670206 การประชุมคณะกรรมการเฉพาะด้าน - Final - ตัวเต็ม

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 92

การประชุมคณะกรรมการเฉพาะด้าน

การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูล
ครั้งที่ 1/2567
วันศุกร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2567 ณ ห้องประชุม MDES 1
ชั้น 9 กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

สานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ระเบียบวาระการประชุม
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ
2.1 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะด้านการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูล
2.2 การดาเนินงานด้านข้อมูลภาครัฐของประเทศไทย
2.2.1 ผลการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูลและบทวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้อง
2.2.2 การขับเคลื่อนตามนโยบายการใช้คลาวด์เป็นหลัก (Cloud First Policy)
2.2.3 การพัฒนาระบบคลาวด์กลางด้านสาธารณสุขของประเทศไทย
2.3 การเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่ออานวยความสะดวกทางการค้าระหว่างประเทศ
2.3.1 ระบบ National Single Window (NSW) โดย กรมศุลกากร และ บริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จากัด (มหาชน)
2.3.2 แพลตฟอร์มการค้าดิจิทัลระหว่างประเทศ (National Digital Trade Platform หรือ NDTP) โดย สมาคมธนาคารไทย
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา
3.1 กรอบการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูลของประเทศไทย
3.2 การติดตามและประเมินผลการดาเนินการตาม (ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ข้อมูลของประเทศไทย
ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องอื่น ๆ (ถ้ามี)
2
ระเบียบวาระที่ 1
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ

3
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ

ขอเสนอที่ประชุมเพื่อรับทราบ

4
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ

5
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ
2.1 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะ
ด้านการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูล

6
ระเบียบวาระที่ 2.1 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะด้านการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูล
ความเป็นมาโดยสังเขป

8 กุมภาพันธ์ 2564 มติคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ครั้งที่ 1/2564


เห็นชอบในหลักการ (ร่าง) แนวทางการจัดทายุทธศาสตร์ข้อมูลของประเทศไทย (Thailand National Data
Strategy) รวมถึงเห็นชอบในหลักการให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะด้านการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูล

24 มีนาคม 2564 มติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ครั้งที่ 1/2564


1. เห็นชอบให้ดาเนินการตามกรอบ (ร่าง) แนวทางการจัดทายุทธศาสตร์ข้อมูลของประเทศไทย (Thailand National
Data Strategy)
2. เห็นชอบแต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะด้านการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูล

มติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ครั้งที่ 2/2564


14 กรกฎาคม 2564
เห็นชอบ (ร่าง) คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะด้านการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูล และให้มีอานาจหน้าที่ในการ
จัดทาข้อเสนอแนะ และติดตามการดาเนินการตามนโยบายและแผนระดับชาติตามมาตรา 6 (1)
7
ระเบียบวาระที่ 2.1 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะด้านการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูล

National Data Strategy


1. การจาแนกประเภทข้อมูล 2. การจัดซื้อจัดจ้างคลาวด์ 3. มาตรฐานการเข้าถึงข้อมูล (Access to 4. การจัดตั้งคณะกรรมการเฉพาะด้าน
(Data Classification) (Cloud Procurement) data/Data Catalogue/Data Governance) การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูล

สานักนายกรัฐมนตรี กรมบัญชีกลาง/สานักงบประมาณ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมการเฉพาะด้านการขับเคลื่อน


•จัดระเบียบชั้นความลับข้อมูลดิจทิ ัล • จัดทารายชื่อผู้ให้บริการที่มี • การเข้าถึงจากหน่วยงานภายนอก ยุทธศาสตร์ข้อมูล
o ลับที่สุด (Top Secret) มาตรฐาน • การเข้าถึงจากหน่วยงานรัฐ • กาหนดการเข้าถึงและใช้ประโยชน์
o ลับ (Secret) • ระบบรักษาความปลอดภัย ข้อมูลข้ามหน่วยงาน
o ข้อมูลของราชการ • การกาหนดสถานที่จัดเก็บข้อมูล • กาหนดชุดข้อมูลเปิด
(Official) (Data Localization) • กาหนดโครงสร้างพื้นฐานด้านข้อมูล
• พัฒนาทักษะที่เกี่ยวข้อง

โครงสร้างพื้นฐานคลาวด์ (Cloud Infrastructure)


8
ระเบียบวาระที่ 2.1 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะด้านการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูล
กรอบแนวทางการจัดทายุทธศาสตร์ข้อมูลของประเทศไทย (Thailand National Data Strategy)
เป็นกรอบการดาเนินการด้านข้อมูลระดับประเทศ เพื่อให้สามารถทางานร่วมกันได้ทั้งระบบ พร้อมทั้ง มีการกากับดูแลข้อมูลตามกรอบธรรมาภิบาลข้อมูล (Data Governance)
Data Foundations Data Infrastructure and
Data Laws and Governance Data Integration
and Data-Driven Policies Technologies

1 2 3 4
มุ่งเน้นการพัฒนากลไกที่ส่งเสริมการใช้ ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากข้อมูลด้วย พัฒนาและออกแบบรากฐานข้อมูลเพื่อ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานข้อมูล
ประโยชน์จากข้อมูลทั้งทางกฎหมาย การบูรณาการและแบ่งปันข้อมูล (Data ใช้ในการกาหนดนโยบายบนพื้นฐาน รวมถึงการใช้เทคโนโลยีข้อมูล
Integration, Availability and ของข้อมูล (Data Foundations and สมัยใหม่ (Data Infrastructure
ระเบียบ แนวปฏิบัติ จนถึงเทคโนโลยี ที่
Sharing) ควรส่งเสริมการใช้ข้อมูล Data-Driven Policies) ควรส่งเสริม and Technologies) ควรส่งเสริม
สามารถพัฒนากลไกที่เกี่ยวข้อง รวมถึง มาตรฐานกลางของข้อมูลที่ใช้ร่วมกัน
ร่วมกันข้ามหน่วยงานภาครัฐให้เกิด การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานกลาง
ต้องมีธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ โดยเฉพาะข้อมูลในภาคเศรษฐกิจที่
ประโยชน์สูงสุดต่อภาคเอกชน และ ระบบคลาวด์ เพื่อลดความซ้าซ้อน
(Data Laws and Governance) สาคัญ และมีการออกแบบโครงสร้าง
ประชาชน และนาข้อมูลมาบูรณาการ ของการลงทุนและเพิ่มประสิทธิภาพ
ข้อมูลร่วมกัน เพื่อยกระดับการกาหนด
และใช้ร่วมกันเพื่อสร้าง Value Chain นโยบายภาครัฐให้ตรงจุดและอยู่บน การทางาน
และมูลค่าของข้อมูลเพิ่มมากขึ้น พื้นฐานของข้อมูลจริง

Data Classification Data Localization Access to Data Data Sharing 9


ระเบียบวาระที่ 2.1 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะด้านการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูล
คาสั่ง คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่ 3/2566
เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะด้านการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูล ลงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2566
องค์ประกอบ

10
ระเบียบวาระที่ 2.1 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะด้านการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูล
หน้าที่และอานาจ
1. จัดทา เสนอแนะ และติดตามการดาเนินการตามนโยบายและแผนระดับชาติตามมาตรา 6 (1) แห่งพระราชบัญญัติการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. 2560
และนโยบายและแผนระดับชาติอื่นที่คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติกาหนด
2. รวบรวมข้อมูลและจัดทานโยบายและแผนยุทธศาสตร์ข้อมูลด้านต่าง ๆ ที่จาเป็นต่อการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พร้อมทั้งแนวทางและมาตรการในการ
ส่งเสริมและพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคมดิจทิ ัลที่คณะกรรมการเฉพาะด้านนั้นรับผิดชอบ และเสนอต่อคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เพื่อ
ประกอบการจัดทานโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
3. เสนอแนะต่อคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเกี่ยวกับการดาเนินงานตามนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ข้อมูลด้านต่าง ๆ ที่จาเป็นต่อการพัฒนา
ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งเสนอมาตรการในการดาเนินการและแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติการตามนโยบายและแผนดังกล่าว และประเด็นอื่น ๆ
ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเสนอต่อคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบประกาศเป็นนโยบายและแผนเฉพาะด้านการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูลต่อไป
4. ติดตามและประเมินผลการดาเนินการตามนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ข้อมูลด้านต่าง ๆ ที่จาเป็นต่อการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม นโยบายและแผน
ระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และนโยบายและแผนเฉพาะด้านในความรับผิดชอบแล้วรายงานผลการดาเนินงานต่อคณะกรรรมการดิจิทัล
เพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
5. กากับดูแลการดาเนินการตามแผนปฏิบัติการและแผนงานเฉพาะด้านการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูลของหน่วยงานของรัฐและการส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทลั ตาม
หมวด 5 ภายในขอบเขตอานาจของคณะกรรมการเฉพาะด้าน
6. เชิญหน่วยงานของรัฐหรือบุคคลใดมาให้ข้อเท็จจริง ความเห็น หรือคาแนะนา ตลอดจนส่งเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องเพื่อประกอบการดาเนินงานได้
7. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่คณะกรรมการเฉพาะด้านมอบหมาย
8. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติมอบหมาย หรือตามที่มีกฎหมายกาหนดให้เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการเฉพาะด้าน
11
ระเบียบวาระที่ 2.1 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะด้านการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูล

ขอเสนอที่ประชุมเพื่อรับทราบ
คาสั่งคณะกรรมการดิจิทัลเพือ่ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่ 3/2566
เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะด้านการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูล

12
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ
2.2 การดาเนินงานด้านข้อมูลภาครัฐของประเทศไทย
2.2.1 ผลการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
ข้อมูลและบทวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้อง

13
ระเบียบวาระที่ 2.2.1 ผลการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ขอ้ มูลและบทวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้อง
สถานการณ์ด้านยุทธศาสตร์ข้อมูลของประเทศไทย
การดาเนินการด้านข้อมูลในภาครัฐ

พ.ร.บ. การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. 2560 พ.ร.บ. การบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562

นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ จัดทาขึ้นโดยคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (มาตรา 7)


และสังคม (มาตรา 5 ประกอบมาตรา 21)
• ยุทธศาสตร์ที่ 4 : ปรับเปลี่ยนภาครัฐสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล
• เป้าหมายที่ 4 : ปฏิรูปการทางานและการให้บริการของภาครัฐ จัดทาแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล กาหนดมาตรฐาน จัดทาธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ
• แผนยุทธศาสตร์: (มาตรา 5 และมาตรา 7(1)) ข้อกาหนด (มาตรา 7(2))
o บริการโครงสร้างพื้นฐานกลางภาครัฐ (Government Shared หลักเกณฑ์เกี่ยวกับ • หน่วยงานของรัฐเป็นผู้มีหน้าที่จัดทา
Infrastructure/Data Center) ผ่านบริการ G-Cloud เป็นกรอบและทิศทางการบริหารงาน
ระบบดิจิทัล โดยมีสาระสาคัญอย่างน้อยตาม มาตรา 8
o จัดให้มีบริการอัจฉริยะ (Smart Service) ภาครัฐและการจัดทาบริการ • เช่น การกาหนดสิทธิ หน้าที่ และความ
o สนับสนุนให้มีการเปิดเผยข้อมูลที่เป็นประโยชน์ (Open Data) สาธารณะในรูปแบบเทคโนโลยีดิจิทัล (มาตรา 7(3)) รับผิดชอบในการบริหารจัดการข้อมูล/
และให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการทำางานของรัฐ (Open กาหนดกฎเกณฑ์การเข้าถึงและใช้
Government) ประโยชน์จากข้อมูลที่ชัดเจน/มีระบบ
สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) ทาหน้าที่เป็น บริหารและกระบวนการจัดการและ
หน่วยธุรการและวิชาการของคณะกรรมการฯ เป็นผู้จัดทาตาม คุ้มครองข้อมูลที่ครบถ้วน ฯลฯ
• โดยแบ่งข้อมูลเป็น 4 หมวดหมู่ ได้แก่
แนวทางที่คณะกรรมการฯ กาหนด (มาตรา 10 (1)) และติดตาม ข้อมูลสาธารณะ ข้อมูลส่วนบุคคล ข้อมูล
และประเมินผล (มาตรา 10 (4)) ความลับทางราชการ ข้อมูลความมั่นคง
14
ระเบียบวาระที่ 2.2.1 ผลการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ขอ้ มูลและบทวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้อง
สถานการณ์ด้านยุทธศาสตร์ข้อมูลของประเทศไทย
การดาเนินการด้านข้อมูลในภาคอุตสาหกรรม

