66LAB-04

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 18

Physics Laboratory II

ปฏิบัติการฟิ สิกส์ 2

LAB 3
วงจรเทเวนินและนอร์ตนั

ปรับปร ุง 2/2562
Page 1
Physics Laboratory II
ปฏิบัติการฟิ สิกส์ 2

1. จุดประสงค์
1. เพื่อให้สามารถทําการวัดแรงดัน ความต้านทาน กระแสไฟฟ้ าของวงจรเทเวนินและนอร์ตนั ได้
2. เพื่อให้เข้าใจทฤษฎีของเทเวนินและนําไปใช้ในการแก้ปัญหาวงจรไฟฟ้ าได้
3. เพื่อให้เข้าใจทฤษฎีของนอร์ตนั และนําไปใช้ในการแก้ปัญหาวงจรไฟฟ้ าได้
2. อ ุปกรณ์
1. แหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสตรง
2. มัลติมิเตอร์แบบดิจิตอล
3. โฟโต้บอร์ด
4. ตัวต้านทานขนาดค่าต่าง ๆ
5. สายไฟ
3. ทฤษฎี
ทฤษฎีของเทเวนิน
ทฤษฎีของเทเวนิน (Thevenin’s Theorem) กล่าวไว้ว่า “ในวงจรไฟฟ้ าแบบเชิงเส้น (Linear Circuit)
ใดๆ ที่มีแหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้ าต่ออยู่ดว้ ย สามารถยุบหรือรวมวงจรให้อยู่ในรูปของแหล่งจ่ายแรงดัน
เที ย บเคี ย งเทเวนิ น (Thevenin’s Voltage Source : VTh) เพี ย งแหล่ ง จ่ า ยเดี ย วได้ ต่ อ อนุก รมกั บ ความ
ต้านทานเทียบเคียงเทเวนิน (Thevenin’s Resistance : RTh) 1 ตัว โดยมีปลาย 2 ขัว้ ต่อกับโหลดภายนอก”
เรียกว่า วงจรเทียบเคียงเทเวนิน (Thevenin’s Equivalent Circuit) ดังรูป

รูปวงจรเทียบเคียงเทเวนิน

ปรับปร ุง 2/2562
Page 2
Physics Laboratory II
ปฏิบัติการฟิ สิกส์ 2

ขัน้ ตอนการแก้ปัญหาวงจรไฟฟ้าด้วยทฤษฎีของเทเวนิน
การแก้ปัญหาวงจรไฟฟ้ าเพื่อหากระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านโหลดโดยใช้ทฤษฎีของเทเวนินจากวงจร
ดังรูป มีขนั้ ตอนดังนี้

1. ปลด RL ออกจากวงจร กําหนดสัญลักษณ์ที่ขวั้ ที่เปิ ดวงจรออกเป็ น จุด A และ B

2. คํานวณหาแรงดันเทียบเคี ยงเทเวนิน (VTh) ระหว่างจุด A และ B จากในรูปคือแรงดัน ตก


คร่อมตัวต้านทาน R3 เนือ่ งจากไม่มีกระแสไหลผ่าน R2 จึงไม่มีแรงดันตกคร่อมเกิดขึน้

V
I=
R1 + R3
VTh = IR3
ปรับปร ุง 2/2562
Page 3
Physics Laboratory II
ปฏิบัติการฟิ สิกส์ 2

ดังนัน้ จะได้
 V 
VTh =   R3
R
 1 + R3 

สมการที่ได้ก็คือสมการที่ใช้หลักการแบ่งแรงดันไฟฟ้ า

3. หาความต้านทานเทียบเคียงเทเวนิน (RTh) ที่มองจากจุด A และ B โดยลัดวงจรที่แหล่งจ่าย


แรงดันไฟฟ้ าทุกตัวที่มีในวงจร (หากเป็ นแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้ าให้เปิ ดวงจร)

หาค่าความต้านทานเทียบเคียงเทเวนินโดยนํา R1 ขนานกับ R3 แล้วอนุกรมกับ R2 จะ


ได้
 RR 
RTh =  1 3  + R2
 R1 + R3 

4. นําค่า VTh และ RTh มาเขียนวงจรเทียบเคียงเทเวนิน แล้วต่อ RL เข้าที่จดุ A และ B จากนั้น


คํานวณหากระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่าน RL

ปรับปร ุง 2/2562
Page 4
Physics Laboratory II
ปฏิบัติการฟิ สิกส์ 2

VTh
IL =
RTh + RL

ทฤษฎีของนอร์ตนั
ทฤษฎีของนอร์ตนั (Norton’s Theorem) กล่าวไว้ว่า “ในวงจรไฟฟ้ าแบบเชิงเส้นใดๆ ที่มีแหล่งจ่าย
พลังงานไฟฟ้ าต่ออยู่ สามารถยุบหรือรวมวงจรให้อยู่ในรูปของแหล่งกําเนิดกระแสเทียบเคียงนอร์ตัน
(Norton’s Current : IN) ได้” โดยแหล่งกําเนิดกระแสไฟฟ้ านี้จะต่อขนานกับตัวต้านทานเทียบเคียงนอร์ตนั
(Norton’s Resistance : RN) ตัวหนึง่ เรียกว่า วงจรเทียบเคียงนอร์ตนั (Norton Equivalent Circuit) ดังรูป

รูปวงจรเทียบเคียงนอร์ตนั

ขัน้ ตอนการแก้ปัญหาวงจรไฟฟ้าด้วยทฤษฎีของนอร์ตนั
การแก้ปัญหาวงจรไฟฟ้ าเพื่อหากระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านโหลดโดยใช้ทฤษฎีของนอร์ตันจากวงจร
ดังรูป มีขนั้ ตอนดังนี้

1. ปลด RL ออกจากวงจร แล้วลัดวงจรที่ จุด A และ B ดังรูป จากนัน้ คํานวณหากระแส


เทียบเคียงนอร์ตนั (IN) ซึ่งก็คือกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านจุด A และ B

ปรับปร ุง 2/2562
Page 5
Physics Laboratory II
ปฏิบัติการฟิ สิกส์ 2

จากวงจรในรูปสามารถคํานวณหาค่าต่างๆได้ดงั นี้
 RR 
RT =  2 3  + R1
 R2 + R3 
V
IT =
RT
 R3 
I N = IT  
 R2 + R3 
2. หาความต้านทานเทียบเคียงนอร์ตนั (RN) ที่มองจากจุด A และ B โดยลัดวงจรที่แหล่งจ่าย
แรงดันไฟฟ้ าทุกตัวที่มีในวงจร (หากเป็ นแหล่งจ่ายไฟฟ้ าให้เปิ ดวงจร) ดังรูป

จากวงจรในรูปหาความต้านทานเทียบเคียงนอร์ตนั (RN) ได้จากการนํา R1 ขนานกับ R3


แล้วอนุกรมกับ R2 ดังสมการ (การหาความต้านท้านเทียบเคียงนอร์ตัน จะเหมือนกับการหา
ความต้านทานเทียบเคียงเทเวนิน)
 RR 
RN =  1 3  + R2
 R1 + R3 

ปรับปร ุง 2/2562
Page 6
Physics Laboratory II
ปฏิบัติการฟิ สิกส์ 2

3. นําค่า IN และ RN มาเขียนวงจรเทียบเคียงนอร์ตนั แล้วต่อ RL เข้าที่จดุ A และ B ดังรูป


จากนัน้ คํานวณหากระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่าน RL โดยใช้หลักการแบ่งกระแสไฟฟ้ า

จากวงจรจะได้
 RN 
IL = IN  
 RN + RL 

วงจรเที ยบเคี ยงนอร์ตัน ที่ มีแ หล่ง จ่ายกระแสเทียบเคียงนอร์ตัน ต่อ ขนานกับ ความต้า นทาน
เทียบเคียงนอร์ตนั สามารถเปลี่ยนให้อยู่ในรูปวงจรเทียบเคียงเทเวนิน ที่มีแหล่งจ่ายแรงดันเทียบเคียงเท
เวนินต่ออนุกรมกับความต้านทานเทียบเคียงเทเวนิน (ค่าความต้านทานเทียบเคียงเทเวนินมีค่าเท่ากับ
ความต้านทานเทียบเคียงนอร์ตัน) โดยสามารถเปลี่ยนแหล่งจ่ายสลับไปมาระหว่างกันได้ การเปลี่ยน
แหล่งจ่ายกระแสเทียบเคียงนอร์ตนั เป็ นแหล่งจ่ายแรงดันเทียบเคียงเทเวนินเป็ นดังสมการดังนี้

