Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 187

ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.

จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 1

ชุดกลศาสตร์
แรงและกฎการเคลื่อนที่
1
1. วางวัตถุมวล m บนพื้นเอียงที่ทามุม θ กับแนวระดับ พบว่า วัตถุไถลลงด้วยความเร่ ง g
4
ถามว่าสัมประสิ ทธิ์แรงเสี ยดทานเป็ นเท่าใด
1 cosθ 1 secθ
1. tanθ 2. tanθ - 3. tanθ - cosθ 4. tanθ -
4 4 4 4

2. บอลลูนลูกหนึ่งมีน้ าหนัก W 0 กาลังเคลื่อนที่ในทิศทางลงในแนวดิ่ง a 0 ถ้าต้องการให้บอลลูนลูกนี้


ลอยขึ้ น ด้ว ยความเร่ ง 0.5 a 0 จะต้องทิ้ งมวลออกจากบอลลู น เป็ นเท่ าใด ก าหนดให้ แรงลอยตัว มี
ค่าคงที่ และความเร่ ง a 0 มีค่าเป็ นครึ่ งหนึ่งของสนามโน้มถ่วง g

1. 0.4 W 0 2. 0.5 W 0 3. 0.6 W 0 4. 0.8 W 0


ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 2

3. จากรู ป ถ้าต้องการให้รอก P นิ่งอยูก่ บั ที่


ลิงจะต้องทาอย่างไร กาหนดให้รอกเบาลื่น
1.ไต่ลงด้วยความเร่ ง 0.8m/s 2

P
2.ไต่ลงด้วยความเร่ ง 0.4 m/s 2
10 kg
3.ไต่ข้ ึนด้วยความเร่ ง 0.4 m/s 2
6 kg 4 kg

4.อยูน่ ิ่งๆ

4. ปล่อยลูกโป่ งมวล m จากเฉลียงบนชั้นสอง เมื่อลูกโป่ งตกลงมาถึงชั้นที่หนึ่ง ซึ่งอากาศ รอบๆข้างอยู่


นิ่ง จะเคลื่อนที่ลงมาด้วยอัตราเร็ วคงที่ V m/s ถ้าเด็กคนหนึ่ง นาเชือกเบาผูกไว้กบั ลูกโป่ งนี้แล้วดึงขึ้น
ในแนวดิ่งด้วยอัตราเร็ วคงที่ V m/s เช่นกัน จงหาแรงตึงในเสันเชือกขณะนั้นว่ามีขนาดเท่าไร
1. mg 2. 1.5 mg 3. 2 mg 4. 3 mg
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 3

5. นักเรี ยนยืนอยูบ่ นลิฟท์ที่เคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ ง 2 m/s2 ถ้าหลอดไฟบนลิฟท์หลุดออกมา จงหาเวลาที่


หลอดไฟหล่นกระทบพื้นกาหนดให้ลิฟท์มีความสู งเท่ากับ 2.16 เมตร
1.0.4 วินาที 2. 0.6 วินาที 3. 0.7 วินาที 4. 1.08วินาที

6.พิจารณารู ปที่ 2.1 และ 2.2 ถ้าออกแรงผลัก F นิวตันเท่ากันและวัตถุ A มีมวลเท่ากับ A kg, วัตถุ B มี
มวลเท่ากับ B kg, วัตถุ C มีมวลเท่ากับ C kg มวลของ A > B > C แรงปฏิกิริยา ณ ตาแหน่งใดมีค่ามาก
ที่สุด
1.แรงปฎิกริ ยาในระหว่างมวล A และ B ในรู ปที่ 2.1
2.แรงปฎิกริ ยาในระหว่างมวล B และ C ในรู ปที่ 2.1
3.แรงปฎิกริ ยาในระหว่างมวล C และ B ในรู ปที่ 2.2
4.แรงปฎิกริ ยาในระหว่างมวล B และ A ในรู ปที่ 2.2
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 4

7.นักดับเพลิงฉีดน้ าด้วยอัตราเร็ ว 60 cm/s และน้ าไหลด้วยอัตราเร็ ว 40 cm3/s สมมติวา่ น้ า ถูกยิงขนาน


กับพื้นไปกระทบกับกาแพง จงหาว่าจะต้องออกแบบกาแพงให้สามารถต้านทานแรงจากน้ าดับเพลิงให้
ทนได้อย่างน้อยกี่นิวตัน
1. 0.024 N 2. 0.24 N 3. 2.4 N 4. 24 N

8.มวลทั้งหมดของรถยนต์รวมคนขับเท่ากับ 1500 กิโลกรัม ขับด้วยความเร็ ว 136 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง


และทาการเบรกด้วยแรงเบรกคงที่อย่างต่อเนื่อง จนกระทัง่ ความเร็ วของรถยนต์เป็ น 100 กิโลเมตรต่อ
ชัว่ โมง ภายในระยะเวลา 5 วินาที จงคานวณหาแรงเบรกของรถยนต์มีค่าเป็ นเท่าไร โดยสมมติวา่
รถยนต์มีแรงต้านทานอากาศเป็ น 2 เท่าของแรงเบรกของรถยนต์
1. 3000 นิวตัน 2. 1500 นิวตัน 3. 1000 นิวตัน 4. 750 นิวตัน

9. ชายคนหนึ่ ง มีมวล m ได้นาตาชัง่ ขึ้นไปบนลิฟต์ ถ้าลิฟต์เคลื่อนที่ข้ ึนและลงด้วยขนาดความเร่ ง a


เท่ากัน ถ้าขาขึ้น เขาชัง่ ตาชัง่ วัดน้ าหนักได้ N1 นิ วตัน ถ้าขาลง เขาชั่งตาชัง่ วัดน้ าหนักได้ N 2
นิวตัน ความเร่ ง a ของลิฟต์มีค่าเท่าไร

1. a = N1 − N 2 2. a = N1 + N 2
2m 2m

3. a = N1 − N 2 4. a = N1 + N 2
m m
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 5

10.ชายคนหนึ่งต้องออกแรงดึงเชือกกี่นิวตัน จึงทาให้ลิฟท์เคลื่อนที่ข้ ึนด้วยความเร่ ง 2.5 m/s2 ถ้าลิฟท์มี


มวล 20 kg และเขามีมวล 60 kg โดยถือว่ารอกไม่มีความฝื ดและเชือกมีมวลน้อยมากๆ
1. 125 N 2. 250 N
3. 500 N 4. 1000 N

11.กล่อง A มีมวล mA แขวนกับเชือกที่ผกู ติดกับกล่อง B มีมวล mB ตามรู ปที่ 4.1 โดย mB > mA ถ้านา
กล่อง B ออกแล้วจึงค่อยออกแรงดึงเชือกเท่ากับ mBg นิวตัน ตามรู ปที่ 4.2
จงหาว่า ความเร่ งของกล่อง A ในรู ปที่ 4.1 จะมีค่าเปี นกี่เท่าของกล่อง A ในรู ปที่ 4.2

1. 2. 3. 4.


ฬ?

ฬใ.
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 6

12. เครื่ องบินเฮลิคอปเตอร์ลาหนึ่ง ลอยนิ่งอยูใ่ นอากาศโดยการหมุนของใบพัดทาให้เกิด กระแสอากาศ


อยูใ่ นช่วงรัศมี r และมีความเร็ ว V พุง่ ดิ่งลง ถ้าความหนานแน่น ρ ของอากาศคงที่ จงหาว่ามวลของ
เฮลิคอปเตอร์น้ ีมีค่าเท่าใด

1. 2. 3. 4.


ฬ?

ฬใ.

...

13.ถ้าออกแรง F กระทาต่อล้อเลื่อนมวล M 0 ทาให้มวล m ที่ผกู กับเสา มีแนวเอียงเป็ นมุม θ กับ


แนวดิ่ง จงหาแรง F ที่มากระทาต่อล้อเลื่อน กาหนดให้พ้นื ลื่น
1. ( M 0 + m ) g tanθ 2. M0 g tanθ m θ

3. m 0 g tanθ 4. m 0 g cotθ . . Mo F

พื้นลื่น
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 7

14.รถยนต์หนัก 2000 kg. กาลังไถลลงตามพื้นเอียงความชัน 5O ด้วยอัตราเร็ ว 30 m/s ถ้าเหยียบเบรกเพื่อ


หยุดรถ พบว่าเกิดแรงต้านตามแนวพื้นเอียง 7500 N จงหาว่าจะใช้เวลานานเท่าใดรถจึงหยุด (g = 10
m/s2 , sin 5O = 0.087, cos 5O = 0.996)
1. ประมาณ 10.4 วินาที 2. ประมาณ 5.2 วินาที
3. ประมาณ 8.4 วินาที 4. ประมาณ 20.5 วินาที

15.ปล่อยลูกบอลเล็กๆบนที่สูง 45 cm. จากพื้นแข็ง หลังจากนั้นลูกบอลตกกระทบพื้นแล้วกระดอนกลับ


ขึ้นไปได้สูง 20 cm. โดยใช้เวลาทั้งหมดตั้งแต่เริ่ มตกจนขึ้นไปได้สูงสุ ดอีกครั้งเท่ากับ 0.52 วินาที
จงหาแรงเฉลี่ยที่พ้นื กระทาต่อลูกบอลในช่วงสัมผัสกับพื้น กาหนดให้ลูกบอลมีมวล 50 g.
1. 12.5 N 2. 13.0 N 3. 13.5 N 4. 14.0 N

16.เมื่อออกแรง F กระทาต่อวัตถุ m1 ให้เคลื่อนที่ไปบนพื้นลื่น พบว่าวัตถุมีความเร่ งเป็ น a1 และเมื่อออก


แรง F เดียวกันนี้กระทาต่อวัตถุมวล m2 พบว่าวัตถุมวล m2 จะมีความเร่ งเป็ น a2 หากนาวัตถุท้งั สองมา
ผูกติดกัน แล้วนาแรง F อันเดิมนี้กระทาต่อวัตถุรวม ความเร่ งที่ได้จะมีค่าเท่าใด
aa a +a
1. a1 + a2 2. 1 2 3. 1 2 4. a1 − a 2
a1 + a 2 a1 a 2
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 8

17. เมื่อผลักวัตถุให้เคลื่อนที่ไปบนพื้นที่มีความฝื ด ปรากฏว่าวัตถุเคลื่อนที่ไปได้ 60 m. จึงจะหยุด ถ้า


