 1.5 – 0.00003176

P2 = 0.49996 Kg/
47

ตารางที่ 4.1 การคานวณจากสูตรและผลการทดลองจากชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล

จากการคานวณจากสูตร จากการทดลองจากชุดสาธิตอัตราการไหล หมายเหตุ


ของของไหล
รูปแบบการไหล 0.5 0.75 1.0 1.5 0.5 0.75 1.0 1.5
Kg/ Kg/ Kg/ Kg/ Kg/ Kg/ Kg/ Kg/

การไหลแบบราบเรียบ 0.49998 0.74998 0.99998 1.49996 0.50 0.75 1.0 1.50

การไหลแบบปัน่ ป่วน 0.49988 0.74996 0.99974 1.49992 0.50 0.68 0.90 1.40

การไหลแบบกึ่ง
0.49998 0.74992 0.99958 1.49973 0.50 0.70 0.90 1.40
ราบเรียบกึ่งปั่นป่วน

จากกราฟแสดงผลเปรียบเทียบการคานวณจากสูตรและผลการทดลองจากชุดสาธิตอัตราการไหล

รูปที่ 4.1 กราฟแสดงผลเปรียบเทียบ


48

ข้อเสนอแนะ
ค่าจากการคานวณจากสูตรและค่าจากการทดลอง จากชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหลนั้นอาจจะ
คาดเคลื่อนผิดเปลี่ยนไปบ้างแต่อยู่ในค่าที่ใกล้เคียงกัน นั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบหลายๆอย่าง เช่น โครงสร้าง
ของชุดทดลองที่ มีขนาดจากัด ต่าแหน่งการติดตั้งของ Pressure Guageและตัวเกจวัดอ่านค่าของ
Pressure Guageบอกค่าไม่ละเอียด

4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้เชี่ยวชาญ
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้เชี่ยวชาญ ผู้ศึกษาได้แบ่งการวิเคราะห์ออกเป็น 3 ส่วนดังนี้
4.2.1 ระดับการศึกษาของผู้เชี่ยวชาญ

แผนภูมิที่ 4.1 ระดับการศึกษาของผู้เชี่ยวชาญ

จากแผนภูมิที่ 4.1 พบว่าผู้เชี่ยวชาญที่ใช้ในการประเมินคุณภาพของชุดสาธิตการไหลของของไหล


ระดับปริญญาโท จานวน 5 คน และลาดับรองลงมาเป็นระดับปริญญาตรี จานวน 10 คน ซึ่งถือได้ว่า
ผู้เ ชี่ย วชาญสามารถประเมิน คุ ณภาพของชุด สาธิ ตการไหลของของไหล โดยใช้วิ จ ารณญาณของ
ผู้เชี่ยวชาญได้เอง
49

4.2.2 ประสบการณ์ทางานของผู้เชี่ยวชาญ

ประสบการณ์ 3-5 ปี
14 %
ประสบการณ์ 10 ขึ้นไป
ประสบการณ์ 6-8 ปี
66 %
14 %

ประสบการณ์ 9-10ปี
6%

แผนภูมิที่ 4.2 ประสบการณ์ทางานของผู้เชี่ยวชาญ

จากแผนภูมิที่ 4.2 พบว่าผู้เชี่ยวชาญที่ใช้ในการประเมินคุณภาพของชุดสาธิตการไหลของของ


ไหล มีประสบการณ์ในการทางาน 3-5 ปี จานวน 2 คน มีประสบการณ์ในการทางาน 6-8 ปี จานวน 2
คน มีประสบการณ์ในการทางาน 9-10 ปี จานวน 1 คน และมีประสบการณ์ในการทางานมากกว่า 10 ปี
ขึ้นไป จานวน 10 คน ซึ่งถือได้ว่าผู้เชี่ยวชาญมีประสบการณ์อยู่ในเกณฑ์ที่ดี

4.2.3 ระดับอายุของผู้เชี่ยวชาญ

อายุ 50 ขึ้นไป
14 % อายุ 20-30 ปี
อายุ 41-50 ปี 26 %
40 %

อายุ 31-40 ปี
20 %

แผนภูมิที่ 4.3 ระดับอายุของผู้เชี่ยวชาญ


50

จากแผนภูมิที่ 4.3 พบว่าผู้เชี่ยวชาญที่ใช้ในการประเมินคุณภาพของชุดสาธิตการไหลของของไหล