VTh = I N RN
RTh = RN

การเปลี่ยนแหล่ ง จ่า ยแรงดันเที ยบเคี ยงเทเวนิน เป็ นแหล่งจ่า ยกระแสเที ยบเคี ยงนอร์ตัน ดัง
สมการ
VTh
IN =
RTh
RN = RTh

ปรับปร ุง 2/2562
Page 7
Physics Laboratory II
ปฏิบัติการฟิ สิกส์ 2

4. ขัน้ ตอนการทดลอง
ตอนที่ 1 วงจรเทียบเคียงเทเวนิน

วงจรสําหรับการทดลองตอนที่ 1

1. ต่อวงจรการทดลองตามรูป ปรับแหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสตรงให้ VPS = 10V แต่ยังไม่ตอ้ งจ่าย


แรงดันไฟฟ้ าให้กบั วงจร
2. ปลด RL ออกจากวงจรที่จดุ A และ B จ่ายแรงดันไฟฟ้ า 10 V ให้กบั วงจร จากนัน้ ใช้มลั ติมิเตอร์
วัดค่าแรงดันไฟฟ้ าเทียบเคียงเทเวนิน (VTH) ระหว่างจุด A กับ B ดังรูป บันทึกค่าที่ได้ลงในตาราง

ปรับปร ุง 2/2562
Page 8
Physics Laboratory II
ปฏิบัติการฟิ สิกส์ 2

3. จากนัน้ ลัดวงจรที่แหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้ า ใช้มลั ติมิเตอร์วัดค่าความต้านทานเทียบเคียงเทเวนิน


(RTH) ระหว่างจุด A และ B ดังรูป แล้วบันทึกค่าที่ได้ลงตาราง

4. ต่อ RL เข้าที่จดุ A และ B ใช้มลั ติมิเตอร์วัดแรงดันไฟฟ้ าตกคร่อม RL (VL) และวัดค่ากระแสไฟฟ้ า


ไหลผ่าน RL (IL) ดังรูป และบันทึกค่าที่ได้ลงตาราง

5. นําตัวต้านทานแบบปรับค่าได้ 10 kΩ ต่อวงจร ดังรูป และปรับค่าความต้านทานให้ได้เท่ากับค่า


ความต้านทานเทียบเคียงเทเวนิน (RTH) ที่ได้จากการทดลองข้อที่ 3
6. ปรับแหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสตรงให้มีค่าเท่ากับค่าแรงดันไฟฟ้ าเทียบเคียงเทเวนิน (VTH) ที่ได้จาก
การทดลองข้อที่ 2 จากนั้นต่อวงจรเที ยบเคียงเทเวนิน แล้วต่อ RL เข้าที่จดุ A และ B ใช้มัลติ

ปรับปร ุง 2/2562
Page 9
Physics Laboratory II
ปฏิบัติการฟิ สิกส์ 2

มิเตอร์วัดแรงดันไฟฟ้ าตกคร่อม RL (VL) และวัดค่ากระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน RL (IL) ดังรูป และบันทึก


ค่าที่ได้ลงตาราง

7. นําค่าความต้านทานที่ได้จากการคํานวณหาค่า VTH , RTH , IL และ VL บันทึกลงในตาราง

ตอนที่ 2 วงจรเทียบเคียงนอร์ตนั

วงจรสําหรับการทดลองตอนที่ 2

1. ต่อวงจรการทดลองตามรูป ปรับแหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสตรงให้ VPS = 5V แต่ยังไม่ตอ้ งจ่าย


แรงดันไฟฟ้ าให้กบั วงจร
2. ปลด RL ออกจากวงจรที่จดุ A และ B จ่ายแรงดันไฟฟ้ า 5 V ให้กบั วงจร จากนัน้ ใช้มลั ติมิเตอร์
วัดค่ากระแสไฟฟ้ าเทียบเคียงนอร์ตนั (IN) ระหว่างจุด A กับ B ดังรูป บันทึกค่าทีไ่ ด้ลงในตาราง

ปรับปร ุง 2/2562
Page 10
Physics Laboratory II
ปฏิบัติการฟิ สิกส์ 2

3. จากนัน้ ลัดวงจรที่แหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้ า ใช้มลั ติมิเตอร์วัดค่าความต้านทานเทียบเคียงนอร์ตนั