15
ระเบียบวาระที่ 2.2.1 ผลการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ขอ้ มูลและบทวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้อง
ปัญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ข้อมูลของประเทศไทย (ปัจจุบันยังไม่มีการประกาศใช้ยุทธศาสตร์ข้อมูลอย่างเป็นทางการ)

ปัญหาด้านการขาดยุทธศาสตร์ข้อมูลของประเทศไทย ปัญหาด้านการบูรณาการการใช้ประโยชน์และการแบ่งปันข้อมูลจากภาคเอกชน
ขาดแผนการดาเนินงานด้านข้อมูลที่เป็นเอกภาพ เช่น • หน่วยงานต่างๆในภาครัฐ มีศักยภาพและความสามารถด้านข้อมูล (Data Maturity)
1. ยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี : มีการจัดตั้งศูนย์ข้อมูล ที่แตกต่างกันมาก ซึ่งเป็นอุปสรรคในการสร้างความร่วมมือและการบูรณาการด้าน
การเกษตรแห่งชาติ ติดตามสถานการณ์ทางการเกษตรเพื่อนามาใช้ประโยชน์ ข้อมูล โดยเฉพาะกับองค์กรในภาคเอกชน
นอกจากในรูปแบบ Data catalog และในรูปแบบ Visualization • มีธรรมาภิบาลข้อมูลแต่ยังไม่มีการประยุกต์ใช้อย่างเพียงพอ ทาให้เกิดข้อจากัดใน
2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งของไทย ระยะ 20 ปี : ผลักดันให้ การสร้างความเชื่อมั่นและการแสดงให้เห็นถึงประโยชน์ของการแลกเปลี่ยนข้อมูล
หน่วยงานภายในจัดทา Data catalog แต่ไม่มีในรูปแบบ Visualization มี • ภาครัฐยังไม่ได้มีการสร้างระบบนิเวศด้านข้อมูลที่ตอบสนองต่อการใช้ประโยชน์ใน
ศูนย์บริหารจัดการเดินรถระบบ GPS แต่ข้อมูลที่เผยแพร่ไม่ครอบคลุมถึง การเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลที่ชดั เจน จึงทาให้ขาดการมีส่วนร่วมจาก
ข้อมูลสาคัญอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการคมนาคมขนส่ง ภาคเอกชน

ปัญหาด้านภารกิจและตัวชี้วัดของหน่วยงาน ปัญหาด้านกลไกในการขับเคลื่อนตามยุทธศาสตร์ขอ้ มูลที่ชัดเจน


• ขาดการวางแนวทางและยุทธศาสตร์ด้านข้อมูลระดับชาติที่ชัดเจน • ขาดกรอบการดาเนินงานและการจัดสรรงบประมาณ รวมถึงความพร้อมของบุคลากร
• การกาหนดตัวชี้วัดเน้นที่กระบวนการมากกว่าผลลัพธ์ • ขาดการสร้างวัฒนธรรมด้านข้อมูล
• การกาหนดภารกิจของหน่วยงานขาดการคานึงถึงการบูรณาการกับ • ไม่มีหน่วยงานที่มีขอบเขตอานาจและความรับผิดชอบเฉพาะ
หน่วยงานอื่น • ขาดโครงการนาร่องต้นแบบในการขับเคลื่อนด้านข้อมูล
16
ระเบียบวาระที่ 2.2.1 ผลการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ขอ้ มูลและบทวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้อง
ปัญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องการใช้ประโยชน์จากข้อมูลภาครัฐในภาคเอกชนและประชาชน (1/2)

1 การใช้บังคับมาตรฐานการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลดิจิทัลให้ชดั เจน 2 การกาหนดกรอบการแลกเปลี่ยนข้อมูล


พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการ
ประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง มาตรฐานและหลักเกณฑ์การเชื่อมโยงและ ภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 มาตรา 13
แลกเปลี่ยนข้อมูลดิจิทัลว่าด้วยเรื่อง กรอบแนวทางการพัฒนามาตรฐานการเชื่อมโยงและ
แลกเปลี่ยนข้อมูลภาครัฐ • ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการเชื่อมโยงในการแลกเปลี่ยนข้อมูลดิจิทัล
• กาหนดให้มีการจัดตั้ง “ศูนย์แลกเปลี่ยนข้อมูลกลางภาครัฐ”
ประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง มาตรฐานและหลักเกณฑ์การเปิดเผย (Government Data Exchange: GDX) เพื่อบูรณาการข้อมูลที่
ข้อมูลเปิดภาครัฐในรูปแบบข้อมูลดิจิทัลต่อสาธารณะ อยู่ในความครอบครองของหน่วยงานของรัฐให้เกิดการใช้ประโยชน์

สนับสนุนให้เกิดรูปแบบการสร้างความร่วมมือในการแลกเปลี่ยน
แนวทางสนับสนุนให้เกิดการใช้มาตรฐานการเชื่อมโยงข้อมูลดิจิทัล
ข้อมูลระหว่างหน่วยงานของรัฐและภาคเอกชน
1. ควรมีการกากับและติดตามอย่างเข้มข้นโดยคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล การบริจาคข้อมูล (Data Donorship) การให้รางวัล (Prizes)
2. ควรมีการสร้างแรงจูงใจทางบวกในการปฏิบัติตาม โดยอาจสร้างแรงจูงใจด้วยการมอบ การร่วมมือด้านข้อมูลระหว่าง การมีหน่วยงานกลาง
รางวัลให้แก่หน่วยงานของรัฐที่มุ่งมั่นปฏิบัติตามแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลจนประสบ ภาครัฐและเอกชน (Intermediaries)
(B2G Data Partnerships) การแบ่งปันข้อมูลประชาชน
ความสาเร็จและมีความเป็นเลิศ ในลักษณะเดียวกับ “รางวัลเลิศรัฐ”
(Civic Data Sharing)
17
ระเบียบวาระที่ 2.2.1 ผลการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ขอ้ มูลและบทวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้อง
ปัญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องการใช้ประโยชน์จากข้อมูลภาครัฐในภาคเอกชนและประชาชน (2/2)

3 การสร้างความตระหนักรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
4 การกาหนดแนวทางการเปิดเผยข้อมูล
การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในหน่วยงานภาครัฐ ของภาครัฐที่ชัดเจน
“ขาดประกาศของคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารราชการที่กาหนด
ประเภทข้อมูลเพิ่มเติมที่หน่วยงานของรัฐต้องมีการเปิดเผย”
สร้างแนวปฏิบัติการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในแต่ละมิติอุตสาหกรรม
เพื่อส่งเสริมการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ได้อย่างเป็นรูปธรรม
เพื่อสร้างการเรียนรู้และความเข้าใจใหม่ร่วมกันถึงประโยชน์และเจตนารมณ์
ของพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
✓ ควรมีการจัดทาประกาศคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร
ราชการเพิ่มเติมเพื่อกาหนดประเภทของข้อมูล
ที่หน่วยงานของรัฐจะต้องเปิดเผยข้อมูลสู่สาธารณะ
หมายเหตุ:
o ต้องกาหนดให้สอดคล้องกับสภาพสังคมปัจจุบัน
o อาจกาหนดเนื้อหาให้สอดคล้องกับประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
เรื่อง มาตรฐานและหลักเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูลเปิดภาครัฐในรูปแบบข้อมูล
ดิจิทัลต่อสาธารณะที่กาหนดประเภทข้อมูลที่หน่วยงานของรัฐจะดาเนินการ
เปิดเผย

18
ระเบียบวาระที่ 2.2.1 ผลการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ขอ้ มูลและบทวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้อง
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูลของต่างประเทศ (1/3)
สหภาพ EU: European Data Strategy สหราชอาณาจักร: National Data Strategy
จุดเด่น จุดเด่น
เน้นเชื่อมข้อมูลภาครัฐระหว่างหน่วยงานรัฐ ทั้งในและนอกประเทศ จัดตั้งหน่วยงานเฉพาะกิจขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูลของส่วนราชการนั้นๆ

เสาหลัก: (1) สร้างมาตรฐานให้สามารถเข้าถึงและใช้ข้อมูลระหว่างหน่วยงาน หลักการยุทธศาสตร์: (1) ปลดล็อคมูลค่าข้อมูลตลอดระบบเศรษฐกิจ


ในแต่ละภาคการผลิตแบบไร้รอยต่อ
(2) การสร้างระบอบข้อมูลที่ส่งเสริมการเติบโตและความน่าเชื่อถือ
(2) ลงในข้อมูลและโครงสร้างพื้นฐานอัจฉริยะเกี่ยวกับข้อมูล
(3) สร้างความเข้มแข็งในด้านทุนมนุษย์และ SMEs
(3) ยกระดับการให้บริการสาธารณะ
(4) สร้างฐานข้อมูลกลางในอุตสาหกรรมสาคัญ และบริการของรัฐ (4) สร้างความปลอดภัยสาหรับโครงสร้างพื้นฐาน
(5) เป็นผู้นาในการใช้กระแสข้อมูลข้ามพรมแดน
สรุปการดาเนินการสาคัญ
สรุปการดาเนินการสาคัญ
• European Interoperability Framework (EIF): มีการจัดทา
• จัดตั้งหน่วยงาน Central Digital and Data Office (2021): ขับเคลื่อน
แนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการออกแบบระบบเพื่อให้หน่วยงานของรัฐ การใช้ข้อมูลผ่านการสร้างมาตรฐานและแนวทางปฏิบัติ เช่น Technology
ทางานร่วมกันได้แบบไร้รอยต่อ Code of Practice และ Data Sharing Governance Framework
• Common Data Space: หารือกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียราย สาหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูล รวมไปถึงการพัฒนาแพลทฟอร์ม Data
อุตสาหกรรมทั้งรัฐและเอกชนเพื่อพัฒนา common data space Marketplace ที่อยู่ระหว่างการพัฒนา
โดยใช้ทุนสนับสนุนจากโครงการ Horizon Europe หรือ Digital • ระบบ Integrated Data Services (2023): แลกเปลี่ยนและใช้งานข้อมูล
Programme ภาครัฐ ภายใต้การบริหารจัดการของ Office for National Statistics
19
ระเบียบวาระที่ 2.2.1 ผลการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ขอ้ มูลและบทวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้อง
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูลของต่างประเทศ (2/3)
ออสเตรเลีย: Australian Data Strategy สหรัฐอเมริกา: Federal Data Strategy
จุดเด่น จุดเด่น
ขับเคลื่อนการใช้และเข้าถึงข้อมูลผ่านแพลตฟอร์ม Data place • มีการระบุความต้องการด้านข้อมูลของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องชัดเจน
Platform / บูรณาการการใช้ข้อมูลผ่านโครงการความร่วมมือ Data • จัดตั้ง Working Group เพื่อขับเคลื่อนเฉพาะด้าน
Integration Partnerships for Australia (DIPA) • สร้างระบบนิเวศที่สนับสนุนยุทธศาสตร์
เน้น 4 กลยุทธ์ คือ
3 กลยุทธ์สาคัญ ได้แก่
(1) ใช้ข้อมูลให้เกิดประโยชน์สูงสุด (2) บูรณาการข้อมูล
(1) การสร้างวัฒนธรรมที่ให้ความสาคัญกับข้อมูลและส่งเสริมการใช้งาน
(3) ปกป้องคุ้มครองข้อมูล (4) เพิ่มความสามารถในการใช้ข้อมูล
สาธารณะ
(2) การควบคุม การจัดการ และการปกป้องข้อมูล
สรุปการดาเนินการสาคัญ
(3) การส่งเสริมการใช้ข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม
• ออกกฎหมาย DAT Act: มีสาระสาคัญเพื่อส่งเสริมการเปิดเผยข้อมูล
ของหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งกาหนดให้ไม่สามารถปฏิเสธการเปิดเผย
ข้อมูลได้ยกเว้นในกรณีที่จาเป็นเท่านั้น สรุปการดาเนินการสาคัญ
• Data place (บริหารจัดการโดย ONDC): แพลตฟอร์มกลางของ • Data.gov: สร้างศูนย์กลางทรัพยากรข้อมูลของหน่วยงานรัฐบาลกลาง
ข้อมูลภาครัฐ
สหรัฐ เพื่อเพิ่มความโปร่งใสและความเชื่อถือได้ของรัฐบาลกลาง
• Digital Atlas (บริหารจัดการโดย Geoscience Australia) :
แพลตฟอร์มแสดงผลข้อมูลในเชิงพื้นที่
20
ระเบียบวาระที่ 2.2.1 ผลการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ขอ้ มูลและบทวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้อง
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูลของต่างประเทศ (3/3)
ฮ่องกง: Electronic Information
Management Strategy and Framework สิงคโปร์: Smart Nation Initiative
จุดเด่น จุดเด่น
มุ่งเน้นให้หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนสามารถใช้ข้อมูล ระบบฐานข้อมูลและการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างภาครัฐและเอกชน
เพื่อทาประโยชน์ได้อย่างทั่วถึง ผ่าน Smart Nation Initiatives ขับเคลื่อนโดย SNDGG
ยุทธศาสตร์:
(1) การปรับบริการภาครัฐให้เป็นบริการดิจิทัลและการพัฒนา ICT ภาครัฐ ยุทธศาสตร์
(2) การใช้ AI การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐที่มากขึ้นกว่าเดิมเพื่อกระตุ้นการ (1) การเชื่อมโยงกับภาครัฐและเอกชน
พัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล (2) การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิตอลและเพิ่มความสามารถในการใช้ข้อมูล
ของภาครัฐ
สรุปการดาเนินการสาคัญ
• จัดตั้ง The Office of the Government Chief Information Officer สรุปการดาเนินการสาคัญ
(OGCIO): หน่วยงานกลางที่ขับเคลื่อนการดาเนินการด้านข้อมูลและ ICT
• ระบบ eHealth: เป็นการเชื่อมโยงฐานข้อมูลสาธารณสุขของ
• Electronic Information Management Strategy and Framework
สถานพยาบาลทั่วประเทศเข้าด้วยในแหล่งเดียว
(EIM Strategy): ทุกหน่วยงานต้องจัดทาแผนการจัดการข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
ภาครัฐ แบ่งเป็นข้อมูลด้านเนื้อหา ทะเบียน และองค์ความรู้
• LTA DataMall: ศูนย์กลางข้อมูลคมนาคมทั่วประเทศ ซึ่ง
• จัดทาแผน Annual Open Data Plan: มีการคาดการณ์ปริมาณและมูลค่า ประสบความสาเร็จจากการเชื่อมโยงฐานข้อมูลคมนาคมทั้งของ
ข้อมูลภาครัฐ พร้อมกับจัดทาแผนการเปิดเผยข้อมูลรายปี ซึ่งระบุแผนการ ภาครัฐและเอกชนเข้าไว้ด้วยกัน
เปิดเผยข้อมูลล่วงหน้า และรายละเอียดของชุดข้อมูลเบื้องต้น 21
ระเบียบวาระที่ 2.2.1 ผลการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ขอ้ มูลและบทวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้อง
สรุปประเด็นผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะ
1 อธิปไตยข้อมูล • ไม่มีข้อห้ามการส่งข้อมูลข้ามประเทศ ยกเว้นข้อมูล
(Data Localization) บางประเภท เช่น ข้อมูลด้านการเงิน สุขภาพ เป็นต้น จัดทาแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการส่งและโอนข้อมูล
ไปยังต่างประเทศให้ครอบคลุมทั้งในภาครัฐและ
• จากัดการถ่ายโอนข้อมูลส่วนบุคคลระหว่างประเทศ ภาคเอกชน ยกเว้นชุดข้อมูลที่มีความอ่อนไหวสูง เช่น
ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลปี 2012 ข้อมูล Critical Information Infrastructure