มีอายุระหว่าง 20-30 ปี จานวน 4 คน มีอายุระหว่าง 31-40 ปี จานวน 3 คน มีอายุระหว่าง 41-50 ปี
จานวน 6 คนและอายุระหว่าง 50 ปีขึ้นไป จานวน 2 คนซึ่งถือได้ว่าผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด มีวัยวุฒิเพียงพอ
ในการประเมินคุณภาพของชุดสาธิตการไหลของของไหล

4.3 ผลการวิเคราะห์ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญโดยแยกออกเป็นด้านต่าง ๆ
4.3.1 ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญในด้านวัตถุประสงค์เพื่อสร้างของชุดสาธิตการไหลของของไหล
ระดับความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ

รูปที่ 4.2 แสดงค่า IOC ระดับความเห็นของผู้เชี่ยวชาญด้านวัตถุประสงค์เพื่อสร้างชุดสาธิตการไหลของ


ของไหล

จากรูปที่ 4.2 พบว่าผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคล้องกันในด้านวัตถุประสงค์เพื่อสร้างชุดสาธิตการ


ไหลของของไหล โดยผลการตอบแบบสอบถามของผู้เชี่ยวชาญมีค่า IOC อยู่ในระดับเกินกว่า 0.6 ได้แก่
ความเหมาะสมในการใช้วัสดุ , มีขนาดและน้าหนักเหมาะสม,ความแข็งแรงของวัสดุในการออกแบบ,
ความปลอดภัยในการใช้งาน, ความสะดวกในการเคลื่อนย้าย,ความเหมาะสมในการออกแบบ, ด้านความ
ทันสมัยสอดคล้องกับสภาพปัจจุบันนั้นเป็นเครื่องมือที่ออกแบบขึ้นมาใหม่ และคู่มือประกอบการใช้งานมี
ความชัดเจน มีค่า IOC อยู่ในระดับ สูงกว่า 0.6 ซึ่งค่า IOC โดยรวมอยู่ในระดับ 0.85 ซึ่งหมายความว่า
ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคล้องกันว่าค่าดัชนีมีความสอดคล้องกันตามสมมติฐานของการทาโครงงาน
อยู่ในระดับดี
51

4.3.2 ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญในด้านวัตถุประสงค์เพื่อนาไปสาธิตการไหลของของไหล

ระดับความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ

รูปที่ 4.3 แสดงค่า IOC ระดับความเห็นของผู้เชี่ยวชาญในด้านวัตถุประสงค์นาไปสาธิตการไหล

จากรูปที่ 4.3 พบว่าผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคล้องกันในด้านวัตถุประวัตถุประสงค์เพื่อ นาไป


สาธิตการไหลของของไหล โดยผลการตอบแบบสอบถามของผู้เชี่ยวชาญมีค่า IOC อยู่ในระดับ เกินกว่า
0.6 ซึ่งหมายความว่าผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคล้องกันว่าค่าดัชนีมีความสอดคล้องกันตามสมมติฐาน
ของการทาโครงงาน อยู่ในระดับดี

4.4 ผลการวิเคราะห์ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญโดยรวมต่อชุดสาธิตการไหลของของไหล

หลังจากผู้เชี่ยวชาญได้ประเมินคุณภาพของชุดสาธิตการไหลของของไหลโดยใช้แบบสอบถามผล
การประเมิน เป็นดังนี้

ตารางที่ 4.2 ผลการประเมินชุดสาธิตการไหลของของไหลโดยผู้เชี่ยวชาญ 15 ท่าน ทั้ง 12 จุด ประเมิน

จานวนผู้เชีย่ วชาญ
จุด
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 Sum IOC
ประเมิน
1.1 +1 +1 +1 +1 0 +1 0 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 13 0.87
1.2 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 +1 +1 +1 0 +1 +1 13 0.87
1.3 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 13 0.87
1.4 +1 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 0 +1 +1 +1 +1 +1 0 12 0.80
1.5 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 +1 +1 +1 +1 14 0.93
1.6 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 +1 0 +1 +1 13 0.87
1.7 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 +1 0 +1 13 0.87
1.8 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 +1 0 +1 +1 +1 +1 +1 0 12 0.80
2.1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 0 +1 +1 +1 13 0.87
2.2 0 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 0 +1 +1 +1 +1 +1 +1 12 0.80
2.3 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 +1 0 0 0 +1 +1 +1 +1 11 0.73
2.4 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 +1 14 0.93
52

จากตารางที่ 4.2 ผลการประเมินของผู้เชี่ยวชาญ จานวน 15 ท่าน ที่ทาการประเมินชุดสาธิตการ