แรงเสี ยดทานจลน์ที่พ้นื กระทาต่อวัตถุมีขนาดเป็ น 0.06 เท่าของน้ าหนักวัตถุ จงหาความเร็ วต้นของ
วัตถุขณะที่ผลักมีค่าเท่าใด
1. 8.4 m/s 2. 10.2 m/s 3. 64 m/s 4. 100 m/s

18.ไม้ AB มวล m วางพิงกาแพงทามุม 45O ดังรู ป กาหนดว่าพื้นห้องและกาแพงลื่นมาก และไม้ AB อยู่


ได้โดยไม่ลื่นไถลลง เมื่อออกแรง F ผลักไว้ที่ปลาย จงหาแรง F

1. F = mg
1
2. F = mg
2
3. F = 2mg
1
4. F = mg
2
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 9

19.จากรู ป ต้องออกแรงดันรถด้วยแรงเท่าใด จึงจะทาให้มวลที่ผกู ติดผ่านรอกอยูน่ ิ่ง กาหนดให้ไม่มีแรง


เสี ยดทานบนพื้นผิว
1. 65 N
2. 130 N
3. 260 N
4. 390 N

20.วัตถุมวล m เมื่อวางบนพื้นเอียง พบว่าวัตถุจะเริ่ มไถลลงเมื่อมุมพื้นเอียงเป็ น 60O ถ้าวางวัตถุบนพื้น


ในแนวราบและออกแรงผลักวัตถุจนเริ่ มเคลื่อนที่ จะต้องใช้แรงเท่าใด เมื่อ g = ความเร่ งเนื่องจาก แรง
โน้มถ่วงของโลก
mg
1. mgcos60O 2. mgsin60O 3. 4. mgtan60O
tan60 O

21.จากรู ป มวล m1 และ m2 ถูกโยงกันด้วยเชือกเบาแล้วคล้องผ่านรอกซึ่งเบาและลื่น ถ้าสัมประสิ ทธิ์


ความเสี ยดทานระหว่างมวล m1 และโต๊ะมีค่าเป็ น  ข้อความใดต่อไปนี้กล่าวได้ถูกต้อง
1. มวลทั้งสองจะเกิดการเคลื่อนที่ได้เองก็ต่อเมื่อมวล m2 มากกว่ามวล m1
m
2. ถ้าอัตราส่ วน 2 น้อยกว่าค่า  มวลทั้งสองจะไม่เคลื่อนที่
m1
3. ถ้าระบบเกิดการเคลื่อนที่ จะมีอตั ราเร่ งเท่ากับอัตราเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก

4. ถ้าค่า  มากกว่า 1 ระบบจะไม่มีโอกาสเคลื่อนที่ได้เอง


ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 10

22. วัตถุ 3 ก้อนเหมือนกันทุกประการ ถ้าวางดังรู ป จะมีความเร่ ง a m/s2 แต่ถา้ เอามวลก้อนที่ 1 ออก


ความเร่ งจะเป็ น 3a m/s2 จงหาค่า μ ระหว่างวัตถุกบั พื้นโต๊ะ หากมวลก้อนที่ 1 และ ก้อนที่ 2 มี
แรงเสี ยดทานระหว่างวัตถุมาก
2
1. 2. 1
3 3

1
3. 4. 0
2

23. จงหาเวลาที่ทาให้วตั ถุท้งั สอง สามารถเคลื่อนที่มาอยูใ่ น


ระดับเดียวกัน กาหนดให้เดิมวัตถุอยูน่ ิ่ง
1. 0.5 วินาที 2. 1 วินาที
5 kg 3. 1.5 วินาที 4. 2.0 วินาที
10 m
3 kg
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 11

24. ก้อนโลหะ 2 อัน ถูกดึงด้วยแรง F = 9 นิ วตัน น้ าหนักของก้อน A กับก้อน B มีค่าก้อนละ 10


นิ วตัน ถ้าค่าสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานสถิตระหว่างก้อน A กับพื้นมีค่า 0.8 และระหว่างก้อน A
กับ ก้อน B มี ค่า 0.9 ค่าสัมประสิ ท ธิ์ ความเสี ยดทานจลน์ ระหว่างก้อน A กับพื้ น มี ค่า 0.6 ข้อใด
อธิบายเหตุการณ์ได้ถูกต้อง
B
1.บล็อก A เลื่อนไปทางขวาพร้อมกับบล็อก B A
F

2.บล็อก A เลื่อนไปทางขวา บล็อก B หล่อนที่พ้นื


3.บล็อก A เลื่อนไปทางขวา บล็อก B ไหลไปทางซ้ายด้วยความเร็ วเท่ากับบล็อก A
A
4.บล็อก A และ B หยุดนิ่งอยูก่ บั ที่

25.
  

60o 53o 30o

พื้นหยาบ พื้นหยาบ พื้นหยาบ


(ก) (ข) (ค)

คานยาว  มวล W วางบนพื้นหยาบ ที่มีกาแพงลื่น โดยวางเอียงทามุมต่างกัน ดังรู ป จงหาว่า รู ป


ใด มีแรงเสี ยดทานบนพื้นราบมากที่สุด โดยคานยังวางนิ่งบนพื้นหยาบได้
1. ก. 2. ข. 3. ค. 4. เท่ากัน
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 12

26. ปล่อยวัตถุสองก้อนที่มีมวล m เท่ากันลงมาจากพื้นเอียง A และ B ที่ไม่มีแรงเสี ยดทาน พื้นเอียง


A นั้นมีความชันมากกว่าพื้นเอียง B เมื่อเริ่ มต้นมวลทั้งสองเริ่ มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง และมีความสู งใน
แนวดิ่งวัดจากพื้นราบเท่ากับ h เท่ากัน ข้อใดต่อไปนี้กล่าวได้ถูกต้อง เมื่อมวลทั้งสองไถลจากพื้นเอียง
ลงมาถึงพื้นราบ

A B

1.มวลทั้งสองเมื่อถึงพื้นราบจะมีอตั ราเร็ วเท่ากัน และตกถึงพื้นราบพร้อมกัน


2.มวลทั้งสองเมื่อถึงพื้นราบจะมีอตั ราเร็ วเท่ากัน และมวลบนพื้นเอียง A ตกมาถึงพื้นราบก่อน
3.มวลทั้งสองเมื่อถึงพื้นราบจะมีอตั ราเร็ วเท่ากัน และมวลบนพื้นเอียง A ตกมาถึงพื้นราบทีหลัง
4.มวลบนพื้นเอียง A เมื่อถึงพื้นราบจะมีอตั ราเร็ วมากกว่าและตกลงมาถึงพื้นราบก่อน

27. จากรู ป ชายผูห้ นึ่งลากวัตถุ 5 kg บนพื้นราบ ถ้าพื้นกับชายคนนี้มี ส.ป.ส แรงเสี ยดทานเป็ น


0.4 และกล่องกับพื้นมี ส.ป.ส แรงเสี ยดทานเป็ น 0.2 จงหาความเร่ งสูงสุ ดที่ชายคนนี้เดินลากวัตถุน้ ี
ได้

1. 3.33 m/s 2 2. 6.67 m/s 2


3. 12.6 m/s 2 4. 14.5 m/s 2
5 kg 40 kg

μ = 0.2 μ = 0.4
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 13

28.อนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงตามแกน X โดยมีความเร็ว-เวลา ดังกราฟ ณ เวลา t = 0


พบว่า อนุภาคอยูท่ ี่ X 0 = - 24m จงหาตาแหน่งของอนุภาค เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ได้ 12 sec

1.24 เมตร 2. 36 เมตร


3. 48 เมตร 4. 60 เมตร

29.จงหาโมเมนต์ M น้อยที่สุด เพื่อที่จะหมุนล้อทรงกระบอกมวล m รัศมี r โดยทุกผิวสัมผัสมี


สัมประสิ ทธิ์ความเสี ยดทานเป็ น 
rmg (1 +  )
1.
(1 +  2 )
M
rmg (1 +  )
2.

(1 − )
m rmg (1 +  )
3.
(1 − 2 )
rmg (1 − )
 4.
(1 +  )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 14

30.ปล่อยวัตถุ 2 ก้อน ลงมาตามพื้นเอียงเดียวกัน โดยพื้นทามุม 60O กับแนวระดับ ปรากฏว่าวัตถุที่อยู่


บนพื้นผิวลื่น จะมีความเร่ งมากกว่าวัตถุที่อยูบ่ นพื้นผิวหยาบเท่ากับ 3 m/s2 จงหา  ระหว่างพื้นเอียง
กับวัตถุผวิ หยาบ
1. 0.4 2. 0.5 3. 0.6 4. 0.7

31.ทรงกลมมวล 5 kg. รัศมี 4 นิ้ว วางนิ่งอยูบ่ นพื้นเอียงโดยมีเชือกที่ผกู ติดกับทรงกลมดังรู ป จงหา


สัมประสิ ทธิ์ความเสี ยดทานของผิวทรงกลมกับพื้นเอียงที่นอ้ ยที่สุดที่ยงั คงทาให้วตั ถุอยูน่ ิ่งได้
( 0.33 เมตร)

R
m

37o
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 15

32.แท่งไม้ A และ B มวล 1 kg. และ 2 kg. ดังรู ป มีสมั ประสิ ทธิ์ความเสี ยดทานจลน์  K = 0.2
ทุกผิวสัมผัส จงหาแรง F ที่ทาให้แท่งไม้มีความเร็ วคงที่
1. 4 N
2kg  =0.2 2. 6 N
1kg F 3. 10 N
 =0.2
4. 14 N

33.คานสม่าเสมอมวล 20 kg. วางพาดกับผนัง ดังรู ป ถ้าผนังลื่น แต่พ้นื มีสมั ประสิ ทธิ์ความเสี ยดทาน
สถิตเท่ากับ 0.8 จงหาแรง F น้อยที่สุดที่ดึงปลายล่างของคานเพื่อให้คานไถลได้
1. 78 N 2. 60 N
3. 50 N 4. 46 N

F 45 o

 = 0.8
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 16

34.จากรู ปเป็ นรอกเบาที่หมุนได้คล่อง ถูกดึงขึ้นด้วยแรง F ถ้ามวล 2 kg. อยูน่ ิ่ง จงพิจารณาข้อความ