2 ด้านการกาหนดธรรมาภิบาลข้อมูล • Data governance act 2020 ซึ่งกาหนด


แนวทางการปฏิบัติงานด้านข้อมูล
การขับเคลื่อนธรรมาภิบาลข้อมูลของประเทศไทย
ระยะแรก : เน้นสร้างความมีอยู่ของข้อมูล
(Data governance) ระยะต่อไป : การเพิ่มคุณภาพของข้อมูล และการจัด
• Data availability and Transparency Act 2022 ระเบียบข้อมูลเพื่อลดปัญหาการดาเนินการซ้าซ้อน
ซึ่งสร้างกรอบการแบ่งปันข้อมูล ระหว่างหน่วยงาน
จัดทาแนวปฏิบัติที่ครอบคลุมทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
3 ด้านความปลอดภัยของข้อมูล • Privacy act เพิ่มเติมครอบคลุมประเด็นความ
ปลอดภัยของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งครอบคลุมในแต่ละมิติอตุ สาหกรรมเฉพาะ
ส่วนบุคคล (Privacy and security) รวมถึงคู่มือ สาหรับประชาชนเจ้าของข้อมูล หรือ
• หลักการ GDPR คุ้มครองความปลอดภัยข้อมูลส่วน
บุคคล พร้อมคู่มือที่ง่ายต่อการทาความเข้าใจ หน่วยงานเจ้าของข้อมูล ที่ง่ายต่อการเข้าใจ

4 ด้านการใช้ข้อมูลให้เกิดประโยชน์ • เผยแพร่ข้อมูลในรูปแบบที่นาไปใช้ต่อได้ในทันที
เช่น API และ Dashboard ที่เข้าใจได้ง่าย
จัดทามาตรฐานข้อมูลที่ชัดเจนเพื่อให้เป็น
สูงสุด (Value maximization) มาตรฐานเดียวกัน เพื่อเพิ่มคุณภาพของข้อมูล
• ให้ความสาคัญกับการนาข้อมูลที่มคี วามกระจัด ให้สามารถนาไปใช้ประโยชน์ต่อได้
กระจายอยู่ในปัจจุบันมารวมเป็นแหล่งเดียวกัน 22
ระเบียบวาระที่ 2.2.1 ผลการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ขอ้ มูลและบทวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้อง
สรุปประเด็นผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ
5 การแบ่งปันข้อมูล
• จัดทากรอบการแบ่งปันข้อมูลระหว่าง ข้อเสนอแนะ
(Data sharing) รัฐ-เอกชน และเอกชน-เอกชน เพื่อเป็นรากฐาน ใช้มาตรฐานการออกแบบสถาปัตยกรรมข้อมูลให้
ในการสร้าง Common Data Space ทางานร่วมกันได้ (interoperability) เพื่อให้
• หน่วยงานรัฐในภาคการผลิตหารือกับ เชื่อมโยงฐานข้อมูลได้ง่าย
ผู้ประกอบการเพื่อหาข้อตกลงที่เหมาะสม
จัดทากรอบการแบ่งปันข้อมูลระหว่างภาครัฐและ
ในการจัดทา Common Data Space
ภาคเอกชน
• จัดทาแพลตฟอร์มแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่าน สร้างพันธมิตรทางข้อมูลระหว่างภาครัฐและ
trusted centre ให้รัฐและเอกชนเชื่อมโยง ภาคเอกชน ตลอดจนสร้างตลาดกลางข้อมูลใน
กันได้แบบ end-to-end ผ่านระบบ API ภาคอุตสาหกรรม

6 การใช้ประโยชน์จากข้อมูล • กาหนดให้หน่วยงานของรัฐทาการประเมิน กาหนดให้ส่วนราชการ ทาการประเมินชุดข้อมูล


(Data Usage) ความคุ้มค่าของข้อมูลแต่ละชุด และจัดทา ที่เผยแพร่อย่างสม่าเสมอ เพื่อเลือกชุดข้อมูลที่จะ
Annual Open Data Plans เพื่อประกาศ คงไว้ในระบบ นาออกจากระบบ และพัฒนา
ชื่อชุดข้อมูลที่จะเผยแพร่ เพิ่มเติม
• กาหนดให้แต่ละหน่วยงานจัดทาชุดข้อมูลที่มี
ความสาคัญ (Priority Data Assets) 23
ระเบียบวาระที่ 2.2.1 ผลการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ขอ้ มูลและบทวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้อง

ขอเสนอที่ประชุมเพื่อรับทราบ
ผลการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูลในประเทศไทย
และต่างประเทศและบทวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้อง

24
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ
2.2 การดาเนินงานด้านข้อมูลภาครัฐของประเทศไทย
2.2.2 การขับเคลื่อนตามนโยบายการใช้คลาวด์เป็นหลัก
(Cloud First Policy)

25
ระเบียบวาระที่ 2.2.2 การขับเคลื่อนตามนโยบายการใช้คลาวด์เป็นหลัก (Cloud First Policy)
ประโยชน์ของการขับเคลื่อน Cloud First Policy 1. ช่วยลดการจัดซื้อจัดจ้างที่มีความซ้าซ้อน
เช่น การจัดซื้อซอฟต์แวร์สาหรับสานักงาน (Word, Excel,
PowerPoint) จากหลากหลายผู้ให้บริการ ทาให้ไม่มีอานาจ
ต่อรอง และสิ้นเปลืองงบประมาณ
กระทรวง A

2. สร้างมาตรฐานการให้บริการของบริษัท
ผู้ให้บริการคลาวด์ที่เพียงพอ
หน่วยงาน A1 หน่วยงาน A2 เช่น การขยายพื้นที่จัดเก็บข้อมูล, การเพิ่มความเร็วในการ
ประมวลผล ที่ไม่สามารถตอบสนองต่อเหตุการณ์ต่างๆ
ได้ทันท่วงที
Cloud Cloud

3. สร้างมาตรฐานการรักษาความปลอดภัยข้อมูล
ของหน่วยงานรัฐ
เช่น ผู้ให้บริการคลาวด์ต้องได้รับ ISO/ICE20000,
ISO/ICE27001 และต้องมีที่ตั้ง Data Center ในประเทศไทย
26
ระเบียบวาระที่ 2.2.2 การขับเคลื่อนตามนโยบายการใช้คลาวด์เป็นหลัก (Cloud First Policy)
ทวีปอื่น ๆ สหภาพยุโรป เครือรัฐออสเตรเลีย
สหภาพยุโรป ประกาศใช้แผน Digital Decade 2030" ในปี 2022 • ประกาศใช้ยุทธศาสตร์คลาวด์คอมพิวติ้งแห่งชาติ (National Cloud Computing Strategy)
วิสัยทัศน์ Cloud-first with a secure hybrid multi-cloud service offering • มุ่งเน้นให้ใช้ประโยชน์จากคลาวด์ในหน่วยงานรัฐ โดยผลักดันให้หน่วยงานรัฐมีการ
• มี Cloud Edge Node มากกว่า 10,000 Node
ใช้งานบริการคลาวด์มากขึ้น และเลือกใช้บริการคลาวด์ที่มีความคุ้มค่าในการลงทุน
เป้าหมายที่ • รัฐบาลจะมีบทบาทในการจัดหาเครื่องมือที่หน่วยงานของรัฐ ประชาชน และธุรกิจขนาด
• มีการใช้งาน Quantum Computing ในปี 2025
เกี่ยวข้อง • 75% ของบริษัทเอกชนมีการใช้ Cloud, AI หรือ Big Data เล็กจาเป็นต้องใช้งาน สร้างความร่วมมือระหว่างรัฐบาล อุตสาหกรรม และกลุ่มผู้บริโภค
หน่วยงานที่ปฏิบัติตามนโยบาย Cloud First จะต้องพิจารณาแนวทางการปรับเปลี่ยน ดังนี้

01 การบริหาร IT (IT Governance) 04 พิจารณาแนวทางการย้ายระบบ


เพื่อเปลี่ยนไปใช้เทคโนโลยีคลาวด์
02 การบริหารความเสี่ยงที่เกี่ยวกับ และประกาศให้ใช้ร่วมกัน เช่น
คลาวด์ (Cloud-specific Risks) Rehost / Refactor / Rebuild
ผ่านเครื่องมือ “GovSec” / Replace

03 มีหน่วยงาน DIGIT ทาหน้าที่เป็น 05 ปฏิบัติตามประกาศหลักการและ


นายหน้าตัวกลาง สนับสนุน แนวทางปฏิบัติในการ
หน่วยงานต่าง ๆ ให้สามารถจัดหา เปลี่ยนแปลงมาใช้ระบบคลาวด์
บริการคลาวด์ เช่น การควบรวมโครงสร้าง การ
เลือกใช้ SaaS หรือ PaaS เป็นต้น
27
ระเบียบวาระที่ 2.2.2 การขับเคลื่อนตามนโยบายการใช้คลาวด์เป็นหลัก (Cloud First Policy)
สหรัฐอเมริกา
ประกาศใช้นโยบาย Cloud First พร้อมใช้กลยุทธ์การประมวลผลแบบคลาวด์ของรัฐบาลกลาง (Federal Cloud Computing Strategy)
• หน่วยงานต่างๆ จะประเมินกลยุทธ์การจัดหาเทคโนโลยี และรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ เพื่อเข้ากระบวนการจัดซื้อจัดจ้างให้สอดคล้องกับนโยบาย Cloud First
• พร้อมปรับเปลี่ยนสถาปัตยกรรมองค์กร (Enterprise Architectures) เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์สูงสุดจากการประมวลผลแบบคลาวด์
ตัวอย่างกิจกรรมสาคัญ ที่เกิดขึ้นในการดาเนินการตามนโยบาย Cloud First
1 การจัดตั้ง Cloud Computing Services (CCS) Program Management Office (PMO): ช่วยให้หน่วยงานต่างๆ ปฏิบัติตามข้อบังคับ
ในการย้ายไปใช้งานระบบคลาวด์
2 จัดทามาตรฐานในการประเมินและการอนุญาตผู้ให้บริการคลาวด์ (CSP): สาหรับให้บริการกับหน่วยงานภาครัฐ

