Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 27

วท135 ฟิ สิ กส์ทวั่ ไป

ผศ. ดร. อรรฆวัชร รวมไมตรี


หัวข้อบรรยาย 1
•จลนศาสตร์ (Kinematics)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (ในแนวแกน x และในแนวแกน y
(free fall))
การเคลื่อนที่ใน 2 มิติ (Projectile Motion)
•จลนพลศาสตร์ (Kinetics) -กฎการเคลื่อนทีข่ องนิวตัน
•การเคลื่อนที่แบบวงกลม (Circular Motion)
•การเคลื่อนทีแ่ บบหมุน (Rotational Motion)
การหมุนแบบสถิต (Rotational Static)
การหมุนแบบพลวัต (Rotational Dynamics)
หัวข้อบรรยาย 2
•การเคลื่อนที่แบบแกว่ ง (Oscillations)
การแกว่งแบบ SHM (Simple Harmonic Motion)
การแกว่งแบบ DHM (Damped Harmonic Motion)
•ของไหล (Fluids)
ของไหลอยูน่ ิ่ง (Fluids at rest)
ของไหลเคลื่อนที่ (Fluids in Motion)
•คลื่นกล (Mechanical Waves)
คลื่นตามขวาง -คลื่นในเส้นเชือก
คลื่นตามยาว -คลื่นเสี ยง
หัวข้อบรรยาย 3
•คลื่นแม่ เหล็กไฟฟ้า และการโพลาไรซ์ (Electromagnetic
Waves and Polarization)

•การหักเหของแสง (Refraction)

•ทัศนศาสตร์ (Optics)- เลนส์ และกระจก


เกณฑ์การวัดผล
• ทำรำยงำน 20 คะแนน
• สอบกลำงภำค 40 คะแนน
• สอบกลำงปลำยภำค 40 คะแนน
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in 1-D)
เรี ยนฟิ สิ กส์ที่มหาวิทยาลัย: ใช้เวลา 15 นาที นัง่ รถ 10 km มาเรี ยนฟิ สิ กส์
แล้วจึงนัง่ รถกลับบ้าน
10 กม. 15นำที

20 กม. 30นำที
กำรกระจัดจำกบ้ำน ห้องเรียน บ้ำน
อัตรำเร็วเฉลี่ยจำกบ้ำนถึงห้องเรียน
ควำมเร็วเฉลี่ยจำกบ้ำน→ห้องเรียน→บ้ำน
ระยะจำกบ้ำน ห้องเรียน บ้ำน
จลนศาสตร์ (kinematics)
จลนศาสตร์ คือ กำรศึกษำกำรเคลื่อนที่ โดยที่ไม่คำนึงถึงสำเหตุท่ี
ทำให้วตั ถุเกิดกำรเคลื่อนที่

การเคลื่อนทีใ่ น 1 มิติ (Motion in 1-D)


ตาแหน่ง (position)
ตาแหน่ง จะใช้เพื่อกำรบอกที่อยูข่ องวัตถุใดๆ โดยกำรบอกตำแหน่งของ
อนุภำค จะนิยมใช้ระบบพิกัดคาร์ทเี ซียน กับ ระบบพิกัดเชิงขั้ว

พิกัดคาร์ทเี ซียน ระบบพิกัดเชิงขั้ว


r ระยะทำงจำกจุดเริม่ ต้นมำยังจุดสุดท้ำย
 มุมระหว่ำง r กับแกนที่กำหนดไว้ (วัดทวนเข็มจำกแกน +x)
ระยะทางและการกระจัด
• ระยะทำงคือ ระยะทำงทัง้ หมดที่วตั ถุเคลื่อนที่ไป
• กำรกระจัดคือ กำรเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของวัตถุ = ตำแหน่งสุดท้ำย-ตำแหน่ง
เริม่ ต้น

150 เมตร
ระยะทางและการกระจัด
ระยะทาง

การกระจัด
ความเร็ วและอัตราเร็ ว
ระยะทาง การกระจั

อัตราเร็ ว = ความเร็ ว =
เวลา เวลา
ตาแหน่ง x (m)
ความเร็ วเฉลี่ย

เวลา t (s)
ตัวอย่าง จงหาระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ วเฉลี่ย และความเร็ ว
เฉลี่ยจากเวลาเริ่ มต้นจนถึงชัว่ โมงที่ 3
ระยะทำง (กิโลเมตร)