ต่อไปนี้
ก. แรง F = 60 N
F ข. แรง F = 40 N
ค. มวล 4 kg. เคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ ง 5 m/s2
ข้อความใดกล่าวได้ถูกต้อง
2kg 1. ข้อ ก. และ ข้อ ค. 2. ข้อ ข. และ ข้อ ค.
4kg
3. ข้อ ก. เท่านั้น 4. ข้อ ข. เท่านั้น

35.ก้อนหินมวล 5 kg. ตกจากที่สูง 10 m. เมื่อกระทบพื้นดิน วัตถุจมลงไปในดิน 10 cm. จงหาแรงต้าน


เฉลี่ยของดินมีค่าเท่าใด
1. 5050 N 2. 5200 N 3. 5400 N 4. 5500 N

36.บันไดสม่าเสมอมีมวล 20 kg. ยาว 4 m. วางอยูบ่ นพื้นราบ ปลายบนพิงกาแพงเกลี้ยง ปลายล่าง ทามุม


60O กับพื้นราบ สัมประสิ ทธิ์ความเสี ยดทานระหว่างพื้นราบกับบันไดเท่ากับ 0.25 เด็กมวล 20 kg. ขึ้น
ไปบนบันได เขาจะขึ้นไปห่างจากโคนบันไดกี่เมตร บันไดจึงจะเริ่ มลื่นไถล (1.46 เมตร)
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 17

37.ปล่อยลูกเหล็กมวล 0.8 kg. ตกจากที่สูง 5 m. เหนือพื้นทราย สุ ดท้ายพบว่าลูกเหล็กจมลงไปในทราย


ได้ 10 cm. จงหาขนาดแรงต้านเฉลี่ยที่ทรายกระทาต่อลูกเหล็ก
1. 392 N 2. 400 N 3. 408 N 4. 416 N

38. กล่องใบหนึ่งมีมวล 2 kg. ถูกปล่อยให้ไถลลงตามพื้นเอียงที่มีมุมเอียง 45O กับแนวระดับ


ถ้าสัมประสิ ทธิ์ความเสี ยดทานจลน์ระหว่างกล่องกับพื้นเอียงเท่ากับ 0.4 ขนาดความเร่ ง
ของกล่องและขนาดของแรงลัพธ์บนกล่องเป็ นเท่าใด
1. 7 2 m/s2 และ 14 2 N 2. 6 2 m/s2 และ 12 2 N
3. 5 2 m/s2 และ 10 2 N 4. 3 2 m/s2 และ 6 2 N

39.ลิงตัวหนึ่งไต่เชือกขึ้นในแนวดิ่งด้วยความเร่ ง 18 m/s2 ปรากฏว่าจะทาให้เชือกขาดได้พอดี ถ้า


ต้องการให้ความตึงเชือกเป็ นเพียงครึ่ งหนึ่งของความตึงเชือกสู งสุ ดนี้ ลิงต้องไต่เชือกอย่างไร
1. ไต่ข้ ึนด้วยความเร่ ง 9 m/s2 2. ไต่ข้ ึนด้วยความเร่ ง 4 m/s2
3. ไต่ลงด้วยความเร่ ง 6 m/s2 4. ไต่ลงด้วยความเร่ ง 3 m/s2
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 18

40.คานสม่าเสมอยาว 8 m. มวล 25 kg. วางพาดกับขอบกาแพงเกลี้ยงซึ่งสู งจากพื้น 3 m. ดังรู ป


ค่าของแรงเสี ยดทานที่พ้นื กระทาต่อปลายคานด้านล่างจะเป็ นกี่นิวตัน
1. 72 N
2. 96 N
3. 128 N
4. 160 N

41.น้องดาวนัง่ รถไฟฟ้า MRT จากสถานีหนึ่งไปลงในสถานีถดั ไป ใช้มือถือที่สามารถวัดความเร่ งขณะ


อยูบ่ นรถ MRT ได้เท่ากับ 2 m/s2 ถ้าในแต่ละสถานีศูนย์ควบคุมรถ จะต้องกาหนดเวลาวิ่งให้เหมาะกับ
ผูโ้ ดยสารในแต่ละช่วงเวลา ถ้าในช่วงเวลาเร่ งด่วน ผูโ้ ดยสารมีมากกว่าปกติ ถึง 2 เท่า ทางศูนย์จึงมี
ความจาเป็ นจะต้องเพิ่มขบวนรถขึ้นเป็ น 2 เท่า เช่นกัน เพื่อรองรับผูโ้ ดยสาร จงหาว่าในชัว่ โมงเร่ งด่วน
น้องดาวจะอ่านค่าจากความเร่ งได้เท่าใด ถ้าน้องขึ้นและลงที่สถานีเดิม
1. 1 m/s2 2. 4 m/s2 3. 8 m/s2 4. 16 m/s2
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 19

42.นาย ก ออกแรงเฉลี่ยขนาด 50 N กระทาต่อวัตถุมวล 0.2 kg. ที่หยุดนิ่ง ถ้าช่วงเวลาที่แรงกระทาต่อ


วัตถุเป็ น 0.01 วินาที ผลของแรงจะทาให้วตั ถุเคลื่อนที่ไปด้วยความเร็วเท่าใด
1. 2.5 m/s 2. 3.0 m/s 3. 3.5 m/s 4. 4.0 m/s

43.ในการยิงปื นกระบอกหนึ่ง ผูย้ งิ สามารถออกแรง 250 N ในการต่อต้านการถอยกลับของปื น


ถ้าลูกปื นแต่ละลูกมีมวล 50 g. และความเร็วของลูกปื นขณะออกจากปากกระบอกเป็ น 400 m/s
จงหาว่าผูย้ งิ คนนี้จะยิงปื นได้มากที่สุดกี่นดั ต่อนาที
1. 50 นัดต่อนาที 2. 400 นัดต่อนาที 3. 450 นัดต่อนาที 4. 750 นัดต่อนาที

44.ปล่อยกล่องใบหนึ่งให้ตกจากที่สูง 200 m. โดยกล่องมีมวล 0.20 kg. ถ้าวัดอัตราเร็ วที่กล่อง


กาลังจะกระทบพื้นได้เท่ากับ 50 m/s จงหาแรงต้านของอากาศโดยเฉลี่ยที่กระทาต่อกล่องใบ
นี้เป็ นเท่าใด
1. 0.25 N 2. 0.50 N 3. 0.75 N 4. 1.25 N
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 20

45.ลิฟต์ตวั หนึ่งมีมวล 100 kg. เคลื่อนที่ข้ ึนลงโดยใช้ลวดสลิงเหมือนกัน 4 เส้น เพื่อความปลอดภัยจึง


ออกแบบให้ลิฟต์มีความเร่ งหรื อความหน่วงได้ไม่เกิน 2 m/s2 และความเค้นในลวดสลิงแต่ละเส้นไม่
เกิน 107 N/m2 ถ้าลวดสลิงแต่ละเส้นมีพ้นื ที่ภาคตัดขวาง 3 cm2 ลิฟต์ตวั นี้จะสามารถบรรทุกมวล
สัมภาระได้ไม่เกินเท่าใด
1. 1500 kg. 2. 1400 kg. 3. 1000 kg. 4. 900 kg.

46.ทรงกระบอกมวล 10 kg. รัศมี 10 cm. ถูกแรง F ในแนวราบดึงทาให้สามารถกลิ้งข้ามขึ้นขอบทางซึ่ง


สู ง 5 cm. ขึ้นไปได้ จงหาขนาดของแรง F อย่างน้อยที่สุด กาหนดให้มุมขอบทางมีความฝื ดมาก
50 60
1. N 2. N
F 3 3
80 100
3. N 4. N
3 3
10cm
5cm

47.ออกแรง F คงที่ขนาด 50 N ดึงกล่องมวล 4 kg. จากหยุดนิ่งขึ้นไปตามพื้นเอียง 37 oดังรู ป ถ้าสัม


ประสิ ทธ์ความเสี ยดทานจลน์ระหว่างกล่องกับพื้นเอียงเท่ากับ 0.5 ระยะทางที่กล่องเคลื่อนที่ได้ในเวลา
2 วินาที เป็ นเท่าใด
1. 4 m. 2. 5 m.
F 3. 6 m. 4. 8 m.

4kg

 =0.5
37
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 21

48.ระบบรอกดังรู ป จงหาค่า  กาหนดให้รอกไม่มีความฝื ดและเบา กาหนด g = 10 m/s2


1. 1.27 kg.
2. 2.27 kg.
3. 2.73 kg.
4. 3.73 kg.

49. A B ปล่อยวัตถุ 2 ก้อน ให้ตกจากที่เดียวกัน ก้อนหนึ่ง


m m
เคลื่อนลงตามพื้นเอียงลื่นทามุม θ กับแนวระดับอีกก้อน
หนึ่งให้ตกลงอิสระ ถ้าทั้ง 2 ก้อนลงมาถึงพื้นระดับ
เดียวกัน จงหาเวลาที่ใช้ของวัตถุ A ต่อวัตถุ B
θ

1. เท่ากัน 2. cosecθ 3. tanθ 4. cotθ


ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 22

50. จงพิจารณากล่องที่อยูบ่ นพื้นเอียงว่าจะมีสภาพเป็ นอย่างไร


1.กล่องจะมีแต่การไถลเท่านั้น
10cm
2.กล่องจะมีการแต่การล้มเท่านั้น
20cm
. 3.กล่องจะไถลก่อนล้ม
4.กล่องจะล้มก่อนไถล
= 0.8
370

51.โครงลวดรู ปตัวยูแต่ละด้านยาว เท่ากัน โดยมีมวล m และ 2m ดังรู ป จงหาแรง F ที่ทาให้โครงลวด


สมดุล ( 5 )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 23

52.ใช้เชือกเบาไม่ยดื หยุน่ เส้นหนึ่งคล้องผ่านรอกเบาหมุนคล่องสองตัวสาหรับดึงกล่องที่มีมวล m ด้วย


แรง F ให้กล่อง เคลื่อนที่ไปบนพื้นระดับราบที่มีสัมประสิ ทธของแรงเสี ยดทาน μ ดังรู ป ถามว่ากล่อง
จะมีความเร่ งเท่าไร ( 4 )

53.จากรู ป ให้หามวลของ A ที่ทาให้ความเร่ งของ B เป็ น 1 m/s2 ในทิศขึ้น โดยกาหนดว่าทุกพื้นผิวลื่น