3 เพิ่มหน้าที่หน่วยงาน GSA: ดาเนินงานเพิ่มเติม เช่น การพัฒนา Apps.gov ให้บริการตลาด SaaS ให้กับหน่วยงานของรัฐ การศึกษาปัญหาและอุปสรรค
ในการเปลี่ยนแปลงระบบไปใช้งานระบบคลาวด์

4 การจัดตั้ง Government Accountability Office (GAO): ให้หน่วยงานต่าง ๆ ทาการประเมินการลงทุนด้านไอที เพื่อค้นหาการลงทุนด้านสารสนเทศ


ที่มีความเหมาะสมจะใช้ระบบคลาวด์

5 การจัดสรรงบประมาณให้หน่วยงานต่างๆ: จัดสรรงบประมาณในการจัดหาระบบคลาวด์ และปรับลดงบประมาณด้านสารสนเทศอื่น ๆ

28
ระเบียบวาระที่ 2.2.2 การขับเคลื่อนตามนโยบายการใช้คลาวด์เป็นหลัก (Cloud First Policy)
สิงคโปร์ ฮ่องกง สหภาพยุโรป

สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ประเทศไทย

29
ระเบียบวาระที่ 2.2.2 การขับเคลื่อนตามนโยบายการใช้คลาวด์เป็นหลัก (Cloud First Policy)
สถานการณ์ปัจจุบัน (As is) Vs. แนวทางที่จะดาเนินการ (To be)

A
A1 A3
A2

Government Cloud Management

สถาปัตยกรรมโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการประมวลผลของหน่วยงานภาครัฐ
1. คลาวด์ระดับกระทรวง (Ministry Cloud) ให้บริการกรมและหน่วยงานภายใต้กระทรวง
2. คลาวด์ระดับกรม (Agency Cloud) มีเฉพาะกรมที่มีศักยภาพดูแลคลาวด์ของหน่วยงานเอง
3. คลาวด์กลางภาครัฐ (Government Data Center and Cloud service หรือ GDCC) Cloud Service
4. คลาวด์สาธารณะ (Public Cloud) การใช้บริการจากผู้ให้บริการระบบคลาวด์สาธารณะ
เช่น AWS Google AZURE Huawei เป็นต้น etc.

= 41,092 VM ความต้องการในอนาคต = 988,733 VM*


* ประมาณการจากหน่วยงานภาครัฐ จานวน 27 กลุ่มหน่วยงาน ในทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค หากมีการมาใช้ระบบคลาวด์กันทั้งประเทศ 30
ระเบียบวาระที่ 2.2.2 การขับเคลื่อนตามนโยบายการใช้คลาวด์เป็นหลัก (Cloud First Policy)

โครงสร้างความสัมพันธ์
ของข้อมูลกับการใช้
บริการคลาวด์

31
ระเบียบวาระที่ 2.2.2 การขับเคลื่อนตามนโยบายการใช้คลาวด์เป็นหลัก (Cloud First Policy)
แนวทางการขับเคลื่อนตามนโยบายการใช้คลาวด์เป็นหลัก
1. บริหารจัดการความต้องการใช้คลาวด์ (Demand)
• จาแนกประเภทข้อมูลภาครัฐ คณะกรรมการเฉพาะด้านการขับเคลื่อนตาม
• จาแนกประเภทบริการคลาวด์ที่เหมาะสมกับการจัดเก็บข้อมูล นโยบายการใช้คลาวด์เป็นหลัก
• กาหนดมาตรฐานความมั่นคงปลอดภัยในการใช้บริการคลาวด์

2. บริหารจัดการให้มีบริการคลาวด์อย่างเพียงพอ (Supply) • กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม


• ร่วมมือกับผู้ให้บริการคลาวด์ และมีบริการตามมาตรฐานอย่างเพียงพอ • สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
• มีมาตรการส่งเสริมการลงทุน

3. บริหารจัดการด้วย Government Cloud Management


• กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
• บริหารจัดการความต้องการใช้บริการ และการให้บริการคลาวด์ให้เป็น
• หน่วยงานภายใต้ที่เกี่ยวข้อง
ไปตาม SLA ความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ และมาตรฐานที่กาหนด

4. ปรับปรุงระบบนิเวศการใช้บริการคลาวด์ • กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
• ปรับปรุงกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง รูปแบบการจัดทางบประมาณ • กระทรวงการคลัง
เพื่อรองรับการเช่าใช้บริการคลาวด์ • สานักงบประมาณ
• กรมบัญชีกลาง
32
ระเบียบวาระที่ 2.2.2 การขับเคลื่อนตามนโยบายการใช้คลาวด์เป็นหลัก (Cloud First Policy)

ขอเสนอที่ประชุมเพื่อรับทราบ
แนวทางการขับเคลื่อนตามนโยบายการเลือกใช้คลาวด์เป็นหลัก
(Cloud First Policy) และสถานะปัจจุบันของการดาเนินงานดังกล่าว

33
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องทราบ
2.2 การดาเนินงานด้านข้อมูลภาครัฐของประเทศไทย
2.2.3 การพัฒนาระบบคลาวด์กลางด้านสาธารณสุข
ของประเทศไทย

34
โครงการพัฒนาระบบคลาวด์กลางด้านสาธารณสุขของประเทศไทย
(ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 – 2568) 35
ระเบียบวาระที่ 2.2.3 การพัฒนาระบบคลาวด์กลางด้านสาธารณสุขของประเทศไทย
โครงการพัฒนาระบบคลาวด์กลางด้านสาธารณสุขของประเทศไทย (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 – 2568)
บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่าง สธ. กับ ดศ. เรื่องการ
ความเป็นมา พัฒนาคลาวด์ข้อมูลสุขภาพ เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2565
ระยะเวลาดาเนินงาน 27 เดือน (810 วัน) งบประมาณ 1,494,301,455 บาท ประกอบด้วย 2 กิจกรรม มติคณะรัฐมนตรี
กิจกรรมที่ 1 : การพัฒนาระบบบริหารจัดการการแลกเปลี่ยนข้อมูลสุขภาพทั่วประเทศ (1,109,000,000 บาท) 27 เดือน เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2566 ครม. อนุมัติ
1) ระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลสุขภาพ สาหรับเขตสุขภาพ (MOPH Data Exchange Gateway) ก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 – พ.ศ. 2568 และอนุมัติงบประมาณ
2) ระบบการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลกลาง (Central Data Exchange Service)
รายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 งบกลาง รายการเงินสารองจ่ายเพื่อกรณี
3) พัฒนาแพลตฟอร์มสารสนเทศกลาง เพื่อให้บริการผู้ป่วยนอก สาหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.)
ฉุกเฉินหรือจาเป็น
กิจกรรมที่ 2 : การจัดหาบริการระบบคลาวด์กลางด้านสาธารณสุข จานวน 4,311 VM (385,301,455 บาท) 20 เดือน

ประโยชน์ที่จะได้รับ
1. หน่วยบริการสุขภาพสามารถให้บริการได้อย่างสะดวก รวดเร็ว มีการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลตามมาตรฐาน
2. หน่วยบริการสุขภาพ (รพ. 807 แห่ง ) สามารถเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลสาหรับการวินิจฉัย วางแผนการรักษาเพิ่มประสิทธิภาพในการส่งต่อ ช่วยให้ยกระดับคุณภาพการให้บริการสุขภาพ และประสิทธิภาพใน
การรักษาของแพทย์
3. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) (4,507 แห่ง) สามารถบริหารจัดการและจัดเก็บข้อมูลบนระบบคลาวด์ในรูปแบบ Software as a Service อย่างมีมาตรฐาน และมีความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูล
4. ลดระยะเวลาในกรณีฉุกเฉิน แพทย์ผู้รักษาสามารถดูข้อมูลคนไข้ เพื่อให้การรักษาชีวิตของคนไข้ได้อย่างรวดเร็ว

ผลการดาเนินงาน
1. สานักงบประมาณ เห็นชอบความเหมาะสมของราคาโครงการฯ รวมวงเงินทั้งสิ้น 1,494,301,455 บาท กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาระบบบริหารจัดการการแลกเปลี่ยนข้อมูลสุขภาพทั่วประเทศ
• กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาระบบบริหารจัดการการแลกเปลี่ยนข้อมูลสุขภาพทั่วประเทศ ในวงเงิน 1,109,000,000 บาท • ลงนามสัญญาจ้างเลขที่ 5/2567 ลงวันที่ 22 ธันวาคม 2566 กับ กิจการค้าร่วม พีไอเอส ระยะเวลา
• กิจกรรมที่ 2 การจัดหาบริการระบบคลาวด์กลางด้านสาธารณสุข ในวงเงิน 385,301,455 บาท ดาเนินงาน 810 วันนับถัดจากวันที่ลงนามในสัญญา อยู่ระหว่างจัดส่งแผนงาน
2. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม อนุมัติขยายระยะเวลาก่อหนีผ้ ูกพันโดยไม่เพิ่มวงเงินก่อหนีผ้ ูกพัน กิจกรรมที่ 2 การจัดหาบริการระบบคลาวด์กลางด้านสาธารณสุข
เป็น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 – พ.ศ. 2569 • อยู่ในกระบวนการอนุมัติงบประมาณประจาปี พ.ศ. 2567 เพื่อดาเนินกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
ตามระเบียบต่อไป 36
ระเบียบวาระที่ 2.2.3 การพัฒนาระบบคลาวด์กลางด้านสาธารณสุขของประเทศไทย
การบูรณาการด้านระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลสุขภาพดิจิทัลและการเปลี่ยนระบบข้อมูลสุขภาพดิจิทัล

37
ระเบียบวาระที่ 2.2.3 การพัฒนาระบบคลาวด์กลางด้านสาธารณสุขของประเทศไทย

รพ.สต

ข้อมูลส่วนบุคคล ข้อมูลการเข้ารับบริการ
- เลขที่บัตรประจาตัวประชาชน - หน่วยให้บริการ
- ชื่อ นามสกุล - วันที/่ เวลา/สาเหตุที่เข้ารับบริการ
- ที่อยู่ ณ ปัจจุบัน - สิทธิการรักษา
- ชื่อ ที่อยู่ ของผู้ที่สามารถติดต่อ - สัญญาณชีพ
ได้ - อาการสาคัญ
- สิทธิการรักษา ณ ปัจจุบัน - ICD10
- โรคประจาตัว ในกลุ่ม NCD - ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ (LAB)

38
ระเบียบวาระที่ 2.2.3 การพัฒนาระบบคลาวด์กลางด้านสาธารณสุขของประเทศไทย

ขอเสนอที่ประชุมเพื่อรับทราบ
สถานะปัจจุบันของการดาเนินการพัฒนาระบบคลาวด์กลาง
ด้านสาธารณสุขของประเทศไทย

39
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องทราบ
2.3 การเชื่อมโยงและแลกเปลีย่ นข้อมูลเพื่ออานวยความ
สะดวกทางการค้าระหว่างประเทศ
2.3.1 ระบบ National Single Window (NSW)
โดย กรมศุลกากร และ บริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ
จากัด (มหาชน)

40
NSW
Operator

41
NT NSW Implementation Timeline

กรมศุลกากรและ CAT ลงนาม


สัญญาให้สิทธิ NSW Operator NT เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์บริการ NSW

16 ต.ค. 2561 22 ธ.ค. 2563 26 ธ.ค. 2564 1 ก.พ. 2566

ครม. เห็นชอบให้ CAT เป็ นองค์กร ตัดถ่ายการให้บริการ NSW จากระบบเดิม


ผู้ให้บริการ NSW (NSW Operator) ของกรมศุลกากรมาระบบใหม่ของ NT

42
© National Telecom All Rights Reserved
ภาพรวมระบบ NSW ที่ให้บริการโดย NT
NSW Operator Government Agency
NSW Service Provider
NSW User Customs Department Board of Investment

(NSP) : 8 NSPs Department of


Foreign Trade
Defense industrial
Department

Shipping Line Department of


Industrial Works
Industrial Estate
Authority of Thailand
Cross Border Trade Department of
Excise Department
Exchange Mineral Fuels
Air Line Department of Department of
Livestock Development Fisheries
B2G B2G e-Form
• NSW Website Food and Drug Office of the Cane
Importer • ระบบลงทะเบียน G2G Administration and Sugar Board

B2G / B2B Exchange G2G National Bureau of


• ระบบ SSO Agricultural Commodity
Department of Land
Exchange Transport
• ระบบ e-Tracking and Food Standards
Exporter • Help Desk & Call Department of Department of National
Parks Wildlife and Plant
Agriculture
B2B B2B e-Form Center
Conservation

Department of Energy Department of


Freight Forward Business Medical Sciences

Customs Broker Department of …. Department of …

Department of ….. Department of …

B2B ASW Bank & Insurance


Global Trade ITMX Department of …. Department of ….