ไหลของของไหล ทั้ง 12 จุดประเมินตามแบบสอบถามที่ผู้จัดทาได้ทาขึ้น และได้ผลการประเมิน ดังนี้

ตารางที่ 4.3 ผลการประเมินของผู้เชี่ยวชาญโดยรวมต่อชุดสาธิตการไหลของของไหล

จุดประเมิน IOC
1 0.87
2 0.87
3 0.87
4 0.80
5 0.93
6 0.87
7 0.87
8 0.80
9 0.87
10 0.80
11 0.73
12 0.93

IOC =  = 0.85
R
N

จากการประเมินของผู้เชี่ยวชาญของชุดสาธิตการไหลของของไหลโดยรวมที่ได้จากการประเมิ น
ทั้งหมด 12 จุดประเมิน ได้ค่า IOC เท่ากับ 0.85 แสดงให้เห็นว่าผู้เชี่ยวชาญทั้ง 15 ท่าน มีความเห็น
สอดคล้องกันว่าชุดสาธิตการไหลของของไหลมีคุณภาพ และประสิทธิภาพสาธิตการไหลของของไหล
สามารถนาไปใช้ได้ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพราะค่า IOC ของจุดประเมินเท่ากับ 0.85 ซึ่งเกณฑ์
ดังกล่าวนี้ ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคล้องกันว่าสามารถนาไปใช้งานได้ตามวัตถุประสงค์ และเป็นไป
ตามสมมุติฐานของการวิจัย
40

บทที่ 5

สรุปผล อภิปรายและข้อเสนอแนะ

การศึกษาวิจัย เรื่ องชุดสาธิตการไหลของของไหลมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในสาธิตการไหลของของ


ไหลโดยที่การสาธิตการไหลของของไหลได้ค่าตามต้องการและสามารถนาไปใช้ศึกษาการไหลของไหล
และนาค่าคานวณจากสูตรไปใช้เป็นสื่ อการเรียนการสอนสาหรับผู้ที่สนใจได้ ซึ่งมีการตั้งสมมติฐานว่า
ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญมีความสอดคล้องกันในด้านคุณภาพของชุดสาธิตการไหลของของไหลโดย
ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการประเมินความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งแบบสอบถามเป็นประมาณ
ค่า 3 ระดับ ซึ่งระดับความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญมีค่า IOC เท่ากับ 0.85ซึ่งถือได้ว่า ผู้เชี่ยวชาญมีความ
คิดเห็นสอดคล้องกัน ในด้านคุณภาพของชุดสาธิตการไหลของของไหลสาหรับการวิจัยครั้ งนี้ผู้จัดทา
สามารถสรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ ดังนี้

5.1 สรุปผลการวิจัย
ข้อมูลจากแบบสอบถามความเห็นที่ได้ประเมิน โดยผู้เชี่ยวชาญ จานวน 15ท่าน ซึ่งผู้เชี่ยวชาญได้
มีความคิดเห็นต่อชุดสาธิตการไหลของของไหลและผลจากการวิจัยโดยผู้จัดทาสามารถแยกสรุปผลการ
ประเมินความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญและผลจากการวิจัยออกเป็นประเด็นต่างๆได้ดังนี้
5.1.1 ผลจากการวิจัยและศึกษารูปแบบของของไหลภายในท่อทาให้ได้เห็นรูปแบบการไหลแบบ
Lamina Flow แบบ Transition Flow และ แบบ Turbulence Flow มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5.1.2 ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญในด้านวัตถุ ประสงค์เพื่อสร้างชุดสาธิตการไหลของของไหล
ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคล้องกั นว่า ความเหมาะสมในการใช้วัสดุ , มีขนาดและน้าหนักเหมาะสม
,ความแข็งแรงของวัสดุในการออกแบบ,ความปลอดภัยในการใช้งาน,ความสะดวกในการเคลื่อนย้าย
,ความเหมาะสมในการออกแบบ, มีความทันสมัยสอดคล้องกับสภาพปั จจุบัน, เป็นเครื่องมือที่ออกแบบ
ขึ้นมาใหม่ และคู่มือประกอบการใช้งานมี ความชัดเจน ในระดับค่า IOC เท่ากับ 0.85ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่
กาหนดไว้
5.1.3 ความคิ ด เห็น ของผู้เ ชี่ย วชาญในด้ า นวั ตถุป ระสงค์ เ พื่ อน าไปสาธิ ตการไหลของของไหล
ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นว่ า ชุดสาธิตการไหลของของไหลมีความสามารถในการสาธิตการไหลของของ
ไหล มีขั้นตอนการสาธิตการไหลของของไหลที่เข้าใจได้ง่าย และสามารถสาธิตการไหลได้ตามต้องการ
และสอดคล้องกันในทุกจุดประเมิน ในระดับค่า IOC เท่ากับ 0.85ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่กาหนดไว้
5.1.4 ผลจากการวิจัยทาให้ได้ศึกษาการทางานของระบบไฟฟ้า ControlON-OFF วาล์วจะเปิดหรือ
ปิดอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อควบคุมอัตราการไหลเข้า-ออกของน้าและเพื่อรักษาระดับน้าให้คงที่
5.1.5 ผลจากการวิจัยทาให้ได้ทราบถึงปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดการไหล เช่น อุณหภูมิความหนืด
ของน้าแรงดันของน้า,พื้นที่หน้าตัดของขนาดท่อ ,Pipe,Orifice,Ventureสิ่งเหล่านี้มีผลต่อรูปแบบการไหล
54