เชือกเบา ไม่ยดื หยุน่ รอกเบาหมุนคล่องและมวลของ B = 1 kg (ให้ g = 10 m/s2) ( 2 )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 24

54.โซ่เส้นหนึ่งมีความยาว L คล้องผ่านรอกเล็กๆ หมุนคล่องและเบา ถ้าปล่อยให้โซ่เคลื่อนที่ใน


ตาแหน่งดังรู ป จงหา ความเร่ งของโซ่ ( 3 )

55.ทรงกลมสม่าเสมอใบหนึ่งมีน้ าหนัก W และ มีรัศมี r เลื่อนไปบนพื้นระดับราบโดยไม่มีการกลิ้ง


ภายใต้การกระทา ของแรง P คงที่ ถ้าสัมประสิ ทธิ์ของแรงเสี ยดทานระหว่างทรงกลมกับพื้นเป็ น μ
จงหาระยะ h ที่แรง P กระทา บนทรงกลมนี้ ( 3 )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 25

56.ทรงกระบอกมวล m วางอยูใ่ นซอกของวัตถุซ่ ึงติดล้อให้เคลื่อนที่ลงมาได้คล่องโดยไม่มีแรงเสี ยด


ทาน พื้นเอียง ทามุม θ กับแนวระดับ และสาหรับมุม θ < 90° ถ้าปล่อยระบบนี้เคลื่อนที่ลงมาตามพื้น
เอียง จงหาแรงปฏิกิริยาที่ จุด A และ B ( 4 )

57.วัตถุมวล 2 kg. วางสัมผัสปลายสปริ งซึ่งวางบนพื้นราบที่มีสมั ประสิ ทธิ์ความเสี ยดทานจลน์ 0.2


สปริ งมีค่าคงตัวเท่ากับ 400 N/m เมื่อดันวัตถุให้สปริ งยุบเป็ นระยะ 10 cm. แล้วปล่อย จงหาว่าวัตถุจะวิ่ง
ไปได้ไกลที่สุดจากจุดปล่อยเท่าใด 10 ซม.

1. 50 cm. 2. 40 cm. K=400N/m

3. 30 cm. 4. 20 cm. M

 = 0.2
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 26

58. คานสม่าเสมออันหนึ่งหนัก 100 N วางพาดอยูก่ บั กาแพงเอียง ดังรู ป กาแพงลื่นแต่พ้นื ห้องมีสมั ประ


สิ ทธความ เสี ยดทาน μ ค่า μ ที่นอ้ ยที่สุดที่ทาให้คานยังสมดุลอยูไ่ ด้เป็ นเท่าใด

1) 0.3 2) 0.6 3) 0.8 4) 1.3

59.วัตถุหนึ่งไถลลงมาตามพื้นเอียงที่ไม่มีความฝื ด เมื่อถึงปลายล่างของพื้นเอียง วัตถุน้ ีจะมีอตั ราเร็ว


ปลายเท่ากับ V ถ้าต้องการให้ได้อตั ราเร็วปลายเพิ่มเป็ น 2v จะต้องยกปลายพื้นเอียงให้สูงขึ้นเป็ นกี่เท่า
ของความสู งเดิม ( 4 )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 27

60. เด็กคนหนึ่งปล่อยลูกบอล A ให้ตกดิ่งลงมาจากความสู งเหนือพื้นดิน 5 m พร้อมกันนั้นเด็กอีกคน


หนึ่งขว้าง ลูกบอล B ดิ่งขึ้นไปในอากาศด้วยความเร็ วต้นที่นอ้ ยที่สุดเพื่อให้ชนกับลูกบอล A ในอากาศ
ได้พอดี ถ้าขณะที่ลูกบอล B หลุดจากมือของเด็กคนหลังอยูส่ ู งจากพื้นดิน 1 m ถามว่าค่าของความเร็ ว
ต้น เป็ นเท่าใด กาหนดให้ g = 10 m/s2
1) 2 m/s 2) 3 m/s 3) 4 m/s 4) 5 m/s

61.ตาแหน่งของวัตถุกอ้ นหนึ่งเคลื่อนที่อยูส่ ามารถแสดงออกมาเป็ นคู่อนั ดับ (x, y) โดยพิกดั ของ X และ


y เปลี่ยนไป ตามเวลา (เป็ นฟังก์ชนั ของเวลา) x(t) = -2t + 5 , y (t) = t
โดยที่ t คือ เวลาที่วตั ถุใช้ในการเคลื่อนที่ จงหาการกระจัดของวัตถุเมื่อเวลาผ่านไป 4 วินาทีวา่ มี
ค่าประมาณ กี่เมตร (วัตถุเริ่ มเคลื่อนที่จาก t = 0 วินาที)
1) 7 เมตร 2) 8 เมตร 3) 9 เมตร 4) 10 เมตร 5) 11 เมตร
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 28

62.รถคันหนึ่งมีมวล m เคลื่อนที่ตามถนนราบ พบว่าเมื่อถนนแห้ง คนขับจะสามารถเบรกรถให้หยุด


ได้ในระยะ 10 เมตร ถามว่าถ้าถนนเปี ยก และรถมีมวล 2m คนขับจะสามารถเบรกรถให้หยุดได้ใน
ระยะกี่เมตร ถ้าขณะถนนเปี ยกจะทาให้ค่าสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานลดลงเป็ นครึ่ งหนึ่ งของขณะ
ถนนแห้ง
1. 10 m 2. 20 m 3. 40 m 4. 80 m

63. นักโดดร่ มพสุ ธา โดดลงมาจากเครื่ องบิน เมื่อลงมาได้ 5 วินาที เขาจึงกระตุกร่ มกางออก ทาให้
เขาเคลื่อนที่ลงด้วย ความหน่วง 5 m/s2 ปรากฏว่าเขาถึงพื้นด้วยอัตราเร็ ว 5 m/s จงหาว่าขณะเขาโดด
เครื่ องบินอยูส่ ู งจากพื้นเท่าใด
1. 125 m 2. 250 m 3. 372.5 m 4. 377.5 m
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 29

64. รถคันหนึ่ งมวล 2000 kg กาลังวิ่งขึ้นพื้นเอียงด้วยความเร็ วคงที่ 72 km/hr ปรากฏว่าเครื่ องยนต์


ดับ ถามว่ารถคันนี้ จะเคลื่อนที่ ต่อไปได้อีกกี่ วินาที จึ งจะเริ่ มไถลลงตามพื้นเอียง ถ้าพื้นเอียงทามุม
530 กับแนวราบ และมีสม ั ประสิ ทธิ์ความเสี ยดทานระหว่างล้อรถกับพื้นเป็ น 0.5
1. 1.8 s 2. 2.5 s 3. 4.0 s 4. 6.7 s

65. ลูก ตุ ้มมวล 20 กิ โลกรั ม สายแขวนเป็ นลวดเหล็ก ยาว 10 เมตร มี พ้ื น ที่ ภ าคตัดขวาง 5 10−6
ตารางเมตร จับลูกตุม้ ไว้ให้สายแขวนเอียงทามุม 600 กับแนวดิ่ง แล้วปล่อย เมื่อลูกตุม้ เคลื่อนผ่านจุด
ต่าสุ ด ลวดเหล็กจะยืดออกจากปกติเท่าไร กาหนด ค่าโมดูลสั ของยังของลวดเหล็ก 201010 นิว
ตันต่อตารางเมตร)
1. 4 มิลลิเมตร 2. 3 มิลลิเมตร
3. 2 มิลลิเมตร 4. 1 มิลลิเมตร
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 30

งานและพลังงาน
66. รถยนต์คนั หนึ่งมีมวล m กาลังแล่นขึ้นบนเนินเขาซึ่งเอียงทามุม θ กับแนวระดับด้วย อัตราเร็วคงที่
V จงคานวณหากาลังฉุดของเครื่ องยนต์(ถือว่าแรงเสี ยดทานน้อยมากๆ)
1.mgvsinθ 2. mgvcosθ
3. mgvtanθ 4. mgvcotθ

67. รถยนต์มวล 600 กิโลกรัม เคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง


มีความสัมพันธ์ความเร็ วกับเวลาดังกราฟ จงหากาลัง
เฉลี่ยของรถยนต์ในช่วงเวลา 30 วินาที
1. 1 กิโลวัตต์ 2. 3 กิโลวัตต์
3. 7 กิโลวัตต์ 4. 60 กิโลวัตต์
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 31

68. มวล m ติดกับปลายสปริ งเบาที่มีค่านิจ k ออกแรง F ดึงมวล m จนสปริ งยืดออกจากตาแหน่งปกติ


เป็ นระยะ a หลังจากนั้นเราต้องทางานให้กบั มวล m อีกเท่าใด จึงจะทาให้มวล m นี้ดนั สปริ งเข้าไปจาก
ตาแหน่งปกติเป็ นระยะ 2a
3 1 9
1. ka2 2. ka2 3. ka2 4. ka2
2 2 2

69. นายดาปล่อยลูกบอลมวล 2.5 กิโลกรัม ตกจากที่สูง 5.0 เมตร เหนื อพื้นดิน และนายแดงปล่อย
ก้อนหินมวล 5.0 กิโลกรัม ตกจากที่สูง 2.5 เมตร เหนือพื้นดิน สมมุตินายดาและนายแดงปล่อยวัตถุ
พร้ อ มกัน และวัต ถุ จ ะเคลื่ อ นที่ ล งมาด้ว ยความเร่ ง 10 เมตรต่ อ วิ น าที 2 โดยไม่ คิ ด แรงต้านทาน
เนื่องจากโมเลกุลของอากาศ จงพิจารณาข้อความดังต่อไปนี้
1.ขณะวัตถุกระทบพื้นดิน พลังงานจลน์ของลูกบอลเท่ากับพลังงานจลน์ของก้อนหิน
2.ขณะวัตถุกระทบพื้นดิน ความเร็ วของลูกบอลมากกว่าความเร็ วของก้อนหิน
3.ลูกบอลจะตกลงมากระทบพื้นดินก่อนก้อนหิน
ข้อใดถูกต้อง
1. ถูกทุกข้อ 2. ถูก 2 ข้อ 3. ถูก 1 ข้อ 4. ผิดทุกข้อ
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 32