CA Provider AEC Community


NT, INET, TDID IPPC Hub P2P
43
© N a t io n a l Te le co m A ll Rig h t s Re se r v e d
สถานะของการให ้บริการ
Government Agencies/
Commercial Banks Business Partners
Users Cross-border
Importers, Exporters, Transit
Operators
Customs Brokers, Shippers
Shipping Agents, Airlines
Insurance Companies
Private-owned Ports

17 banks 33 agencies (G2G) ~11,000 Users 10 ASEAN Member Countries


23 agencies (B2G) for the exchange of
ATIGA, ACDD e-Form D
10 Countries worldwide
Total Transaction : 10,000,000 transactions/month successful testing
for e-Phyto
44
© National Telecom All Rights Reserved
45
ระเบียบวาระที่ 2.3.1 ระบบ National Single Window (NSW) โดย กรมศุลกากร และ บมจ. โทรคมนาคมแห่งชาติ

ขอเสนอที่ประชุมเพื่อรับทราบ
สถานะการให้บริการระบบ National Single Window (NSW)

46
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องทราบ
2.3 การเชื่อมโยงและแลกเปลีย่ นข้อมูลเพื่ออานวยความ
สะดวกทางการค้าระหว่างประเทศ
2.3.2 แพลตฟอร์มการค้าดิจิทัลระหว่างประเทศ
(National Digital Trade Platform หรือ NDTP)
โดย สมาคมธนาคารไทย

47
From NDTP
To
PromptTrade & NDTP Ecology

What It Means for การข ับเคลือ


่ นยุทธศาสตร์ขอ
้ มูลของประเทศไทย

February 9, 2024
48
From NDTP to PromptTrade

• NDTP, National Digital Trade Platform, aimed to be a B2B platform to • JSCCIB, Thai Chamber of Commerce and Federation of Thai Industries
facilitate international trade digitization by connecting requested Thai Bankers Association(TBA) to proceed Trade Digitization
exporters/importers in Thailand to service providers in Thailand including further to build on from NDTP. TBA then started PromptTrade project in
B and G providers as well as counterparty country platforms. NDTP did early 2023.
not intend to be a single platform doing everything by itself but to be the • PromptTrade is being co-created by TBA member pilot banks and National
main avenue to facilitate/connect among service providers as well as ITMX.
between service providers and service recipients so that Trade • PromptTrade will facilitate/provide digital trade service focusing on
Digitization/Digitalization in Thailand is done in the most efficient way. banking-related functions/features and build on from NDTP.
• Formation of a new legal entity to own and operate NDTP was complexed
and not successful.
49
NDTP Phase 1 POC/Pilot Live at 2022 APEC

• Open Account Payments Term


Collection
• Both Import and Export
• 2 Corridors:
✓ Thailand-Japan
✓ Thailand-Singapore
• e-Document:
✓ Commercial Documents:
o e-Purchase Order
o e-Invoice
o e-Packing List
✓ Transport Documents:
o e-Bill of Lading
o e-Seaway Bill
✓ Others: pdf Attachments
including copy of transport
document
• Prove of Concept / Pilot Live
Transactions: Q3/Q4-2022
50
Multiple platforms/solutions to facilitate B2B documents and processes, including Thai Banks’
“PromptTrade”, are being developed by each stakeholder cluster/association and will be connected on
bilateral basis. These B2B platforms/solutions together are referred to as “NDTP Ecology”

Thailand Offshore
“B2G G2G”

TradeWaltz
Other B Intl
Trade
Stakeholders/
Service Legend:
Providers PromptTrade’s Scope
Prompt
SG TraDex Other services
Trade
Banks
Exporter/
Importer*
Others

NDTP Ecology Logistic Providers

“B2B”

* While using PromptTrade services, Exporter/Importer may have access to other service providers who maybe connected to PromptTrade to facilitate the
transaction processing to be efficient 51
Key Message

• We are moving forward on our B2B international trade journey, although not in the most ideal way/speed

• Without NDTP as the main avenue to connect exporters/importers, providers in Thailand, counterparty country platforms ->
– Spaghetti connectivity among multiple B2B platforms in Thailand
– Multiple connectivity for cross-border with counterparty country platforms
– Multiple windows for exporters and importers to B providers
– Inefficiency in cost/investment
– Even more challenges in adoption for each platform
– Challenges in data management / Big Data

• PromptTrade, with international exposure/connections with public, private and international organization e.g. APEC Business
Advisory Council, ASEAN Business Advisory Council, ICC, etc, is able to be the gateway to connect with cross-border platforms as
well as connect platforms/service providers in Thailand

• ETDA is working on commercial document data element schema for international invoice, packing list, purchase order, proforma
invoice, etc so platforms in Thailand, both B and G providers can inter-operate efficiently.

• ETDA and Office of the Council of State are working on the final step of to revise Electronic Transaction Act to
– Provide clarity on electronic transaction -> better understanding / assurance
– Incorporate electronic transferable records / alignment with MLETR (Model Law of Electronic Transferable Record) -> electronic Bill of Lading (e-B/L) 52
Appendix

53
NDTP Background
• National Digital Trade Platform (NDTP) project started in 2018 when the private sector community, mainly banks and
exporters/importers, got together and agreed that we ought to start digitizing international trade documents and processes to
improve efficiency (reduce inefficiency) and increase financing access for SMEs by reducing fraud risk.
• Discussion with NSW (Customs Department) clarified that NDTP would focus on B2B documents and processes while NSW would
focus and continue to work on the B2G and G2G. NDTP and NSW are to be connected to provide end-to-end and seamless process
for exporters, importers and other stakeholders.
• Public sector (government) has provided strong support and NDTP was tabled in the cabinet in September 2019 which resolved that
OPDC (Office of the Public Development Commission) would orchestrate various government units to work with JSCCIB who
represents the private sector to move forward NDTP.
• NDTP was included in ASEAN agenda when Thailand chaired ASEAN in 2019.
• There was a pause in NDTP due to business model and an establishment of a body to drive it. Thai Bankers Association (TBA) and
National ITMX Co. Ltd. (NITMX) then started working on Trade Document Registry (TDR) to handle functions/features for banks.
Double finance checking went live on TDR in February 2022 with the plan to connect to NDTP when NDTP is ready.
• At the end of 2021, JSCCIB requested NITMX to build NDTP to facilitate Phase 1 scope which is Open Account Trade with Thailand-
Japan and Thailand-Singapore corridors and to connect TDR to test the authenticity verification for financing.
• NDTP and Phase 1 scope work was completed and the POC/Pilot Live were executed successfully in October 2022. This was
showcased in APEC in November 2022.

54
About NDTP
• VTR providing NDTP story is available at this link: https://youtu.be/nk7Vr5e42S0

• Digital Trade Transformation Symposium on Dec 16th providing additional information on NDTP and
digital trade discussion is available at this link: https://youtu.be/ivGXS4tDMPU

55
ระเบียบวาระที่ 2.3.2 แพลตฟอร์มการค้าดิจิทัลระหว่างประเทศ (National Digital Trade Platform)

ขอเสนอที่ประชุมเพื่อรับทราบ
สถานะการให้บริการแพลตฟอร์มการค้าดิจิทัลระหว่างประเทศ
(National Digital Trade Platform หรือ NDTP)

56
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา
3.1 กรอบการดาเนินงานการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์
ข้อมูลของประเทศไทย

57
ระเบียบวาระที่ 3.1 กรอบการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ขอ้ มูลของประเทศไทย
ประเทศไทย: บริบทและที่มาของการดาเนินการด้านข้อมูล
Background 2019 สรุปผลการดาเนินการสาคัญ
ประกาศใช้นโยบายและแผนระดับชาติ • นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
2020
ว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล กาหนดกรอบการดาเนินการด้านข้อมูลบางส่วน
• ประกาศใช้แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล และสังคม เพื่อให้มั่นใจว่านโยบายด้าน
ของประเทศไทยเพื่อปรับเปลี่ยนการ
• การจัดตั้งหน่วยงานพัฒนาดิจิทัลฯ (สดช.) และหน่วยงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
ดิจิทัลของไทยจะมีความต่อเนื่อง
ให้บริการภาครัฐให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล (สพร.) ซึ่งจัดทาธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ รวมถึงดาเนินงานด้านข้อมูลที่สาคัญ
• ประกาศธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ 2021 • การประกาศใช้แพลตฟอร์มข้อมูลกลาง ทั้งระบบบัญชีข้อมูล ศูนย์กลางข้อมูล
เพื่อให้มีแนวทางการดาเนินงานด้าน ประกาศใช้ศูนย์กลางข้อมูลเปิดภาครัฐ เปิดภาครัฐ และศูนย์กลางข้อมูลเปิดภาครัฐ ส่งผลให้มีการประกาศรายชื่อชุด
ข้อมูลอย่างถูกต้อง และปลอดภัย เพื่อเป็นศูนย์กลางข้อมูลเปิดภาครัฐ
ข้อมูลหลากของหน่วยงานที่ต้องเผยแพร่ผ่านแพลตฟอร์มดังกล่าว
• จัดทาระบบบัญชีข้อมูลกลางภาครัฐ
(GD Catalog) สาหรับรวบรวมบัญชี 2023
ข้อมูลภาครัฐ
• จัดทาศูนย์กลางแลกเปลี่ยนข้อมูล
ประกาศรายชื่อชุดข้อมูลหลักของ เหตุผลที่ต้องมียุทธศาสตร์ข้อมูล
หน่วยงานให้หน่วยงานรัฐเผยแพร่
ภาครัฐ (GDX) เป็นศูนย์แลกเปลี่ยน ข้อมูลหลักไปยังแพลตฟอร์มข้อมูลกลาง
ข้อมูลกลางระหว่างหน่วยงานรัฐ
• ไม่มีการบังคับใช้มาตรฐานการเชื่อมโยงข้อมูลที่ชัดเจน
• ขาดความเข้าใจด้านการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และการบังคับใช้กฎหมาย PDPA
2024
• การเปิดเผยข้อมูลของภาครัฐยังไม่เพียงพอ
(ร่าง) ยุทธศาสตร์ข้อมูลแห่งชาติ • นโยบายของรัฐยังไม่ตรงจุด และยังไม่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูลอย่างแท้จริง
58
ระเบียบวาระที่ 3.1 กรอบการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ขอ้ มูลของประเทศไทย
เป้าหมายของร่างยุทธศาสตร์ข้อมูลของประเทศไทย
1 การยกระดับการให้บริการสาธารณะของภาครัฐ 2 การขับเคลื่อนเศรษฐกิจและการแข่งขัน
ปฏิรูประบบการให้บริการสาธารณะของหน่วยงานราชการ • สร้างตลาดและระบบนิเวศด้านข้อมูล (data ecosystem)
• ขับเคลื่อนด้วยข้อมูล (Data) และส่งเสริมการแลกเปลี่ยน เข้าถึง และใช้ข้อมูลให้เกิด
• เป็นรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ประโยชน์ในทุกภาคอุตสาหกรรม
• ให้บริการประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ไร้รอยต่อ • ขยายผลไปสู่การสร้างพันธมิตรด้านข้อมูลในระดับภูมิภาค
เพื่อให้เกิดประโยชน์ด้านพาณิชย์จากกระแสข้อมูลไร้พรมแดน

3 การมีโครงสร้างพื้นฐานทางข้อมูลที่คุณภาพ มีความปลอดภัย รองรับการเติบโตอย่างยั่งยืน


• พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางกฎหมาย เพื่อสร้างความสะดวกในการปฏิบัติตาม (ease of compliance)
• พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางทางเทคนิค เพื่อช่วยให้การดาเนินการต่างๆ เป็นไปโดยสะดวก มีมาตรฐาน และปลอดภัย
• พัฒนาทุนมนุษย์ เพื่อช่วยให้ภาคประชาชน ภาคธุรกิจ และภาครัฐสามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลได้มากขึ้น โดยจะเป็นรากฐานในการ
พัฒนาสังคมที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูลอย่างยั่งยืน

59
ระเบียบวาระที่ 3.1 กรอบการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ขอ้ มูลของประเทศไทย
ผลลัพธ์และเป้าประสงค์
ผลประโยชน์ต่อภาพรวมเศรษฐกิจ ผลประโยชน์ต่อภาพรวมด้านสาธารณะและสังคม
ประยุกต์ใช้ข้อมูลในทุกมิติเพื่อขับเคลื่อนตลาดและระบบนิเวศข้อมูล พัฒนาระบบบริหารจัดการข้อมูลของภาครัฐให้ตอบโจทย์ความ
(Data Ecosystem) รวมถึง เศรษฐกิจดิจิทัลของประเทศ และเพิ่มขีด ต้องการทางด้านนโยบายและภารกิจของรัฐบาลที่โปร่งใส ยุติธรรม
ความสามารถทางการค้าของภาคเอกชน และตรงต่อความต้องการของประชาชน

ออกแบบ วางแนวทางนโยบาย และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทคี่ านึงถึง


ส่งเสริมให้ประชาชนนาข้อมูลมาใช้ได้ง่าย เกิดประโยชน์ และเห็นผลจริง
ผลลัพธ์และผู้ใช้งาน (User-Centric and Goal Driven) เพื่อยกระดับ
ผ่านการยกระดับการเปิดเผยข้อมูลที่มีประสิทธิภาพของภาครัฐ รวมถึง
บริการสาธารณะและคุณภาพชีวิตของประชาชน รวมถึงการสร้าง
การอานวยความสะดวกในการเข้าถึงและตีความข้อมูล เช่น Data Visualization
โครงสร้างพื้นฐานด้านข้อมูล (Data Infrastructure) ที่ยั่งยืน

พัฒนาทักษะ กาลังคน และแรงงานที่มีความเชี่ยวชาญในด้านดิจิทัล เพิ่มศักย์ภาพการบูรณาการด้านการทางานระหว่างหน่วยงานภาครัฐ และ


เพื่อสร้างระบบเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูลและเทคโนโลยีดิจิทัล การส่งเสริมวัฒนธรรมด้านธรรมาภิบาลข้อมูล เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อน
นาไปสู่การเพิ่มอันดับความสามารถทางการแข่งขันด้านดิจิทัล การแก้ปัญหาที่เป็นระบบและเป็นมาตรฐานทัง้ ส่วนกลางและท้องถิน่

เสริมสร้างบทบาทและความสามารถในการสรรหาพันธมิตรด้านข้อมูล
ภายในประเทศ ขยายผลการดาเนินการภาครัฐสู่การบูรณาการร่วมกับเอกชน
60
ระเบียบวาระที่ 3.1 กรอบการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ขอ้ มูลของประเทศไทย

กรอบการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูลของประเทศไทย
เสาหลักการขับเคลื่อน หลักการยุทธศาสตร์

การมีธรรมาภิบาล
ข้อมูล
หลักการยุทธศาสตร์ที่ 1 หลักการยุทธศาสตร์ที่ 2 หลักการยุทธศาสตร์ที่ 3
การออกแบบระบบให้มี การต่อยอดระบบนิเวศทางด้าน เสริมศักยภาพทางด้านโครงสร้าง การส่งเสริมการร่วมมือทางด้าน
มาตรฐานและทางาน ข้อมูลที่สมบูรณ์ เพื่อสนับสนุนการ พื้นฐานทางกฎหมาย ทางเทคนิค ข้อมูลระหว่างภาครัฐและเอกชน
ร่วมกันได้ ให้บริการภาครัฐ และเพิ่มประโยชน์ และทุนมนุษย์ เพื่อเป็นรากฐานสู่ เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยและ
สาธารณะที่เกิดจากข้อมูล การพัฒนาอย่างยั่งยืน เสริมสร้างศักยภาพทางการ
การพัฒนาโดยยึดคน แข่งขัน
เป็นศูนย์กลาง

61
ระเบียบวาระที่ 3.1 กรอบการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ขอ้ มูลของประเทศไทย

62
ระเบียบวาระที่ 3.1 กรอบการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ขอ้ มูลของประเทศไทย
ความสอดคล้องของกรอบการดาเนินการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กับกรอบแนวทางการจัดทายุทธศาสตร์ขอ้ มูล
ประเทศไทย ตามมติคณะกรรมการดิจิทัลเพือ่ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ครั้งที่ 1/2564

63
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ข้อมูลของประเทศไทย
วัตถุประสงค์: การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ข้อมูลของภาครัฐให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศ โดยให้ประชาชนเป็นศูนย์กลาง
การมีโครงสร้างพื้นฐานทางข้อมูล ขอบเขต ข้อมูลที่ภาครัฐ
การยกระดับการให้บริการ การขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เป้าหมาย ที่คุณภาพ มีความปลอดภัย
การใช้บังคับ เป็นผู้ควบคุมและมีอานาจ
สาธารณะของภาครัฐ รองรับการเติบโตอย่างยั่งยืน และการแข่งขัน ในการบริหารจัดการ
การต่อยอดระบบนิเวศทางด้านข้อมูลของไทย การเสริการคุ
มศักยภาพทางด้
้มครองข้อมูลานโครงสร้างพื้นฐาน การส่งเสริมการร่วมมือทางด้านข้อมูลระหว่างภาครัฐ
ยุทธศาสตร์ เพื่อสนับสนุนการให้บริการภาครัฐ ทางกฎหมาย ทางเทคนิค และทุนมนุษย์ และเอกชน เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยและเสริมสร้าง
และเพิ่มประโยชน์สาธารณะที่เกิดจากข้อมูล เพื่อเป็นรากฐานสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน ศักยภาพทางการแข่งขัน

กลยุทธ์ที่ 1 กลยุทธ์ที่ 1 กลยุทธ์ที่ 1


ยกระดับโครงสร้างพื้นฐานทางเทคนิค เพื่อให้มีสถาปัตยกรรม
ต่อยอดจากระบบนิเวศทางด้านข้อมูลเพื่อ ทางข้อมูลที่ทันสมัย และมีความมั่นคงปลอดภัย สร้างแพลตฟอร์มที่เป็นฐานข้อมูลกลางรวมข้อมูล
ต่อยอดจากระบบนิเวศทางด้านข้อมูลเพื่อ
ยกระดับการให้บริการภาครัฐ กลยุทธ์ที่ 2 ระหว่างภาครัฐและเอกชนไว้ในที่เดียวกัน
ยกระดับการให้บริการภาครัฐ
กลยุทธ์ ต่อยอดจากโครงสร้างพื้นฐานทางกฎหมายที่มีอยู่เดิม
กลยุทธ์ที่ 2 เพื่อส่งเสริมการใช้สิทธิของประชาชน เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กลยุทธ์ที่ 2

ประเมินความต้องการใช้ข้อมูลและผลตอบ กลยุทธ์ที่ 3
รับของข้อมูลแต่ละชุดอย่างสม่าเสมอ เพื่อ พัฒนาทุนมนุษย์ให้มีความพร้อมตอบรับสังคม
สร้างพันธมิตรทางด้านข้อมูล
สร้างประโยชน์สูงสุดจากข้อมูลสาธารณะ ที่มีข้อมูลเป็นศูนย์กลาง ระหว่างหน่วยงานรัฐและเอกชน

การออกแบบระบบให้มีมาตรฐานและ
เสาหลัก การพัฒนาโดยยึดคนเป็นศูนย์กลาง
ทางานร่วมกันกับระบบอื่นได้
การมีธรรมาภิบาลข้อมูล
64
ระเบียบวาระที่ 3.1 กรอบการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ขอ้ มูลของประเทศไทย
หลักการยุทธศาสตร์ที่ 1 การต่อยอดระบบนิเวศทางด้านข้อมูลที่สมบูรณ์ เพื่อสนับสนุนการให้บริการภาครัฐ และเพิ่มประโยชน์สาธารณะที่เกิดจากข้อมูล
กลยุทธ์ที่ 1 ต่อยอดจากระบบนิเวศทางด้านข้อมูลเพื่อยกระดับ กลยุทธ์ที่ 2 ประเมินความต้องการใช้ข้อมูลและผลตอบรับของข้อมูลแต่ละชุดอย่าง
การให้บริการภาครัฐ สม่าเสมอ เพื่อสร้างประโยชน์สูงสุดจากข้อมูลสาธารณะ
เป้าประสงค์ เป้าประสงค์
• ต่อยอดระบบนิเวศทางด้านข้อมูลของประเทศไทยให้มีสมบูรณ์ • ส่วนราชการที่ถือครอง Catalog ของตนเอง ควรมีกระบวนการสารวจความพึงพอใจและ
• ยกระดับบริการของภาครัฐ และผลักดันการใช้ประโยชน์จากข้อมูล ความต้องการของผู้ใช้ข้อมูลอย่างสม่าเสมอ เพื่อจัดทาข้อมูลให้ตรงกับความต้องการผู้ใช้
• เป็นรากฐานในการพัฒนาสังคมที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูล
กิจกรรม
กิจกรรม 1. ส่วนราชการในฐานะ Agency Data Catalog เปิดช่องทางให้ผู้ใช้แสดงความเห็นต่อชุดข้อมูล
1. คณะกรรมการเฉพาะด้านการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ดูแลภาพรวมของระบบ
นิเวศข้อมูลให้สามารถสร้างประโยชน์ได้สูงทีส่ ุด ภายใน Catalog อย่างน้อยทุก 1 ปี เพื่อนามาปรับปรุงชุดข้อมูลให้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้
2. ให้หน่วยงานรัฐแสดงรายชื่อข้อมูลที่ตนถือครองต่อหน่วยงานกลาง โดยระบุ 2. ส่วนราชการนาข้อมูลที่ไม่เป็นที่ต้องการออกจากระบบ แต่ให้คงชุดคาอธิบายข้อมูล (Metadata)
เหตุผล กรณีที่เลือกจะไม่เปิดเผยชุดข้อมูล ของข้อมูลดังกล่าวไว้ ในกรณีที่มีผู้ประสงค์เข้าใช้ จะได้สามารถติดต่อขอรับข้อมูลได้อย่างสะดวก

ตัวอย่างการใช้ประโยชน์จากข้อมูล

65
ระเบียบวาระที่ 3.1 กรอบการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ขอ้ มูลของประเทศไทย
หลักการยุทธศาสตร์ที่ 2 เสริมศักยภาพทางด้านโครงสร้างพื้นฐานทางกฎหมาย ทางเทคนิค และทุนมนุษย์ เพื่อเป็นรากฐานสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน
กลยุทธ์ที่ 1 ยกระดับโครงสร้างพื้นฐานทางเทคนิค เพื่อให้มี กลยุทธ์ที่ 2 ต่อยอดโครงสร้างพื้นฐานทางกฎหมายที่ กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาทุนมนุษย์ให้มีความพร้อมตอบรับ
สถาปัตยกรรมข้อมูลทันสมัย และเป็นรากฐานการพัฒนา มีอยู่เดิม เพื่อส่งเสริมการใช้สิทธิ์ของประชาชน สังคมที่มีข้อมูลเป็นศูนย์กลาง
เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์
ยกระดับโครงสร้างพื้นฐานการออกแบบระบบการให้บริการและ มีเครื่องมือ เพื่ออานวยความสะดวกให้ประชาชนและ พัฒนาทักษะด้านดิจิทัลให้กับประชาชน รวมถึง เจ้าหน้าที่รัฐ
สถาปัตยกรรมทางข้อมูลของหน่วยงานภาครัฐ ให้มีความ ผู้ปฏิบัติงานเข้าใจและตระหนักรู้ถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เอกชน และภาคการศึกษาในทุกช่วงวัย เพื่อเป็นรากฐานสู่การ
ปลอดภัยและสามารถทางานร่วมกันได้อย่างไร้รอยต่อ พัฒนาระบบเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูลอย่างยั่งยืน

กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม


1. หน่วยงานภาครัฐกาหนดมาตรฐานความมั่นคงปลอดภัย 1. จัดทาแนวปฏิบัติสาหรับเจ้าหน้าที่ปฏิบัตกิ ารเกีย่ วกับการ 1. จัดทาสื่อประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากข้อมูล
ทางไซเบอร์อย่างชัดเจน เพื่อป้องกันความเสียหายจาก นา พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลฯ มาใช้ โดยให้ความสาคัญกับการใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่นามาใช้
การละเมิดข้อมูล (Data Breach) 2. สร้างเครื่องมือสาหรับประชาชน ในการใช้สิทธิ์ตาม ต่อได้ทันที เช่น Visualization หรือ Dashboard เป็นต้น
2. หน่วยงานภาครัฐออกแบบระบบการบันทึกข้อมูล และ พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลฯ ของตนเองที่เข้าใจได้ 2. ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ทั้งภาครัฐและเอกชน ให้สามารถใช้
สถาปัตยกรรมข้อมูลให้สามารถทางานร่วมกันได้ ตาม และมีขั้นตอนการดาเนินการไม่ซับซ้อน ประโยชน์จากข้อมูลเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจได้
Interoperability Framework เพื่อลดต้นทุนในการ
แบ่งปันข้อมูล หรือเชื่อมฐานข้อมูลระหว่างหน่วยงาน

66
ระเบียบวาระที่ 3.1 กรอบการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ขอ้ มูลของประเทศไทย
หลักการยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมการร่วมมือทางด้านข้อมูลระหว่างภาครัฐและเอกชน เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยและเสริมสร้างศักยภาพทางการแข่งขัน
กลยุทธที่ 1 สร้างแพลตฟอร์มที่เป็นฐานข้อมูลกลางรวมข้อมูลระหว่างภาครัฐ กลยุทธที่ 2 การสร้างพันธมิตรทางด้านข้อมูลระหว่างหน่วยงานรัฐและเอกชน
และเอกชนไว้ในที่เดียวกัน
เป้าประสงค์ เป้าประสงค์
สร้างแพลตฟอร์มที่รวมข้อมูลในแต่ละภาคอุตสาหกรรม โดยรวมข้อมูลทั้งจาก หน่วยงานภาครัฐและเอกชนร่วมมือกันในการเชื่อมโยงฐานข้อมูลระหว่างภาครัฐและ
หน่วยงานรัฐกับเอกชน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและสร้าง เอกชน เพื่อเพิ่มประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นจากการมีสินค้าและบริการ
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการพัฒนาสูเ่ ศรษฐกิจที่มีข้อมูลเป็นศูนย์กลาง ที่ทันสมัยและหลากหลาย
กิจกรรม กิจกรรม
1. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องหารือร่วมกับผู้มีส่วนได้สว่ นเสียในภาคอุตสาหกรรม โดย 1. สร้างพันธมิตรทางด้านข้อมูลระหว่างภาครัฐและเอกชน โดยเน้นบริการที่
ให้หน่วยงานที่ดูแลภาพรวมด้านระบบนิเวศข้อมูลทาหน้าที่ให้คาปรึกษาถึง สามารถแก้ปัญหาสาธารณะ เช่น บริการเพื่อคนพิการ คนด้อยโอกาส
แนวทาง มาตรฐานทางด้านความปลอดภัย และสถาปัตยกรรมด้านข้อมูล ทางสังคม โดยอาจใช้ข้อมูลจากกรมการปกครอง เป็นต้น
2. สร้างแพลตฟอร์มที่รวมข้อมูลทั้งจากภาครัฐและเอกชนในแต่ละ 2. สร้างพันธมิตรทางด้านข้อมูลระหว่างภาครัฐและเอกชน โดยเน้นการสนับสนุน
ภาคอุตสาหกรรม โดยหลังจากดาเนินการแล้วให้ส่ง Data Catalog ของ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม วิสาหกิจชุมชน และวิสาหกิจกลุ่ม Startup
หน่วยงานไปลงทะเบียนใน GD Catalog เพื่อให้ข้อมูลสามารถสืบค้นได้
โดยง่าย และข้อมูลรวมอยู่ในแหล่งเดียว

67
ระเบียบวาระที่ 3.1 กรอบการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ขอ้ มูลของประเทศไทย
หลักการ กลยุทธ์ 3-1/3-2: สร้างกรอบการแบ่งปันข้อมูลระหว่างรัฐและเอกชน 1-1: ยุทธศาสตร์ข้อมูลประจากระทรวง ศึกษาแนวทางและประยุกต์ใช้
หมายเหตุ 1 - 1 เพื่อสนับสนุนการดาเนินการจัดตั้งพันธมิตรข้อมูลและบูรณาการข้อมูลใน กาหนดให้แต่ละกระทรวงต้องมียุทธศาสตร์ เทคโนโลยีสมัยใหม่ (ระยะถัดไป)
ขั้นต่อไป (2569) ข้อมูลที่อ้างอิงจากยุทธศาสตร์ข้อมูล ศึกษาแนวทางและประยุกต์ใช้
1-1: จัดตั้งหน่วยงานกลางเพื่อขับเคลื่อน 2-3: เพิ่มตาแหน่งเฉพาะทางด้านข้อมูลภายในหน่วยงานรัฐ ระดับชาติ (2569) เทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น Machine
การดาเนินการด้านข้อมูลทั้งระบบ learning เพื่อการยกระดับการ
กาหนดตาแหน่งงานที่เกี่ยวกับข้อมูลและมีเส้นทางการเติบโตในองค์กร 3-1: สร้างแพลตฟอร์มกลางเพื่อบูรณาการ
(ปี 2566 ขั้นเตรียมการยุทธศาสตร์) เช่น นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล ผู้จัดการข้อมูล โดยมีตาแหน่งงานเพิ่มขึ้น ให้บริการสาธารณะของแต่ละ
ข้อมูลภาครัฐและเอกชน
หน่วยงาน โดยให้ สดช. เป็นผู้
ให้คณะกรรมการฯ โดยมี สดช. เป็น อย่างน้อย 2 ตาแหน่งต่อปี ในทุกส่วนราชการ (2569-2571) มีอุตสำหกรรมนำร่องในปี 2569 แล้วเสร็จในปี ขับเคลื่อนการศึกษาและให้ สพร.
หน่วยงานสนับสนุน เพื่อทาให้เกิดเอกภาพ 2571
2-2: แนวปฏิบัติด้านการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เป็นผู้สนับสนุน
ในการดาเนินการอย่างต่อเนื่อง
ให้ สคส. จัดทา Checklist ออนไลน์ที่เข้าใจง่าย (2568) 3-2: สร้างเครือข่ายพันธมิตรทางด้านข้อมูล สร้างระบบนิเวศด้านข้อมูล
2-2: จัดทาประกาศคณะกรรมการข้อมูล ระหว่างรัฐบาลและเอกชน เพื่อแก้ไข
ข่าวสารราชการเพิ่มเติม ในระดับภูมิภาค (ระยะถัดไป)
2-1: จัดทา Checklist ด้านการรักษาความปลอดภัย ปัญหาบางประการ มีโครงการนาร่องในอุตสาหกรรม
เพื่อกำหนดประเภทของข้อมูลทีห่ น่วยงำน ทางไซเบอร์
มีโครงกำรนำร่องในปี 2569 และวัดผลสัมฤทธิ์ของ สาคัญ เช่น การเงินการธนาคาร
ของรัฐจะต้องเปิดเผยเพื่อลดขั้นตอนกำร รวบรวมหลักการและข้อกาหนดโดยคณะกรรมการรักษาความมั่นคง โครงกำรนำร่องในปี 2571 และคมนาคมขนส่ง
ดำเนินงำน เช่น ข้อมูลสถิติ ข้อมูลวิจัย เป็นต้น ปลอดภัยไซเบอร์ เพื่อให้หน่วยงานปฏิบัติตามได้ง่าย (2568)

ขั้นเตรียมการ ปี 2567 ปี 2569 ปี 2571 ขั้นต่อไป


1-2: สารวจและประเมินจานวน คุณภาพและประโยชน์จากชุดข้อมูลภายในในทุกขั้นตอนวงจรชีวิตของข้อมูล โดยจัดทาทุกปีและเสนอ สดช. (2567-2571)
3-1: บูรณาการกับหน่วยงานและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้านข้อมูลอย่างเป็นระบบ: กระตุ้นให้หน่วยงานรัฐนา มรด. 2-1 เกี่ยวกับกรอบการเชื่อมโยงข้อมูลภาครัฐ เพื่อให้ข้อมูลรัฐเชื่อมกันได้ง่าย โดยต้องมีหน่วยงานรัฐที่
ได้รับการประเมิน จาก สพร. ว่าดาเนินการตาม มรด. 2-1 เพิ่มขึ้นปีละร้อยละ 30 (2567-2571)
2-3: ลงทุนในโครงการพัฒนาทักษะด้านข้อมูลรายองค์กร (ปีละ 1 โครงการ) โดยอ้างถึงความสามารถในการอ่านข้อมูล วิเคราะห์ และตีความเป็นตัวชี้วัด
2-2 สร้างแรงจูงใจทางบวกในการปฏิบัติตามประกาศหรือกฎระเบียบที่ประกาศใช้ในปัจจุบัน เช่น การมอบรางวัลให้แก่หน่วยงานของรัฐที่มุ่งมั่นปฏิบัติตามแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล 68
ระเบียบวาระที่ 3.1 กรอบการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ขอ้ มูลของประเทศไทย
กลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูลในระดับหน่วยงาน
กาหนดให้หน่วยงานภาครัฐจะต้องจัดทา
แผนยุทธศาสตร์ข้อมูลของหน่วยงาน

หน่วยงาน
แผนยุทธศาสตร์ข้อมูล
ของหน่วยงานภาครัฐ
1 หน่วยงานภาครัฐตระหนักรู้ถึงสถานการณ์
ด้านข้อมูล สถาปัตยกรรมข้อมูล มาตรฐาน
ด้านดิจิทัล และโครงสร้างด้านข้อมูลของ
เผยแพร่ หน่วยงานตนเองอย่างเป็นระบบ
แผนยุทธศาสตร์ข้อมูล
จัดทา คู่มือการจัดทา หน่วยงาน
“แผนยุทธศาสตร์ข้อมูล”
ของหน่วยงานภาครัฐ
ยุทธศาสตร์ข้อมูลของ
แผนยุ
2 หน่วยงานสามารถวางแผน ออกแบบ และ
ดาเนินการขับเคลื่อนการบริหารจัดการข้อมูล
หน่วยงาน หน่วทยงานภาครั
ธศาสตร์ข้อฐมูล
ภายในหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ของหน่วยงานภาครัฐ

หน่วยงาน
แผนยุทธศาสตร์ข้อมูล
ของหน่วยงานภาครัฐ
3 นาไปสู่การดาเนินการต่อยอดการบูรณาการ
ข้อมูลระหว่างหน่วยงาน และนาไปใช้
ประโยชน์สร้างสรรค์นวัตกรรมและ
กากับติดตามการดาเนินงาน สร้างมูลค่าเพิ่ม
โดย
69
ระเบียบวาระที่ 3.1 กรอบการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูลของประเทศไทย

ขอเสนอที่ประชุมเพื่อพิจารณา
1. เห็นชอบ (ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ข้อมูลของประเทศไทย โดยมอบหมายให้ สดช. จัดทารายละเอียด
ก่อนเสนอคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเพื่อให้ความเห็นชอบต่อไป
2. เห็นชอบกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูลในระดับหน่วยงาน โดยมอบหมายให้ สดช. จัดทาคู่มือ
การจัดทา “แผนยุทธศาสตร์ข้อมูล” ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ข้อมูลของประเทศไทย ก่อนเสนอ
คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และคณะรัฐมนตรี เพื่อเห็นชอบให้หน่วยงานภาครัฐ
จัดทาแผนยุทธศาสตร์ข้อมูล ต่อไป

70
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา
3.2 การติดตามและประเมินผลการดาเนินการตาม
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ข้อมูลของประเทศไทย

71
ระเบียบวาระที่ 3.2 การติดตามและประเมินผลการดาเนินการตาม (ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ข้อมูลของประเทศไทย
หลักคิดในการผลักดัน
การผลักดันให้เกิดการใช้งานร่วมกัน ประหยัด ปลอดภัย คุ้มค่า

One Data – Muti Service


Services Data Data Services
Data Data
Data

72
ระเบียบวาระที่ 3.2 การติดตามและประเมินผลการดาเนินการตาม (ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ข้อมูลของประเทศไทย

กลไกการติดตามและประเมินผล (Back-Test Model Development)

2 การติดตามและประเมินผล

1 ข้อมูลความพร้อมของ 3
แผนการดาเนินงาน หน่วยงาน
แผนการพัฒนา และตัวชี้วัด
ข้อมูลความต้องการข้อมูล