5.1.6 ผลการวิจัยทาให้สามารถนามาเป็นสื่อการเรียนสาหรับพนักงานที่เข้าใหม่ เพื่อจะได้เห็น


รูปแบบการไหลได้ชัดเจนยิ่งขึ้น เพราะในโรงงานนั้นไม่สามารถเห็นรูปแบบการไหลได้และจะได้รู้รูปแบบ
การทางานของรูปแบบการไหลเพราะระบบการทางานนั้นจะใช้รูปแบบการไหลที่แตกต่างกัน

5.2 อภิปรายผล
ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มี ต่อชุดสาธิตการไหลของของไหลเพื่อใช้ในการสาธิตการไหลของ
ไหล ส่วนใหญ่มีความเห็นสอดคล้องกันว่าชุดสาธิตการไหลของของไหลมีคุณภาพ สามารถนาไปใช้สาธิต
การไหลและศึกษาได้จริง เฉลี่ยแล้วมีความคิดเห็นว่าชุดสาธิตการไหลของของไหลมีคุณภาพ แน่ใจว่าจุด
ประเมินวัดวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ได้จริง และสามารถอภิปรายผลประเด็นที่ผู้เชี่ยวชาญแน่ใจว่าจุดประเมิน
วัดวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ได้จริง และไม่แน่ใจว่าจุดประเมินวัดวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ได้จริง ดังนี้
5.2.1 จุดประเมินที่ผู้เชี่ยวชาญแน่ใจว่าจุดประเมินวัดวัตถุประสงค์ทั้งไว้ได้จริง คือจุดประเมินความ
เหมาะสมในการใช้วัสดุ ขนาดและน้าหนักเหมาะสม ความเหมาะสมในการออกแบบ ความแข็งแรงของ
วัสดุในการออกแบบ ความสะดวกในการเคลื่อนย้าย มีความทันสมัยสอดคล้องกับสภาพปัจจุบันเป็น
เครื่องมือที่ออกแบบขึ้นมาใหม่ และคู่มือประกอบการใช้งาน มีความชัดเจนซึ่งอาจเป็นเพราะว่า ชุดสาธิต
การไหลของของไหลมีการเลือกใช้วัสดุที่เหมาะสมกับสภาพการใช้งาน ขนาดและน้าหนักเหมาะสม ใช้
งานได้ง่าย และมีประสิทธิภาพในการใช้งานสูง
5.2.2 จุดประเมินที่ผู้เชี่ยวชาญไม่แน่ใจว่าจุดประเมินวัดวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ได้จริง คือจุดประเมิน
ที่ บ อกถึ ง ความปลอดภั ย ในการใช้ ง าน ซึ่ ง อาจเป็ น เพราะว่ า การออกแบบความปลอดภั ย ของท่ อ
อะคริลิคทนต่อ Pressure ที่สูงขึ้น

5.3ข้อเสนอแนะ
5.3.1 การใช้ ชุดสาธิตการไหลของของไหลผู้ที่ใช้ ชุดสาธิตการไหลของของไหลควรมีความรู้
ทางด้านรูปแบบการไหล
5.3.2 ควรใส่สีผสมอาหารลงไปในน้าของชุดการสาธิตการไหล (ก่อนใส่สีผสมอาหารลงไปที่ ชุด
สาธิตการไหลของของไหลควรจะใช้ผ้ากรองสีผสมอาหารกรองตระกอนสีออกก่อนเพื่อป้องกันเศษสีไปอุด
ตันที่ Filter ของ Pump)เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของรูปแบบการไหลให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
55