70. โยนวัตถุกอ้ นหนึ่งด้วยอัตราเร็ วต้น µo ในแนวดิ่งภายใต้แรงโน้มถ่วง จงพิจารณาว่าเมื่อวัตถุ


เคลื่อนที่ได้ระยะหนึ่งพบว่าอัตราเร็ วลดลงไปครึ่ งหนึ่ง วัตถุจะมีพลังงานจลน์เป็ นกี่เท่าของพลังงานศักย์
โน้มถ่วง กาหนดให้พ้นื เป็ นระดับอ้างอิง
1. 1:1 2. 1:2 3. 1:3 4. 1:4

71.มวล 40 kg. แขวนห้อยด้วยเชือกและผ่านรอก โดยผูกเข้ากับมวล 80 kg. ซึ่งวางอยูบ่ นโต๊ะที่มี


 = 0.2 และ K = 200 N/m จงหาความเร็วเมื่อมวล 40 kg. เคลื่อนที่ได้ 1 m.
1. 1.48 m/s
K=200 N/m
80kg
2. 1.53 m/s
3. 1.62 m/s
µ=0.2 4. 1.80 m/s
40kg
1m
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 33

72.แรงลัพธ์ F กระทาบนวัตถุหนึ่งดังกราฟ ถ้าวัตถุน้ ีมีมวล 1 kg. และความเร็ วต้น 4 m/s จงหาว่างาน


กระทาบนวัตถุน้ ีมีค่าเท่าใด
F (N) 1. 24 J
8 2. 48 J
6 3. 120 J
4
2
t (s)
4. 186 J
1 2 3

73.ดึงกล่องมวล 40 kg. ด้วยแรงคงที่ 130 N ในแนวระดับให้เคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปบนพื้นที่มี


สัมประสิ ทธิ์แรงเสี ยดทาน 0.3 เป็ นระยะทาง 5 m. พลังงานจลน์ของกล่องจะเปลี่ยนไปเท่าใด
1. 50J 2. 100 J 3. 150 J 4. 300 J

74.ออกแรง F คงที่ลากวัตถุ A มวล 4 kg. ขึ้นไปตามพื้นเอียงลื่นด้วยความเร่ ง 0.5 m/s2 ถ้าเดิมวัตถุ A อยู่


นิ่ง จงหากาลังเฉลี่ยของแรง F ตลอดช่วงระยะทาง 5 m. ตามแนวพื้นเอียง
1. 13 5 W 2. 26 5 W
F 3. 12 5 W 4. 24 5 W
4 kg

37o
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 34

75.วัตถุมวล 10 kg. ถูกดันขึ้นในแนวพื้นเอียงทามุม 37O กับแนวราบจากภาวะหยุดนิ่ง ถ้าสัมประสิ ทธิ์


ความเสี ยดทานระหว่างวัตถุกบั พื้นเอียงเท่ากับ 0.5 จงหางานอย่างน้อยที่สุดเพื่อทาให้วตั ถุข้ ึนไปสู งจาก
พื้นดิน 12 m.
1. 50 J 2. 200 J 3. 1.2 kJ 4. 2.0 kJ

 
76.โต๊ะตัวหนึ่งถูกผลักด้วยแรง F ในแนวระดับ ให้เคลื่อนที่จากหยุดนิ่งในแนวตรง โดยแรง F มีการ
เปลี่ยนแปลงตามการกระจัดดังกราฟ ถ้าโต๊ะมีมวล 5 kg. จงหาอัตราเร็ วของโต๊ะที่ระยะกระจัด
5 m. เมื่อกาหนดให้แรงเสี ยดทานที่พ้นื กระทาต่อโต๊ะมีขนาดคงที่ 8 N
F(N)
1. 2 10 m/s 2. 2 6 m/s
3. 2 5 m/s 4. 2 2 m/s
15

S (m)
3 5
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 35

77.วัตถุมวล 5 kg. เริ่ มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง โดยการกระทาของแรงที่มีค่าเปลี่ยนตามเวลา ดังรู ป


จงหาว่าในช่วง 4 วินาที แรงนี้ทางานทั้งหมดกี่จูล
1. 10 จูล 2. 20 จูล
3. 30 จูล 4. 40 จูล

78.ทิ้งวัตถุมวลขนาดเล็กอยูห่ ่างสปริ ง 3 เมตร หลังจากนั้นสปริ งยุบลงไป 2 เมตร ถ้าสปริ งมี การกระเด้ง


ขึ้นๆลงๆแบบ Simple Harmonic Motion จงหาว่าสปริ งจะมีการเด้งขึ้นลงกี่ ครั้งต่อวินาที
1. 0.6 Hz 2. 0.8 Hz
3. 1.25 Hz 4. 1.59 Hz
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 36

79.ปล่อยวัตถุมวล m = 0.4 kg. ที่ติดกับปลายสปริ งที่มีค่าคงตัว k = 40 2 N/m โดยจุดเริ่ มปล่อยเป็ น


ตาแหน่งที่สปริ งมีความยาวปกติ ถ้าสัมประสิ ทธิ์ความเสี ยดทานจลน์ระหว่างวัตถุกบั พื้นเอียงเท่ากับ 0.5
จงหาระยะตามแนวพื้นเอียงที่วตั ถุลงมาได้ต่าสุ ด ตอบในหน่วย cm. ( 5.0 เซนติเมตร)

0.4kg

45o

80. จากรู ป เริ่ มปล่อยวัตถุมวล 5 kg. ให้เคลื่อนที่ดิ่งลง จงหาความเร็วของวัตถุเมื่อเคลื่อนที่ลงมาได้


ระยะทาง 0.2 m. กาหนดให้ค่าคงตัวของสปริ งเป็ น 45 N/m
1. 1.3 m/s K=45 N/m
2. 1.5 m/s
3. 1.7 m/s
4. 1.9 m/s
5kg
0.2m
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 37

81.น้องเทพฤทธต้องการโชว์เทพอวดสาวโดยการโดดบันจี้จมั๊ จากอาคารเรี ยนที่ความสู ง 36 เมตร ใน


วันปิ ดภาคเรี ยน ปรากฏว่าเขาลืมนึงถึงว่าเชือกที่เค้าใช้มีลกั ษณะคล้ายสปริ ง (สามารถยืด หด ได้เป็ นไป
ตามกฎของ Hook) มีค่าคงที่ของสปริ งเท่ากับ 4,800 N/m พวกเรามาช่วยกันลุน้ ว่าเขาสามารถ
เลือกใช้ความยาวเชือกได้มากที่สุดกี่เมตร เขาถึงจะรอดตาย หัวไม่กระแทกพื้นคอนกรี ตข้างล่าง
กาหนดให้ เขามีมวล 60 กิโลกรัม (ไม่ตอ้ งคิดความสู งของเขาและไม่ตอ้ งคานึงถึงพลังงานจลน์
เพราะถือว่าที่ปลายเชือกเขาหยุดนิ่ง พอดี)
1. 35 เมตร 2. 33 เมตร 3. 31 เมตร 4. 30 เมตร

82.ก้อนโลหะมวล 2 kg. ยึดติดไว้ที่ปลายสปริ งเบาที่มีค่าคงตัวสปริ ง 50 N/m ดังรู ป ระหว่างพื้นกับก้อน


โลหะมีสมั ประสิ ทธิ์ความเสี ยดทานจลน์เท่ากับ 0.5 เมื่อออกแรงคงที่ F ขนาด 20 N ดึงก้อนโลหะให้วิ่ง
ไปทางขวา จงหาว่าก้อนโลหะจะเคลื่อนที่ออกไปได้ระยะไกลที่สุดจากจุดเริ่ มต้นกี่เซนติเมตร กาหนด
ว่าที่จุดเริ่ มต้นก้อนโลหะหยุดนิ่ง และสปริ งอยูใ่ นสภาพความยาวปกติ ( 0.4 เมตร)

K=50 N/m F=20 N


2kg

 =0.5
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 38

83.เมื่อปล่อยวัตถุมวล 2 kg. ให้ไถลลงมาชนสปริ งที่ติดอยูป่ ลายล่างของพื้นเอียงดังแสดงในรู ป พบว่า


จะเกิดระยะยุบมากที่สุดของสปริ งเท่ากับ 4 cm. จงหาค่าคงที่ของสปริ ง
1. 4000 N/m
16 CM
2. 3000 N/m 2kg
3. 2720 N/m
4. 2450 N/m
μ K =0.2
53 o

84.วัตถุมวล 4 kg. วางอยูบ่ นพื้นราบลื่น และยึดติดกับสปริ งที่มีค่าคงตัวของสปริ ง 100 N/m ถ้าดึงวัตถุ


ให้สปริ งยืดออก 10 cm. แล้วปล่อยให้สนั่ ขณะวัตถุอดั สปริ งเข้าไป 6 cm. วัตถุจะมีความเร็ ว กี่เมตรต่อ
วินาที ( 0.4 เมตร/วินาที)

85.ยิงลูกปื นมวล 20 g. ด้วยอัตราเร็ ว 200 m/s ในแนวระดับเข้าตรงแท่งไม้มวล 400 g. ที่วางอยูบ่ นพื้น


ลื่น หลังชนพบว่าลูกปื นทะลุแท่งไม้ออกไปด้วยอัตราเร็ ว 100 m/s การชนนี้เกิดความร้อนขึ้นเท่าใด
1. 295 J 2. 300 J 3. 305 J 4. 400 J
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 39

86.วัตถุมวลขนาด 100 กิโลกรัม ถูกปล่อยจากตึกสู ง 9 เมตร โดยมีเชือกยืดหยุน่ ที่มีสมบัติเหมือน


สปริ งผูกติดอยู่ ถ้าเชือกมีคา่ นิจของสปริ ง 2000 นิวตันต่อเมตร พบว่าเมื่อปล่อยมวลจากตึกแล้วเชือก
จะยืดจนมวลแตะสัมผัสพื้นพอดี โดยที่ไม่เกิดการกระแทก จงหาว่าเชือกจะดึงมวลกลับจากพื้นด้วย
ความเร่ งกี่เท่าของแรงโน้มถ่วงของโลก
1) ศูนย์ 2) g 3) 2g 4) 3g 5) 5g

87.สมชายมีมวล 80 กิโลกรัม กระโดดจากขอบสะพานซึ่งสู ง 1000 เมตรจากผิวน้ า โดยใช้เชือก