ทบทวน ปรับปรุง และพัฒนาแผนยุทธศาสตร์/นโยบาย/มาตรการ กลไกต่าง ๆ

73
ระเบียบวาระที่ 3.2 การติดตามและประเมินผลการดาเนินการตาม (ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ข้อมูลของประเทศไทย
แนวทางการดาเนินการ
1 สารวจความพร้อม
หน่วยงาน Common
2 สนับสนุนการจัดเก็บ
ร่วมกัน
3 จัดให้มี Data Exchange
Platform
4 ส่งเสริมให้เกิดการใช้งาน
o เพิ่มข้อมูลที่จาเป็น
o เพิม่ ความปลอดภัย
Data & Demand o เพิม่ ผู้ใช้งาน

ผลที่คาดว่าจะได้รับจาก “แบบสารวจความพร้อมและความต้องการของหน่วยงาน”

1. ความพร้อมของหน่วยงาน ความสามารถบุคลากร/ความเข้าใจคลาวด์
2. ความพร้อมในการแบ่งปันข้อมูล มีข้อมูลอะไร และระดับใด
ผลที่คาดว่า 3. ความต้องการใช้งานข้อมูล ต้องการใช้จากหน่วยงานอื่นๆ
จะได้รับ 4. ความต้องการใช้งานบริการคลาวด์ ทรัพยากรปัจจุบัน/อนาคต
5. ด้านความปลอดภัย มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง
6. ภาพรวมแอปพลิเคชันของแต่ละหน่วยงาน ภาษา/งบ/กลุ่มระบบของแอปพลิเคชัน

74
ระเบียบวาระที่ 3.2 การติดตามและประเมินผลการดาเนินการตาม (ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ข้อมูลของประเทศไทย
มิติการติดตามและประเมินผล (ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ข้อมูล

ด้านโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล ด้านความพร้อมและการใช้งานข้อมูล
- Infrastructure - Data Usage
(HW/ SW / Network) - ความต้องการใช้ข้อมูล
- Digital Manpower - ความสามารถด้านข้อมูล
- Budget (ระดับความ Digitize)
- Standard

ด้านการรักษาความปลอดภัยข้อมูล ด้านความสามารถในการแบ่งปันข้อมูล
- Data Policy
- Data Governance
- Cyber Security
- Data Sharing
- Digital Technology Policy
- Data Catalogue
- Legal & Regulatory Mechanism 75
ระเบียบวาระที่ 3.2 การติดตามและประเมินผลการดาเนินการตาม (ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ข้อมูลของประเทศไทย
ตัวอย่าง การแสดงผลลัพธ์จากการสารวจความพร้อมและความต้องการของหน่วยงาน
ความพร้อมหน่วยงาน

ด้านโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล
ด้านความพร้อมและการใช้งานข้อมูล
ด้านความสามารถในการแบ่งปันข้อมูล

ด้านการรักษาความปลอดภัยข้อมูล

76
ระเบียบวาระที่ 3.2 การติดตามและประเมินผลการดาเนินการตาม (ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ข้อมูลของประเทศไทย
ตัวอย่าง Data Dashboard

จานวนกลุ่มตัวอย่าง ภาพรวมสถานะข้อมูล ภาพรวม Data Demand Data Supply

XX Star/Data Group
หน่วยงาน
0 Star
DG1. DG2. DG3. DG4. DG5 DG1. DG2. DG3. DG4. DG5
1 Star
XX 2 Star
กระทรวง
3 Star
4 Star
ประมาณการรายจ่ายการจัดการข้อมูล
% กลุ่มตัวอย่างภายใต้หน่วยงาน
กระทรวง B 5 Star
บารุงรักษา
กระทรวง C
กระทรวง D Star/หน่วยงาน
กระทรวง E กระทรวง A
จัดซื้อ
กระทรวง F กระทรวง B
กระทรวง G กระทรวง C
กระทรวง H
กระทรวง D

77
ระเบียบวาระที่ 3.2 การติดตามและประเมินผลการดาเนินการตาม (ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ข้อมูลของประเทศไทย

แนวทางการติดตามและประเมินผล

1 สานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) ดาเนินการติดตามและประเมินผล ผ่านการสารวจ


ความพร้อมในการดาเนินการด้านข้อมูลและด้านคลาวด์เป็นประจาทุกปี

2 หน่วยงานภาครัฐดาเนินจัดทาแบบสารวจดังกล่าว และรายงานผลให้ สดช. เพื่อดาเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป

3 สดช. รวบรวมและวิเคราะห์ผลการสารวจโดยให้อยู่ในรูปแบบ Dashboard พร้อมทั้งนาเสนอการผลสารวจและ


แนวทางการขับเคลื่อนการดาเนินงานยุทธศาสตร์ข้อมูล ต่อคณะกรรมการเฉพาะด้านการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูล
และคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ทราบเป็นประจาทุกปี

4 สดช. นาข้อมูลที่ได้จากการสารวจความพร้อมในการดาเนินการด้านข้อมูลและด้านคลาวด์มาใช้ประโยชน์ต่อยอดในการจัดทา
นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลื่อนการดาเนินการด้านคลาวด์และด้านข้อมูลของประเทศไทยต่อไป
78
ระเบียบวาระที่ 3.2 การติดตามและประเมินผลการดาเนินการตาม (ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ข้อมูลของประเทศไทย

ขอเสนอที่ประชุมเพื่อพิจารณา
1. เห็นชอบแนวทางการติดตามประเมินผลการดาเนินการตาม (ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ข้อมูลของประเทศไทย
2. มอบหมาย สดช. นาเสนอคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติพิจารณาให้ความเห็นชอบ
ข้อเสนอแนวทางการติดตามและประเมินผ่านการสารวจความพร้อมในการดาเนินการด้านข้อมูลและด้าน
คลาวด์ ก่อนนาเสนอคณะรัฐมนตรี เพื่อเห็นชอบและมอบหมายหน่วยงานภาครัฐดาเนินการ
ตอบแบบสารวจต่อไป
3. มอบหมาย สดช. ดาเนินการจัดทารายงานผลการติดตามและประเมินผลการดาเนินการตาม (ร่าง) กรอบ
ยุทธศาสตร์ข้อมูลของประเทศไทย โดยนาเสนอคณะกรรมการเฉพาะด้านการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้อมูล
และคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ทราบเป็นประจาทุกปี

79
ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องอื่น ๆ (ถ้ามี)

80
สานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
81
- Back Up Slide -
ระเบียบวาระที่ 3.2 การติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์จากข้อมูล
ประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง ธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ ประกาศเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2563
ข้อ 3 ให้หน่วยงานของรัฐดาเนินการให้เป็นไปตามธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ และจัดทาธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐในระดับหน่วยงานให้สอดคล้องกับธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ
ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มข้อมูลกับกลุ่มกระบวนการปฏิบัติงาน
1. กลุ่มกระบวนการด้านยุทธศาสตร์ 4. กลุ่มกระบวนการสนับสนุน

D30: ข้อมูลพนักงาน
D31: ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้าง
D32: ข้อมูลพัสดุ
2. กลุ่มกระบวนการออกแบบและพัฒนา

5. กลุ่มกระบวนการวัดและประเมินผล
3. กลุ่มกระบวนการให้บริการ

ที่มา : ประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง ธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ


83
ระเบียบวาระที่ 3.2 การติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์จากข้อมูล
โครงสร้างแบบสารวจ แบ่งออกเป็น 9 ส่วน

1 แบบสารวจตนเองของหน่วยงาน 6 การให้บริการข้อมูล

2 แบบสารวจด้านความต้องการใช้บริการคลาวด์
7 การจัดซื้อ จัดหาข้อมูล

3 ปัญหาในการดาเนินงาน และการจัดซื้อจัดจ้าง 8 การเปิดเผยข้อมูลของหน่วยงานในปัจจุบัน

4 ด้านข้อมูล 9 การพัฒนาซอฟต์แวร์เฉพาะทาง

5 ความต้องการใช้ข้อมูลจากหน่วยงานอื่น

84
ระเบียบวาระที่ 3.2 การติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์จากข้อมูล
ตัวอย่าง การแสดงผลลัพธ์จากการสารวจความพร้อมและความต้องการของหน่วยงาน
ความพร้อมในการแบ่งปันข้อมูล
กลุ่มข้อมูลตาม Open Data กลุ่มข้อมูลตามชั้นความลับ

ความพร้อมโดยรวมขององค์กร ข้อมูลความพร้อมแต่ละระดับดาว โดยจัดกลุ่มตามชั้นความลับ


ใช้ระดับดาวของข้อมูลจานวนมากที่สุด กาหนดความพร้อมของหน่วยงาน 85
ระเบียบวาระที่ 3.2 การติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์จากข้อมูล
ตัวอย่าง การแสดงผลลัพธ์จากการสารวจความพร้อมและความต้องการของหน่วยงาน

ความพร้อมในการแบ่งปันข้อมูล
กลุ่มข้อมูลตามแหล่งที่ให้บริการข้อมูล กลุ่มข้อมูลตามบัญชีข้อมูลภาครัฐ

86
ระเบียบวาระที่ 3.2 การติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์จากข้อมูล
ตัวอย่าง การแสดงผลลัพธ์จากการสารวจความพร้อมและความต้องการของหน่วยงาน

ความต้องการใช้ข้อมูล

กลุ่มข้อมูลตามประเภทแหล่งที่มาข้อมูล กลุ่มข้อมูลตามบัญชีข้อมูลภาครัฐ

87
ระเบียบวาระที่ 3.2 การติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์จากข้อมูล
ตัวอย่าง การแสดงผลลัพธ์จากการสารวจความพร้อมและความต้องการของหน่วยงาน
การจัดซื้อ และจัดหาข้อมูล
งบประมาณที่ใช้ในการจัดหาข้อมูล (ต่อปี) งบประมาณที่ใช้ในการบารุงรักษา

88
ระเบียบวาระที่ 3.2 การติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์จากข้อมูล
ตัวอย่าง การแสดงผลลัพธ์จากการสารวจความพร้อมและความต้องการของหน่วยงาน
งบประมาณที่ใช้ในการพัฒนาแอปพลิเคชัน
งบประมาณจัดซื้อและงบประมาณบารุงรักษา งบประมาณการที่ต้องเตรียมเพื่อพัฒนาแอปพลิเคชันในกรอบ 5 ปี
จัดกลุ่มข้อมูลตามตามประเภท Software (SW) จัดกลุ่มข้อมูลตามประเภท Software (SW)

89
ระเบียบวาระที่ 3.2 การติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์จากข้อมูล
ตัวอย่าง การแสดงผลลัพธ์จากการสารวจความพร้อมและความต้องการของหน่วยงาน

มาตรฐานที่หน่วยงานใช้ในการพิจารณา ภาพรวมแอปพลิเคชันของแต่ละหน่วยงาน

ISO ที่หน่วยงานใช้บริหารจัดการและรักษาความปลอดภัย จานวนภาษาที่ใช้พัฒนา Frontend ของแต่ละระบบ จานวนภาษาที่ใช้พัฒนา Backend ของแต่ละระบบ


แสดงสัดส่วน ISO ที่หน่วยงานเลือกใช้เป็นมาตรฐาน จัดกลุ่มข้อมูลตามประเภท Software (SW) จัดกลุ่มข้อมูลตามประเภท Software (SW)

90
ระเบียบวาระที่ 3.2 การติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์จากข้อมูล
ตัวอย่าง การแสดงผลลัพธ์จากการสารวจความพร้อมและความต้องการของหน่วยงาน
ฐานข้อมูลที่ใช้ในการพัฒนาระบบ
ฐานข้อมูลที่หน่วยงานเลือกใช้ จัดกลุ่มข้อมูลตามประเภท Software (SW)

91
ระเบียบวาระที่ 3.2 การติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์จากข้อมูล
ตัวอย่าง Data Dashboard

จานวนกลุ่มตัวอย่าง ภาพรวมสถานะข้อมูล ภาพรวม Data Demand Data Supply

XX Star/Data Group
หน่วยงาน
0 Star
DG1. DG2. DG3. DG4. DG5 DG1. DG2. DG3. DG4. DG5
1 Star
XX 2 Star
กระทรวง
3 Star
4 Star
ประมาณการรายจ่ายการจัดการข้อมูล
% กลุ่มตัวอย่างภายใต้หน่วยงาน
กระทรวง B 5 Star
บารุงรักษา
กระทรวง C
กระทรวง D Star/หน่วยงาน
กระทรวง E กระทรวง A
จัดซื้อ
กระทรวง F กระทรวง B
กระทรวง G กระทรวง C
กระทรวง H
กระทรวง D

92

You might also like