เวลำ (ชั่วโมง)
หาความเร็ วของนักศึกษามาเรี ยนฟิ สิ กส์
200m 5 นำที ห้องพักTU Dome
v1 =
5 min 200 เมตร
= 40m / min
1000m 10 นำที ลำนจอดรถ TU Dome
v2 =
10 min 1 กม. 2400m
= 100m / min v=
40 นำที 40 min
1000m 15 นำที ประตูหน้ำมธ
v3 =
15 min 1 กม. = 60m / min
= 66.67m / min
จอดรถที่ลำนจอดรถ
200m 10 นำที
v4 =
10 min
200 เมตร
= 20m / min
ห้องเรียน
ความเร็วบัดดล (Instantaneous velocity)
ความเร็วบัดดล เป็ นความเร็ วของวัตถุ ณ ตาแหน่งใด ตาแหน่ง
หนึ่ง หาได้จากการกระจัดในช่วงเวลาที่ Δt ใกล้ศูนย์

x
v = lim
 t → 0  t
dx
=
dt
= tan
ความเร่ ง (acceleration)
• ควำมเร่งคือ ควำมเร็วที่เปลี่ยนแปลงไปในหนึ่งหน่วยเวลำ

• ควำมเร่งจะเป็ นปริมำณ เวคเตอร์  v
a=
t
ควำมเร็ว
ควำมเร่ง = ควำมชัน
V2
 
 v2 − v1
V1 a=
t2 − t1
เวลำ
t1 t2
ความเร่ งบัดดล (Instantaneous acceleration)
ควำมเร่งบัดดลคือ ควำมเร่งในช่วงเวลำสัน้ ๆ ซึง่ หำได้จำกสมกำร

 v โดยที่ t เข้ำใกล้ ศูนย์
a=
t
ควำมเร็ว
ควำมเร่งบัดดล = ควำมชันของเส้นสัมผัส
V2

V1

เวลำ
t1 t2
สมการการเคลื่อนที่
    ไม่มี s
 v2 − v1  v −u   
a=
t2 − t1
a=
t
v = u + at
integrate
 12
s = u t + at ไม่มี v
2 ไม่มี a
ไม่มี t 1  
2 2
v = u + 2as s = (u + v )t
2
ตย. รถเริ่ มออกตัวจากหยุดนิ่งด้วยความเร่ งที่คงที่ เมื่อ
เวลาผ่านไป5.21วินาที พบว่ารถสามารถวิง่ ไปได้ 110
เมตร จงหาค่าความเร่ งของรถคันนี้
ตย. เครื่ องบินถูกเร่ งจากหยุดนิ่งด้วยความเร่ ง 3.2 m/s2 และ
ใช้เวลา 32.8 วินาที ก่อนที่เครื่ องจะถูกยกขึ้นเหนือพื้น จึงหา
ระยะทางที่เครื่ องบินใช้ในการบินขึ้น
ตย. จักรยานเริ่ มปั่นจากหยุดนิ่งเป็ นระยะทาง 35.4 m จน
มีความเร็ วเป็ น 7.1 m/s จงหาความเร่ งของจักรยานคันนี้
การตกอย่างเสรี (free fall)
การตกอย่างเสรี (free fall)
เป็ นการเคลื่อนที่อย่างอิสระของวัตถุภายใต้ความเร่ งคงที่ ซึ่ งก็คือ
ความเร่ งเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก มีค่าประมาณ 9.8 หรื อ 10
เมตร/วินาที2 และมีทิศทางพุง่ ลงพื้นโลก
ตย. ถ้าทิ้งช้างกับคนจากตึกสู งพร้อมกัน อะไรจะ
ตกถึงพื้นก่อน (ไม่คิดแรงต้านอากาศ)
ตย. ถ้าทิ้งช้างกับคนจากตึกสู งพร้อมกัน อะไรจะ
ตกถึงพื้นก่อน (ไม่คิดแรงต้านอากาศ)
ตย. จงหาความเร็ วของกระสุ นปื นตอนที่ตกถึงพื้น
ตย. จงหาความเร็ วของกระสุ นปื นตอนที่ตกถึงพื้น

You might also like