ยืดหยุน่ ที่มีสมบัติ เหมือนสปริ งเชิงเส้นผูกข้อเท้าไว้ (เหมือนกระโดดบันจี้จมั พ์) โดยที่เชือกมีค่าคงที่
เท่ากับ 4000 นิวตั'น/เมตร จงหาว่า สมชายจะต้องใช้เชือกยาวกี่เมตร จึงจะสามารถแตะผิวน้ าได้พอดี
กาหนดให้ g = 10 เมตร/วินาที2 (ไม่คิดมวล ของเส้นเชือก และถือว่าความสู งของสมชายน้อยมากเมื่อ
เทียบกับความสู งของสะพาน)
1) 800 m 2) 900 m 3) 950 m 4) 980 m 5) 1000 m
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 40

88.รถไฟฟ้าคันหนึ่งใช้แรงดันไฟฟ้า 1500 โวลต์ ในการขับเคลื่อนมอเตอร์ที่ความเร็วรถ 72 กิโลเมตร


ต่อชัว่ โมง แรงเสี ยดทานระหว่างล้อรถกับพื้นระดับราบเป็ น 5 กิโลกรัมต่อตัน ถ้ารถมีมวล 100 ตัน และ
มอเตอร์ มีประสิ ทธิภาพ 90% จงหากระแสไฟฟ้าที่ใช้
1) 52 A 2) 74 A 3) 85 A 4) 93 A

89.ตามรู ป กาหนดว่าเชือกเบาไม่ยดื หยุน่ รอกหมุนคล่องดีทุกตัว


และเบา มอเตอร์ M ทางานสมาเสมอ ใช้ดึงมวล 20 kg ขึ้นใน
แนวดิ่ง ด้วยความเร็ วคงที่ 5 m/s จงคานวณหากาลังที่ใช้ดึงมวล 5
kg และกาลังของมอเตอร์ ตามลาดับ
1.150 w และ 550 w
2.150 w และ 750 w
3.250 w และ 750 w
4.350 w และ 950 w
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 41

การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
90.เหล็กทรงกลมเล็ก ๆ กลิ้งไปบนพื้นราบเอียงซึ่งทามุม 300 กับแนวระดับจากจุด A ด้วยความเร็วต้น
5 m/s ขนานกับแนวระดับ ดังรู ป จงหาระยะ d ที่ลูกเหล็กเคลื่อนที่ได้ตามแนวระดับ

1. 5 m

2. 10 m

3. 2 5 m

4. 3 5 m

91.นาย ก ปาลูกบอลออกไปในแนวระดับด้วยความเร็ว 9 m/s จากระดับความสู ง 180 m ดังรู ป ถ้า


นาย ข เริ่ มออกตัววิ่งจากตึกไปด้วยความเร่ งคงที่ในขณะเดียวกันกับที่นาย ก ปาลูกบอล จงหาว่านาย ข
จะต้องวิ่งไปด้วยความเร่ ง เท่าใดจึงจะสามารถรับลูกบอลได้พอดี (กาหนดให้ค่าความเร่ งเนื่องจากแรง
โน้มถ่วงของโลกมีค่าเท่ากับ 10 m/s2 และไม่คิดแรงต้านอากาศ)

1) 1 m/s2 2) 2 m/s2 3) 3 m/s2 4) 4 m/s2 5) 5 m/s2


ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 42

92.สุ ชาติยนื บนยอดตึกแล้วโยนก้อนหินออกไป 2 ก้อน โดยโยนก้อนหินก้อนแรกออกไปก่อนด้วย


ความเร็ ว 10 เมตรต่อวินาทีทามุม 53 องศากับแนวราบ แล้วจึงโยนก้อนหินก้อนที่สองออกไป
ตามหลังในแนวเดียวกัน ด้วยความเร็ ว เท่าเดิมแต่ทามุม 37 องศากับแนวราบ พบว่าก้อนหินทั้ง 2
ก้อนได้ชนกันกลางอากาศ จงหาว่าสุ ชาติโยนก้อนหิน ก้อนที่สองหลังจากโยนก้อนหินก้อนแรกออกไป
แล้วกี่วินาที (กาหนดให้ค่าความเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก g = 10 เมตร/วินาที2)

1) 0.4วินาที 2) 0.6วินาที 3) 0.8วินาที 4) 1.2วินาที

93. ยิงกระสุ นปื นออกไปในแนวราบจากหน้าผาสู งด้วยอัตราเร็ ว 10 m/s เมื่อกระสุ นตกมาถึงจุด A จะ


มีอตั ราเร็ ว 20 m/s และเมื่อกระสุ นกระทบพื้นจะมีอตั ราเร็ ว 30 m/s จงหาว่าจุด A อยูส่ ู งจากพื้นกี่
เมตร
1. 15 m 2. 25 m
3. 40 m 4. 55 m
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 43

94. ปล่อยวัตถุกอ้ นหนึ่งได้แกว่งลงมาดังรู ป ความเร่ งที่ตาแหน่งต่าสุ ดมีขนาดเท่าใด กาหนดให้


ใช้ความเร่ งจากแรงโน้มถ่วง 9.8 m/s2
R
1. 0 m/s 2
2. 5 m/s 2

3. 19.6 m/s2 4. 20 m/s2


g

95. ดาวเทียมมวล m ที่โคจรรอบโลกที่มีมวล M จะเกิดแรงสู่ ศูนย์กลางซึ่ งนาไปสู่ การหาอัตราเร็ ว


ของดาวเทียมที่รัศมีโคจร r จากศูนย์กลางโลกดังนี้
GmM mv 2 GmM
ถ้า (1) F= (2) = 2
r2 r r

GM
(3) v=
r

จากสมการ (3) จะเห็นได้วา่ อัตราเร็ ววงโคจรที่เพิ่มขึ้นสัมพันธ์กบั รัศมีวงโคจรที่ลดลง


ข้อใดถูก
1.สมการ (3) ใช้ไม่ได้ถา้ มวลของดาวเทียมเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลา
2.ดาวเทียมที่กาลังโคจรเป็ นวงกลมรอบโลก งานเนื่องจากแรงดึงดูดระหว่างมวลมีค่าเป็ นศูนย์
3.จากสมการ (3) ถ้าต้องการให้ดาวเทียมลดรัศมีวงโคจร เราต้องทาให้ดาวเทียมจุดระเบิด
เครื่ องยนต์ เพื่อดันให้ดาวเทียมโคจรเร็ วขึ้น
4. ในขณะที่ดาวเทียมกาลังโคจรเป็ นวงกลมรอบโลกด้วยอัตราเร็ วคงที่ จะมีความเร่ งเป็ นศูนย์
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 44

96. จงหาอัตราส่ วนคาบการหมุนของวัตถุ (รู ป ก.) เทียบกับคาบการหมุนของวัตถุ (รู ป ข) เป็ นเท่าใด

θ 2θ
 

m 2m

รู ป ก รู ป ข

sinθ cosθ
1. 2. 3. cosθ 4. sinθ
1 − sin 2θ 1 − 2sin 2θ

97. วัตถุหนึ่งผูกเชือกเบาแล้วแกว่งวัตถุให้เคลื่อนที่เป็ นวงกลมในระนาบดิ่ง โดยพบว่าที่จุดต่าสุ ด


อัตราเร็ วของวัตถุเป็ น 7gR ถามว่า เมื่อวัตถุอยูจ่ ุดสู งสุ ด วัตถุจะมีความเร่ งเป็ นเท่าใดในเทอมของ g
1. g 2. 2 g 3. 3 g 4. 4 g
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 45

98. ดาวเทียมมวล m โคจรรอบโลกมวล M E เป็ นวงกลมโดยมีความสู งเทียบกับผิวโลกเป็ น 2 เท่า


ของรัศมีโลก R E ขนาดโมเมนตัมเชิงมุมของดาวเทียมรอบจุดศูนย์กลางโลกเป็ นเท่าใด เมื่อ G เป็ น
ค่านิจโน้มถ่วงสากล
1. m GM E R E 2. 3m GM E R E 3. m 3GM E R E 4. 2m GM E R E

99.ดาวเทียม s ดวงหนึ่งโคจรรอบโลก โดยมีวิถีเป็ นวงกลม (ความจริ งเป็ นวงรี แต่เนื่องจากดาวเทียม


อยูใ่ กล้โลกมาก จึงสามารถคิดได้วา่ ทางโคจรของดาวเทียมใกล้เคียงกับวงกลมมาก) ถ้าโลกมีรัศมีเฉลี่ย
เป็ น R มีสนามโน้มถ่วงที่ผวิ โลกเป็ น g อัตราเร็ วของดาวเทียมเป็ น V ถามว่า ดาวเทียมโคจรสู งจากผิว
โลกเท่าใด ( 1 )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 46

100.ดาวเทียมมวล ms โคจรเป็ นวงรี รอบโลกชึ่งมีมวล mE โดยมีระยะไกลสุ ดและใกล้สุดเป็ น 6R และ


2R ตามลาดับ เมื่อ R เป็ นขนาดรัศมีของโลก ผลของแรงดึงดูดระหว่างมวลจะทาให้ขนาดของความเร็ ว
เชิงมุมที่ระยะใกล้สุด (ωA) มีค่าเป็ นกี่เท่าของขนาดความเร็ วเชิงมุมที่ระยะไกลที่สุด (ωB) ( 9 เท่า )

101. ลูกตุม้ บอล 500 กรัม แขวนกับสปริ งที่มีความยาวปกติ 40 เซนติเมตร ถ้าแกว่งลูกตุม้ แบบลูกตุม้
นาฬิกาเป็ นมุมแคบ ๆ ลูกตุม้ จะแกว่งด้วยคาบเท่าใด (กาหนด สปริ งมีค่านิจสปริ ง 10 N/m)
1. 1.2 s 2. 1.4 s 3. 1.9 s 4. 5.6 s

102. ดาวเทียมดวงหนึ่ งโคจรรอบโลกด้วยรัศมีวงโคจร R จะมีคาบเป็ น T ถ้าดวงเทียมนี้ โคจรรอบ


ดาวเคราะห์ที่มีมวล 3 เท่าของโลก ด้วยรัศมีวงโคจรเป็ น 3R จะมีคาบหรื อเวลาครบรอบเท่าใด

1. 3T 2. 9T 3. T 4. 1 T
3
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 47