(RN) ระหว่างจุด A และ B ดังรูป แล้วบันทึกค่าที่ได้ลงตาราง

4. ต่อ RL เข้าที่จดุ A และ B ใช้มลั ติมิเตอร์วัดแรงดันไฟฟ้ าตกคร่อม RL (VL) และวัดค่ากระแสไฟฟ้ า


ไหลผ่าน RL (IL) ดังรูป และบันทึกค่าที่ได้ลงตาราง

5. นําตัวต้านทานแบบปรับค่าได้ 10 kΩ ต่อวงจร ดังรูป และปรับค่าความต้านทานให้ได้เท่ากับค่า


ความต้านทานเทียบเคียงนอร์ตนั (RN) ที่ได้จากการทดลองข้อที่ 3
6. นําตัวต้านทานปรับค่าได้ที่ปรับค่าความต้านทานเท่ากับค่า RN มาต่อขนานกับแหล่งจ่ายไฟฟ้ า
กระแสตรง เป็ นวงจรเทียบเคียงนอร์ตัน จากนั้นต่อ RL เข้าที่จดุ A และ B ปรับแหล่งจ่ายไฟฟ้ า
ปรับปร ุง 2/2562
Page 11
Physics Laboratory II
ปฏิบัติการฟิ สิกส์ 2

กระแสตรงให้ได้ค่ากระแสไฟฟ้ าเท่ากับค่ากระแสไฟฟ้ าเทียบเคียงนอร์ตนั (IN) ที่ได้จากการทดลอง


ข้อที่ 2 ใช้มัลติมิเตอร์วัดแรงดันไฟฟ้ าตกคร่อม RL (VL) และวัดค่ากระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน RL (IL)
ดังรูป และบันทึกค่าที่ได้ลงตาราง

7. นําค่าความต้านทานที่ได้จากการคํานวณหาค่า IN , RN IL และ VL บันทึกลงในตาราง

ปรับปร ุง 2/2562
Page 12
Physics Laboratory II
ปฏิบัติการฟิ สิกส์ 2

5. ผลการทดลอง
ตอนที่ 1 วงจรเทียบเคียงเทเวนิน
ตารางบันทึกผลการทดลองตอนที่ 1
ผลการทดลอง VTH RTH IL(ข้อที่4) VL(ข้อที่4) IL(ข้อที่6) VL(ข้อที่6)
การวัด
การคํานวณ

แสดงการคํานวณการหาค่า VTH, RTH, IL และ VL

ปรับปร ุง 2/2562
Page 13
Physics Laboratory II
ปฏิบัติการฟิ สิกส์ 2

แสดงการเปรียบเทียบค่าทีค่ าํ นวณกับค่าที่วัดได้

อภิปรายและสร ุปผลการทดลองตอนที่ 1

ปรับปร ุง 2/2562
Page 14
Physics Laboratory II
ปฏิบัติการฟิ สิกส์ 2

คําถาม
1. จากวงจรในรูปจงหากระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่าน RL

2. จากวงจรในรูปจงหากระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่าน RL เมื่อ RL มีค่าเป็ น 4 Ω , 8 Ω และ 15 Ω

ปรับปร ุง 2/2562
Page 15
Physics Laboratory II
ปฏิบัติการฟิ สิกส์ 2

ตอนที่ 2 วงจรเทียบเคียงนอร์ตนั
ตารางบันทึกผลการทดลองตอนที่ 1
ผลการทดลอง IN RN IL(ข้อที่4) VL(ข้อที่4) IL(ข้อที่6) VL(ข้อที่6)
การวัด
การคํานวณ
VADJ = ……………………V
แสดงการคํานวณการหาค่า IN, RN, IL และ VL

ปรับปร ุง 2/2562
Page 16
Physics Laboratory II
ปฏิบัติการฟิ สิกส์ 2

แสดงการเปรียบเทียบค่าทีค่ าํ นวณกับค่าที่วัดได้

อภิปรายและสร ุปผลการทดลองตอนที่ 2

ปรับปร ุง 2/2562
Page 17
Physics Laboratory II
ปฏิบัติการฟิ สิกส์ 2

คําถาม
1. จากวงจรในรูปจงหากระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่าน RL

2. จากวงจรในรูปจงหากระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่าน RL เมื่อ RL มีค่าเป็ น 4 Ω , 8 Ω และ 15 Ω

ปรับปร ุง 2/2562
Page 18

You might also like