เอกสารอ้างอิง

ดร. เสรี ศุภราทิตย์. หนังสือกลศาสตร์ของไหล ( Fluid Mechainics ) สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรังสิต


มหาวิทยาลัยรังสิต
ดร.สมศักดิ์ กีรวุฒิเศรษฐ์ หนังสือการใช้งานเครื่องมือวัด สานักพิมพ์สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี ( ไทย –
ญี่ปุ่น )
ผศ. ผ่งศรี ศิวราศักดิ์ หนังสือกลศาสตร์ของไหลประยุกต์ ( Applied Fluid Mechanics ) สานักพิมพ์
บริษัททริปเพิ้ล กรุ๊ป จากัด
51

ภาคผนวก
57

ภาคผนวก ก
ภาพประกอบการสร้างชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล
58

รูปที่ ก. 1 แสดงรูปชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล
59

รูปที่ ก. 2 แสดงรูปโครงสร้างชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล

รูปที่ ก. 3 แสดงรูปวาล์ว
60

รูปที่ ก. 4 แสดงรูป PRESSURE GAUGE

รูปที่ ก. 5 แสดงรูปหน้าแปลนของท่อ

รูปที่ ก. 6 แสดงรูปหน้าแปลน Venture


61

รูปที่ ก. 7 แสดงรูปหน้าแปลน Orifice

รูปที่ ก. 8 แสดงรูป Diaphragm Valve


62

รูปที่ ก. 9 แสดงรูปThermometer

รูปที่ ก. 10 แสดงรูปท่อ Rota Meter

รูปที่ ก. 11 แสดงรูปท่อ Check Valve


63

รูปที่ ก. 12 แสดงรูปถังน้า

รูปที่ ก. 13 แสดงรูปCentrifugal Pump

รูปที่ ก. 14 แสดงรูปชุด Control


64

ภาคผนวก ข
รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ
65

รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ

ผู้เชี่ยวชาญที่ใช้ในการประเมินคุณภาพของชุดสาธิตการไหลของของไหล มีรายชื่อดังต่อไปนี้

รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ ข้อมูลของผู้เชี่ยวชาญ
1. นาย ภูมินทร์ พุ่มทรัพย์ อายุ 52 ปี
ระดับการศึกษา ปริญญาโท
ตาแหน่ง ผู้จัดการส่วนผลิต I-4/1
สถานที่ทางานบริษัท PTT Global Chemical Plc.
ประสบการณ์การทางาน 28 ปี
2. นาย ราชัย ชันมะเวส อายุ 52 ปี
ระดับการศึกษา ปริญญาโท
ตาแหน่ง ผู้จัดการส่วนเพิ่มประสิทธิภาพ
สถานที่ทางานบริษัท PTT Global Chemical Plc
ประสบการณ์การทางาน 28 ปี
3. นาย บุญเลิศ ชัยมานิตย์ อายุ 50 ปี
ระดับการศึกษา ปริญญาตรี
ตาแหน่ง Shift Supervisor
สถานที่ทางานบริษัท PTT Global Chemical Plc.
ประสบการณ์การทางาน 27 ปี
4. นาย สีแก้ว เทพคาดี อายุ 50 ปี
ระดับการศึกษา ปริญญาโท
ตาแหน่ง ผู้จัดการส่วนผลิต I-4/2
สถานที่ทางานบริษัท PTT Global Chemical Plc
ประสบการณ์การทางาน 26 ปี
5. นาย วีรพล แพงแก้ว อายุ 47 ปี
ระดับการศึกษา ปริญญาตรี
ตาแหน่ง วิศวกรเครื่องกล
สถานที่ทางานบริษัท PTT ME Co., Ltd
ประสบการณ์การทางาน 23
66
รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ ข้อมูลของผู้เชี่ยวชาญ
6. นาย วิบูลย์ ศรสนิทชัย อายุ 44 ปี
ระดับการศึกษา ปริญญาตรี
ตาแหน่ง Unit Supervisor
สถานที่ทางานบริษัท PTT Global Chemical Plc
ประสบการณ์การทางาน 21 ปี
7. นาย ประสิทธิ์ ศรีอินกิจ อายุ 42 ปี
ระดับการศึกษา ปริญญาตรี
ตาแหน่ง Unit Supervisor
สถานที่ทางานบริษัท PTT Global Chemical Plc
ประสบการณ์การทางาน 20 ปี
8. นาย นาย กมล แก้วจา อายุ 42 ปี
ระดับการศึกษา ปริญญาตรี
ตาแหน่ง วิศวกรเครื่องกล
สถานที่ทางานบริษัท PTT ME Co., Ltd
ประสบการณ์การทางาน 19 ปี
9. นาย ยุคล เมฆกระจาย อายุ 40 ปี
ระดับการศึกษา ปริญญาตรี
ตาแหน่ง Control Room Operator
สถานที่ทางานบริษัท PTT Global Chemical Plc.
ประสบการณ์การทางาน 18 ปี
10. นาย วิริยะวัฒน์ พิทักษ์กิจเจริญ อายุ 35 ปี
ระดับการศึกษา ปริญญาตรี
ตาแหน่ง วิศวกรเครื่องมือวัดและควบคุม
สถานที่ทางานบริษัท PTT ME Co., Ltd
ประสบการณ์การทางาน 11 ปี
67
รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ ข้อมูลของผู้เชี่ยวชาญ
11. นาย ณรรฐพล วิจิตรเฉลิมพงษ์ อายุ 32 ปี
ระดับการศึกษา ปริญญาโท
ตาแหน่ง วิศวกรกระบวนการผลิต
สถานที่ทางานบริษัท PTT Global Chemical Plc
ประสบการณ์การทางาน 9 ปี
12. นาย ณัฐพล เรืองรัศมี อายุ 30 ปี
ระดับการศึกษา ปริญญาโท
ตาแหน่ง วิศวกรกระบวนการผลิต
สถานที่ทางานบริษัท PTT Global Chemical Plc
ประสบการณ์การทางาน 7 ปี
13. นาย เทพฌาน พรหมทอง อายุ 29 ปี
ระดับการศึกษา ปริญญาตรี
ตาแหน่ง วิศวกรเครื่องมือวัดและควบคุม
สถานที่ทางานบริษัท PTT ME Co., Ltd
ประสบการณ์การทางาน 7 ปี
14. นาย วัชระ แซ่โค้ว อายุ 29 ปี
ระดับการศึกษา ปริญญาตรี
ตาแหน่ง วิศวกรเครื่องมือวัดและควบคุม
สถานที่ทางานบริษัท PTT ME Co., Ltd
ประสบการณ์การทางาน 5 ปี
15. นาย ชิษณุพงศ์ มะโน อายุ 28 ปี
ระดับการศึกษา ปริญญาตรี
ตาแหน่ง วิศวกรเครื่องกล
สถานที่ทางานบริษัท PTT ME Co., Ltd
ประสบการณ์การทางาน 5 ปี
67