เฉลยชุดกลศาสตร์

1. 4 2. 3 3. 2 4. 3 5. 2 6. 3 7. 1 8. 3 9. 1 10. 3
11. 3 12. 2 13. 1 14. 1 15. 2 16. 2 17. 1 18. 2 19. 3 20. 4
21. 2 22. 2 23. 4 24. 4 25. 3 26. 2 27. 1 28. 1 29.1 30. 3
31. 0.33 32. 4 33. 2 34. 2 35. 1 36. 1.46 37. 3 38. 4 39. 2 40. 2
41. 3 42. 1 43. 4 44. 3 45. 4 46. 4 47. 2 48. 2 49. 2 50. 2 51. 5
52. 4 53. 2 54. 3 55. 3 56. 4 57. 1 58. 2 59. 4 60. 3 61. 3 62. 2 63. 3
64. 1 65. 3 66. 1 67. 1 68. 1 69. 2 70. 3 71. 2 72. 3 73. 1 74. 1 75. 4
76.4 77.4 78.2 79. 5 80. 4 81.2 82. 0.4 83. 1 84. 0.4 85.1 86.5 87.4
88.2 89.3 90.2 91.3 92.1 93.2 94.3 95.2 96.2 97.3 98.3 99.1 100. 9
101. 3 102.1
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 48

ชุดคลื่น
1
1. ถ้าคลื่นชุดหนึ่ งมีลกั ษณะดังรู ป โดยแหล่งกาเนิ ดมีการสั่นด้วยความถี่ f = Hz จงหาว่าอนุภาค
π
ตัวกลางที่อยูบ่ นคลื่นที่จุด B จะมีความเร็ วการสัน่ เป็ นเท่าใด

การกระจัด (ซม.)
2 1
5 1. m/s 2. m/s
π π
B ระยะทาง (เมตร)
0 1 2 3 3. 0.2 m/s 4. 0.1 m/s

-5

2. ใช้ส้อมเสี ยงทาการสั่นเส้นเชือกที่ผูกติดกับเส้นเชื อกได้คลื่นในเส้นเชื อกดังรู ป ถ้านาส้อมเสี ยงมา


เคาะ แล้วนาไปวางเหนือท่อสั่นพ้อง ทาให้เกิดคลื่นนิ่งของเสี ยงในท่อ จงหาความยาวต่าที่สุดของท่อ
สัน่ พ้อง กาหนดให้ เสี ยงในอากาศมีค่า 360 m/s
V = 10m/s

15 cm 
m

1. 0.35 m 2. 0.70 m 3. 1.20 m 4. 1.35 m


ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 49

3.ชายคนหนึ่งเดินทางจาก S1 ไปยัง S 2 เขาจะได้ยนิ เสี ยงเบา (บัพ) ครั้งแรกเมื่อเขาเดินไปแล้วกี่เมตร


กาหนดให้ อัตราเร็ วคลื่น 420 m/s ความถี่ 280 Hz

S1
1. 0.75 m 2. 0.375 m
3. 1.5 m 4. 1.75 m
6m

S2

4.จากรู ปเป็ นคลื่นที่กาลังเคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร็ วคงที่ 2 m/s ขณะที่เวลาผ่านไป 2.5 วินาที รู ปคลื่นจะเป็ น
อย่างไร ( เส้นตรง )
V=2 m/s

2 4 6 8

5.ลวดเส้นหนึ่งถูกตรึ งที่ปลาย 2 ข้าง แล้วดีดตรงกลางทาให้เกิดคลื่นนิ่งในลวดความถี่ 10 Hz.


ถ้าเปลี่ยนความตึงเป็ น 4 เท่าของความตึงเดิม จงหาว่าลวดจะสัน่ ด้วยความถี่เท่าใด
1. 10 Hz. 2. 20 Hz. 3. 30 Hz. 4. 40 Hz.
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 50

6.แหล่งกาเนิดคลื่นอาพันธ์ 2 แหล่ง ให้คลื่นที่มีเฟสตรงกันข้าม ถ้าแหล่งกาเนิดอยูห่ ่างกัน 50 cm. ถ้า


คลื่นมีความเร็ ว 2 m/s และมีความถี่ 50 Hz. จะเกิดแนวที่อนุภาคตัวกลางสัน่ แรงทั้งหมดกี่แนว
1. 12 2. 13 3. 24 4. 26

7.S1 และ S2 เป็ นจุดกาเนิดคลื่นน้ าอาพันธ์ เฟสตรงกัน ความถี่ 50 Hz โดยคลื่นน้ ามีอตั ราเร็ ว 100 cm/s
จุด A อยูบ่ นผิวน้ าห่างจาก S1 และ S2 เป็ นระยะ 18 cm. และ 23 cm. ตามลาดับ ที่จุด A นี้คลื่นน้ าจะ
แทรกสอดกันด้วยเฟสที่ต่างกันเท่าใด
1. 0O 2. 90O 3. 180O 4. 210O

8.S1 และ S2 เป็ นจุดกาเนิดคลื่นน้ าอาพันธ์เฟสตรงกัน อยูห่ ่างกัน 10 cm. จุด P เป็ นจุดบนผิวน้ า ซึ่งอยู่
ห่างจาก S1 และ S2 เท่ากับ 15 cm. และ 22 cm. ตามลาดับ ถ้าคลื่นน้ ามีความยาวคลื่น 2 cm. แสดงว่า
1. จุด P เป็ นจุดบนแนวปฎิบพั ที่ 4
2. จุด P เป็ นจุดบนแนวบัพที่ 2
3. จุด P เป็ นจุดที่คลื่นทั้งสองมาถึงโดยมีเฟสต่างกัน 0 rad
4. คลื่นจากแหล่งกาเนิดทั้งสองมีเฟสต่างกัน 7  rad ที่จุด P
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 51

9.คลื่นอาพันธ์ 2 ขบวน เคลื่อนที่ทิศเดียวกันในบริ เวณเดียวกัน ถ้าคลื่นทั้งสองมีแอมพลิจูด 4 mm.


เท่ากัน แต่มีความต่างเฟส 60O การแทรกสอดจะได้คลื่นแอมพลิจูดเท่าใด
1. 4 mm. 2. 4 3 mm. 3. 4 2 mm. 4. 8 mm.

10.คลื่นน้ าขบวนหนึ่งพบว่า ระยะระหว่าง 2 จุดที่คลื่นมีความต่างเฟส 120O จะห่างกัน 20 cm. และเมื่อ


จับเวลาที่คลื่นลูกแรกเคลื่อนที่จากขอบสระด้านหนึ่งไปยังขอบสระอีกด้านหนึ่งซึ่งอยูห่ ่างออกไป
45 m. จะใช้เวลา 3 วินาที จงหาว่าคลื่นน้ านี้มีความถี่กี่รอบต่อวินาที
1. 6 2. 9 3. 15 4. 25

11.คลื่น 2 ขบวน วิ่งเข้าหากันด้วยอัตราเร็วเท่ากัน 1 m/s ดังรู ป จงหาว่าอีกกี่วนิ าทีรูปคลื่นจึงจะมี


ลักษณะหักล้างกันหมด
1. 1.0 2. 1.5
3. 2.0 4. 3.0
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 52

12.เชือก AB ยาว 1 m. ปลาย B เป็ นห่วงคล้องกับเสาทาให้เคลื่อนที่ได้อิสระในแนวดิ่ง จับปลาย A แล้ว


สะบัดขึ้นลงอย่างสม่าเสมอด้วยความถี่ 20 รอบ/วินาที จงหาว่าระหว่างปลายเชือก AB จะเกิดบัพ
ทั้งหมดกี่บพั กาหนดความเร็ วคลื่นในเส้นเชือกเป็ น 10 m/s
1. 2 2. 3 3. 4 4. 5

13.นาเชือก 2 เส้น มาต่อกันโดยแต่ละเส้นมีมวลต่อหนึ่งหน่วยความยาวเป็ น 1 และ  2 ตามลาดับ


โดย 1 >  2 นาปลายข้างหนึ่งตรึ งไว้และสะบัดปลายเชือกด้านหนึ่งให้เกิดคลื่นดลดังรู ป ข้อใดเป็ น
การเคลื่อนที่ของคลื่นดลที่ผา่ นรอยต่อและสะท้อนกลับในเส้นเชือก (2)
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 53

14.คลื่นต่อเนื่อง 2 ขบวน เคลื่อนที่ออกจากแหล่งกาเนิดพร้อมกัน โดยคลื่น A มีความถี่ 32 Hz และ


คลื่น B มีความถี่ 27 Hz เมื่อเวลาผ่านไป 0.5 วินาที คลื่นทั้ง 2 ขบวนมีความต่างเฟสเท่าใด
1. 2 π เรเดียน 2. 4 π เรเดียน 3. 5 π เรเดียน 4. 6 π เรเดียน

15.คลื่นขบวนหนึ่งเคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร็ ว 10 cm/s ความยาวคลื่น 10 cm และมีแอมปิ จูด 5 cm


จงหาว่าอนุภาคที่คลื่นขบวนนี้ผา่ นไปจะมีความเร็ วและความเร่ งสู งสุ ดเท่าใด ตามลาดับ
1. 5 π cm/s, 10 π 2 cm/s2 2. 10 π cm/s, 10 π 2 cm/s2
3. 5 π cm/s, 20 π 2 cm/s2 4. 10 π cm/s, 20 π 2 cm/s2
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 54

16.เชือก 2 เส้น มีมวลต่อความยาวเชือก เป็ น μ1 และ μ 2 ( μ1 > μ 2 ) นาเชือก ทั้ง 2 มาต่อกัน


แล้วนาไปตรึ งกับกาแพง แล้วส่ งคลื่นดลจากด้านขวามือสู่ รอยต่อ จงพิจารณาว่ารู ปใดถูกต้อง
หลังจากคลื่นดลผ่านรอยต่อแล้ว
1. 2.
A A

ก ก
A

μ รอยต่อ μ
1 2
3. 4.
A A
ก ก

17.จากรู ป แขวนเชือกกับเพดานแนวดิ่ง แล้วทาให้เกิดคลื่นดลด้านล่าง คลื่นดลนี้จะมีการเคลื่อนที่


อย่างไร กาหนดให้ มวล/ความยาวเชือกคงที่
1.เคลื่อนขึ้นด้วย V คงที่
2.เคลื่อนขึ้นด้วยความหน่วง
3.เคลื่อนขึ้นด้วยความเร่ ง
V 4.ไม่สามารถเคลื่อนขึ้นได้
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 55