ภาคผนวก ค
แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่ใช้ในการประเมิน
ประสิทธิภาพของชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล
68

รายนามผู้เชี่ยวชาญ

ชื่อ นาย _____________________ สกุล _____________________ อายุ ____________ ปี


สถานที่ทางาน _____________________________________________________________
ตาแหน่ง _________________________________________________________________
วุฒิการศึกษา ______________________________________________________________
สาขาที่จบ ________________________________________________________________
ความรู้เชี่ยวชาญด้าน ______________________________ ประสบการณ์ _____________ ปี
69

แบบสอบถาม

เรื่อง การสร้างและหาประสิทธิภาพชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล

คาชี้แจง แบบสอบถามนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินคุณภาพของชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล
แบบสอบถามนี้จะให้ผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ตอบ และนาข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการวิจัยเท่านั้น
กรุณาอ่านและตอบคาถามตามสภาพ หรือความเห็นที่แท้จริง

ตอนที่ 1 ข้อมูลของผู้เชี่ยวชาญ
คาชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย / ลงใน ที่ตรงกับความจริงมากที่สุด

1.อายุ
20 – 30 ปี 31 – 40 ปี
41 – 50 ปี 50 ปีขึ้นไป

2. ระดับการศึกษา
ต่ากว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี
สูงกว่าปริญญาตรี อื่นๆ ----------------------

3. ประสบการณ์ทางด้านการปฏิบัติงาน
5 – 6 ปี 7 – 8 ปี
9 – 10 ปี 10 ปีขึ้นไป
70

แบบประเมินความสอดคล้องของการใช้ชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล

ตอนที่ 2 ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญต่อชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล

คาชี้แจง โปรดแสดงความคิดเห็นของท่านที่มีต่อชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล
โปรดพิจารณาว่าจุดประเมินแต่ละหัวข้อต่อไปนี้ วัดตรงตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ระบุไว้หรือไม่ แล้ว
วัดผลการพิจารณาของท่าน โดยทาเครื่องหมาย ( / ) ลงในช่องคะแนนที่พิจารณาตามความเห็นของท่าน

คะแนนการพิจารณา
ช่อง +1 หมายถึง แน่ใจว่าจุดประเมินวัดได้ตรงตามที่ระบุไว้จริง
ช่อง 0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่าจุดประเมินวัดได้ตรงตามที่ระบุไว้จริง
ช่อง -1 หมายถึง แน่ใจว่าจุดประเมินไม่ได้วัดได้ตรงตามที่ระบุไว้จริง

แบบประเมินความสอดคล้องของผู้เชี่ยวชาญ

วัตถุประสงค์ จุดประเมิน คะแนนการพิจารณา


+1 0 -1

1. เพื่อสร้างชุดสาธิตอัตรา 1.1 ความเหมาะสมในการเลือกใช้วัสดุทา


การไหลของของไหล
1.2 ชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล มีขนาด
และน้าหนัก เหมาะสม
1.3 ความแข็งแรงของวัสดุในการออกแบบ ชุดสาธิต
อัตราการไหลของของไหล
1.4 ความปลอดภัยในการใช้งาน

1.5 ความสะดวกในการเคลื่อนย้าย ชุดสาธิตอัตรา


การไหลของของไหล
71

วัตถุประสงค์ จุดประเมิน คะแนนการพิจารณา

+1 0 -1
1.6 ความเหมาะสมในการออกแบบ ชุดสาธิตอัตรา
การไหลของของไหล
1.7 มีความทันสมัยสอดคล้องกับสภาพปัจจุบัน

1.8 เป็นชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหลที่
ออกแบบขึ้นมาใหม่

2.เพื่อนาไปหาประสิทธิ 2.1สาธิตการไหลได้ตามวัตถุประสงค์
ภาพในการสาธิตการ 2.2 มีความสามารถในการสาธิตการไหลได้
ไหลของของไหล ตามทีต่ ้องการหรือไม่
2.3มีขั้นตอนในการสาธิตการไหลที่เข้าใจง่าย

2.4 คู่มือประกอบการใช้งานชุดสาธิตอัตราการไหล
ของของไหลมีความชัดเจน

ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ลงชื่อ ------------------------------------
( ---------------------------------------- )
72

ภาคผนวก ง

แบบชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล
73

แบบ Drawing ด้านหน้าชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล


74

แบบDrawing
แบบ Drawingด้าด้นหลั
านหลังชุงดชุสาธิ
ดสาธิตอัตตอัราการไหลของของไหล
ตราการไหลของของไหล
75

แบบโครงสร้างชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล
76

แบบโครงสร้างด้านล่างชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล
77

แบบโครงสร้างด้านบนชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล
78

ภาคผนวก จ

คู่มือการใช้งานชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล
79

คู่มือการใช้งาน

เครื่องชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล
80

1. หลักการเกี่ยวกับการใช้งานเชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล
การเดิ นระบบและใช้งานชุดสาธิตการไหลของของไหลมีรายละเอียดดังที่จะนาเสนอต่อไป ซึ่ง
สามารถสรุปเป็นขั้นตอนได้ดังต่อไปนี้

การใช้งานชุดสาธิตการไหลของขอลงไหล

จัดเตรียมระบบ

เติมของไหลเข้าสู้ระบบ(น้า)

เตรียม Line ที่จะทาการสาธิต ของไหลในท่อจะ


เปลี่ยนไปตามอุปกรณ์
ของไหลหมุนเวียนในระบบ ที่ไหลผ่าน
Pipe,Orifice,Venture

การตรวจสอบค่า แรงดัน อัตราการไหล ลักษณะของการไหล

ทาความสะอาดอุปกรณ์
81

16
13
7 8

6 17 9
14

5 10

18
15
4 11

12
3

1 2

1.ถังน้า 7.Pressure Gauge 1 13.Flange


2.Centrifugal Pump 8.Thermometer 14.Orifice
3.Check Valve 9.Gate Valve 1 15.Venture
4.Diaphragm Valve 1 10.Gate Valve 2 16.Pressure Gauge 2
5.Diaphragm Valve 2 11.Gate Valve 3 17.Pressure Gauge 3
6.Diaphragm Valve 3 12.Rota Meter 18.Pressure Gauge 4
82

1.1 เติมน้าใส่ถังประมาณ17ลิตร 1 ( ควรเป็นน้าที่สะอาด )


10 11
1.2 เตรียมระบบ Gate Valve ทุกตัวจะต้องอยู่ต่าแหน่งเปิด 9

1.3 Diaphragm Valve ทุกตัวอยู่ในต่าแหน่งปิด 4 5 6


1.4 1.4 เตรียมปลั๊กไฟสาหรับใช้เสียบ Start Pump 2 และชุดควบคลุม Diaphragm Valve
โดยใช้กระแสไฟฟ้า220โวลล์
1.5 On ไฟฟ้าบนชุดควบคลุมและ Start Pumpน้าเดินหมุนเวียนในระบบโดยผ่าน Main Flow
Pumpกลับเข้าถังน้า
1.6 เริ่มทาการทดลองชุดสาธิตการไหลโดยขึ้นอยู่กับผู้ทดลองจะเลือกทดสอบระบบท่อไหนก่อน
ก็ได้ขึ้นอยู่กับการเปิด Diaphragm Valve
1.7 เลือกระบบทดสอบได้แล้วและทาการเปิดDiaphragmValveของระบบท่อที่จะทาการทดสอบ
และตรวจสอบค่า แรงดัน อัตราการไหลและลักษณะการไหลภายในท่อ 12 16 17 18

1.8 ของไหลภายในท่อจะเปลี่ยนไปตามอุปกรณ์ที่ไหลผ่าน Pipe, Orifice, Venture จะเป็น


ตัวกาหนด 13 14 15

1.9 สามารถทดลองชุดสาธิตการไหลของของไหลได้เรื่อยๆตามความต้องการของผู้ทดลอง
1.10ถ้าเลิกทาการทดลองให้ทาการStopPumpและทาการกดปุ่มEmergencyและดึงปลั๊กไฟออก 2
1.11ถ้าต้องการเริ่มทดลองชุดสาธิตการไหลใหม่ให้ทาตามขั้นตอนเหมือนเดิม

2. ส่วนประกอบของชุดสาธิต
ส่วนประกอบของวัสดุและอุปกรณ์ในการสร้างชุดสาธิตการไหลของของไหลมีรายละเอียดดังนี้
2.1 ถังพลาสติก ขนาด 20 ลิตร 1 ถัง
2.2 Centrifugal Pump
2.3 ท่ออะคริลิคใส มีขนาดความหนาของท่อ 3 มิลลิเมตร น้าหนักเบา และความยืดหยุ่นสูง
2.4 เครื่องวัดแรงดัน (PRESSURE GAUGE) 4 ตัว
2.5 เครื่องวัดอัตราการไหล (Rota meter)
2.6 Gate Valve 3 ตัว
2.7 Diaphragm Valve 3 ตัว
2.8 Orifice 1 อัน
2.9 Venture 1 อัน
2.10 Ball Valve 2 ตัว
2.11 Check Valve 1 ตัว
2.12 อุปกรณ์วัดอุณหภูมิ 1ตัว
83

ประวัติผู้เขียน
84

ประวัติผู้เขียน

ชื่อ : นาย กุญชร ศรีพนิ ิจ


ปริญญานิพนธ์ : ชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล
สาขา : เทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม
ประวัติการศึกษา : มัธยมศึกษา โรงเรียนระยองวิทยาคม อ.เมือง จ.ระยอง
: ปวช. วิทยาลัยเทคนิคระยอง อ.เมือง จ.ระยอง
: ปวส. วิทยาลัยเทคนิคระยอง อ.เมือง จ.ระยอง
สถานที่ทางาน : บริษัท PTT Global Chemical Plc
85

ประวัติผู้เขียน

ชื่อ : นาย รัตติกาล มหาเจริญ


ปริญญานิพนธ์ : ชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล
สาขา : เทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม
ประวัติการศึกษา : มัธยมศึกษา โรงเรียนวัดป่าประดู่ จ.ระยอง
: ปวช. เทคโนโลยี IRPC อ.เมือง จ.ระยอง
: ปวส. เทคโนโลยี IRPC อ.เมือง จ.ระยอง
สถานที่ทางาน : บริษัท PTT ME Co., Ltd
86

ประวัติผู้เขียน

ชื่อ : นางสาวญาณิศา เกี่ยวพันธ์


ปริญญานิพนธ์ : ชุดสาธิตอัตราการไหลของของไหล
สาขา : เทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม
ประวัติการศึกษา : มัธยมศึกษา โรงเรียนระยองวิทยาคมปากนา อ.เมือง จ.ระยอง
: ปวช. วิทยาลัยเทคนิคระยอง อ.เมือง จ.ระยอง
: ปวส. วิทยาลัยเทคนิคระยอง อ.เมือง จ.ระยอง
สถานที่ทางาน : บริษัทยูนิตี อินดัสเตรียล จากัด
87

You might also like