18.รถยนต์คนั หนึ่งกาลังแล่นบนถนนตรงด้วยอัตราเร็ วคงที่ u เมื่อคนขับบีบแตรที่ให้เสี ยงแตรความถี่ f


จงหาความยาวคลื่นของเสี ยงแตรด้านหลังรถและด้านหน้ารถมีค่าต่างกันเท่าใด ถ้า v เป็ นอัตราเร็ ว
เสี ยงขณะนั้น
2u u 2v v
1. 2. 3. 4.
f f f f

19.ท่อปลายเปิ ด 2 ด้านยาว 20 cm. สามารถเกิดการสัน่ พ้องได้เมื่อนาส้อมเสี ยงความถี่ตามข้อใด


มาจ่อที่ปลาย กาหนดให้เสี ยงมีอตั ราเร็ ว 340 m/s
1. 425 Hz. 2. 625 Hz. 3. 800 Hz. 4. 1700 Hz.
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 56

20.ลาโพงตัวหนึ่งติดไว้กบั กาแพงขนาดใหญ่ ที่สามารถสะท้อนเสี ยงโดยสมบูรณ์ ถ้าลาโพงกระจาย


เสี ยงออกไปด้วยกาลัง 2   10-2 W ที่ตาแหน่งระยะห่างจากลาโพงเท่ากับ 10 m. จะได้ยนิ เสี ยง ที่มี
ระดับความเข้มเท่าใด
1. 83 dB 2. 80 dB 3. 77 dB 4. 74 dB

21.หลอดเรโซแนนซ์ปลายปิ ด 1 ด้าน เปิ ด 1 ด้าน เกิดการสัน่ พ้องหลายครั้ง โดยการปรับความถี่ จาก


ลาโพงที่ใช้อย่างต่อเนื่อง พบว่ามีความถี่ของค่าติดกันคือ 450 Hz. และ 550 Hz. จงหาความถี่มูลฐาน
ของหลอดเรโซแนนซ์
1. 50 Hz. 2. 75 Hz. 3. 100 Hz. 4. 125 Hz.

22.นักเรี ยนคนหนึ่งทาการทดลองเรื่ องการสัน่ พ้องโดยใช้ท่อเรโซแนนซ์ที่มีลูกสู บเลื่อนปรับระยะได้


ถ้าเขาใช้ส้อมเสี ยงที่มีความถี่ 680 Hz. และท่อยาว 100 cm. การทดลองนี้ตาแหน่งลูกสู บที่สามารถทาให้
เกิดการสัน่ พ้องได้มีท้งั หมดกี่ตาแหน่ง กาหนดเสี ยงมีอตั ราเร็ ว 340 m/s
1. 2 ครั้ง 2. 3 ครั้ง 3. 4 ครั้ง 4. 5 ครั้ง
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 57

23.นาส้อมเสี ยงที่กาลังสัน่ มาจ่อที่ปากท่อปลายเปิ ด 1 ข้าง ปิ ด 1 ข้าง ซึ่งยาว 34.6 cm. ขณะนั้นอุณหภูมิ


ของอากาศเป็ น 25O จงหาว่าส้อมเสี ยงความถี่ใดที่ไม่ทาให้เกิดการสัน่ พ้องจากท่อดังกล่าว
1. 250 Hz. 2. 750 Hz. 3. 1000 Hz. 4. 1250 Hz.

24.ลาโพง 2 ตัว ต่อกับเครื่ องกาเนิดเสี ยงเดียวกัน วางหันหน้าเข้าหากันโดยอยูห่ ่างกันพอสมควร ถ้า


นาไมโครโฟนเล็กๆเคลื่อนที่จากลาโพงตัวหนึ่งไปยังลาโพงอีกตัวหนึ่งด้วยอัตราเร็ ว 2 m/s เราจะได้ยนิ
เสี ยงดังกี่ครั้งทุกๆ 1 วินาที กาหนดให้เครื่ องกาเนิดเสี ยงให้กาเนิดเสี ยงที่มีความถี่ 680 Hz. และขณะ
ทาการทดลองอากาศมีอุณหภูมิ 15 OC
1. 2 ครั้งต่อวินาที 2. 4 ครั้งต่อวินาที 3. 6 ครั้งต่อวินาที 4. 8 ครั้งต่อวินาที

25.ระเบิด 2 ลูก เกิดระเบิดพร้อมกัน ลูกแรกมีกาลังเสี ยงเท่ากับ 40  วัตต์ และลูกที่สองมีกาลังเสี ยง


เท่ากับ 20  วัตต์ ชายคนหนึ่งยืนห่างจากระเบิดลูกแรกเป็ นระยะ 200 m. และห่างจากระเบิดลูกที่สอง
เป็ นระยะ 100 m. ชายคนนี้จะได้ยนิ เสี ยงระเบิดมีระดับความเข้มเสี ยงเท่าใด โดยไม่คิดผลของการแทรก
สอด
1. 91.25 dB 2. 88.75 dB 3. 85.25 dB 4. 80.50 dB
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 58

26.ชายคนหนึ่งยืนอยูห่ ่างจากลาโพง A และ B เป็ นระยะหนึ่ง ชายคนนี้วดั ระดับความเข้มเสี ยงจาก


ลาโพง A ตัวเดียวได้ 60 dB และวัดระดับความเข้มเสี ยงจากลาโพง B ตัวเดียวได้ 63 dB ถ้าเปิ ดลาโพง
2 ตัวพร้อมกัน เขาจะวัดระดับความเข้มเสี ยงรวมได้กี่เดซิเบล ถ้าเสี ยงจากลาโพงทั้งสองไม่ใช่เสี ยง
อาพันธ์
1. 63 dB 2. 63.8 dB 3. 64.8 dB 4. 123 db

27.ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
1. ขณะที่รถเปิ ดไซเรนวิ่งผ่านด้านหน้าเรา เราจะได้ยนิ เสี ยงหวอดังและระดับเสี ยงสู งกว่าปกติ
2. ที่ตาแหน่งใดๆในอากาศที่มีเสี ยงเคลื่อนที่ผา่ น จะมีความดันเกจเปลี่ยนแปลงแบบซิมเปิ ลฮาร์โมนิก
และขณะที่มีความดันเกจสู งสุ ด โมเลกุลอากาศจะมีความเร่ งสู งสุ ด
3. เมื่อเคาะส้อมเสี ยงแล้วนาไปไว้ใกล้ๆเส้นลวดที่ขึงตึง อาจทาให้ลวดเกิดการกาทอนขึ้นได้
4. ถ้าความถี่โอเวอร์โทนที่ 1 ของลาอากาศในท่อปลายปิ ด 1 ด้านเป็ น 300 Hz. ดังนั้นความถี่
500 Hz. ก็สามารถกระตุน้ ให้ลาอากาศในท่อเกิดการกาทอนขึ้นได้
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 59

28.แหล่งกาเนิดคลื่นเสี ยงส่ งคลื่นเสี ยงกาลัง 16  W ออกไปรอบทิศทางเท่าๆกัน เมื่อเสี ยงเคลื่อนที่ได้


100 m. แอมพลิจูดจะลดลงเหลือครึ่ งหนึ่ง จงหาระดับความเข้มเสี ยง ณ ตาแหน่ง 100 m. นี้ เป็ นเท่าใด
(กาหนด log2 ~ 0.30) ( 80 db )

29.ท่ อ ปลายปิ ด (X) และท่ อ ปลายเปิ ด (Y) ให้ ค วามถี่ ข องเสี ย งเหมื อ นกัน แล้ว เกิ ด การสั่ น พ้อ ง
โอเวอร์โทนที่ 1 จงหาความยาวท่อ X : ความยาวท่อ Y
1. 1 : 2 2. 2 : 3 3. 3 : 4 4. 4 : 5

30.หลอดกาทอนปลายเปิ ด 2 ด้าน เกิดการสั่นพ้องหลายครั้ง โดยการปรับความถี่จากลาโพงอย่าง


ต่อเนื่ อง พบว่า มีความถี่ของค่าที่ติดกัน 2 ค่า คือ 450 Hz และ 675 Hz จงหาว่าความถี่ที่เริ่ มต้น
ของการสัน่ พ้องเป็ นเท่าใด
1. 125 Hz 2. 225 Hz 3. 320 Hz 4. 450 Hz
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 60

31.ชายคนหนึ่ งยืนห่ างจากแผ่นสะท้อนเสี ยงซึ่ งเป็ นแผ่นวงกลมรัศมี 0.2 เมตร เป็ นระยะ 10 เมตร
เมื่อเขาตะโกนเสี ยงด้วยกาลังเสี ยง 4 x 10-5 วัตต์ กาลังเสี ยงที่สะท้อนกลับจากแผ่นสะท้อนเป็ นเท่าใด
1. 10-9 watt 2. 4 x 10-9 watt 3. 2 x 10-7 watt 4. 2.5 x 10-5 watt

32.ถ้าใช้แหล่งกาเนิดเสี ยงวางไว้ที่ท่อปลายเปิ ด 2 ด้าน พบว่าภายในท่อเกิดการสั่นพ้องฮาร์โมนิก ที่ 2


โดยความถี่น้ ี มีค่าเป็ น 2 เท่าของความถี่โอเวอร์ โทนที่ 1 ของท่อปลายปิ ด 1 ด้านเปิ ด 1 ด้าน ถ้าท่อ
ปลายปิ ด มีความยาว 60 ซม. ท่อปลายเปิ ด 2 ด้านจะมีความยาวเท่าใด
1. 40 ซม. 2. 60 ซม. 3. 80 ซม. 4. 90 ซม.

33. ส้อมเสี ยงที่มีความถี่ 256 Hz ทาให้ทอ่ ปลายเปิ ด 1 ข้าง เกิดการสัน่ พ้องได้ ถ้าความเร็ วเสี ยงเป็ น
330 m/s จะต้องตัดท่อให้ส้ นั ลงกี่เซนติเมตร จึงจะเกิดเสี ยงความถี่สนั่ พ้องสู งขึ้นอีก 4 Hz
1. 0.2 ซม. 2. 0.3 ซม. 3. 0.4 ซม. 4. 0.5 ซม.
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 61

34. นักร้องประสานเสี ยง 10 คน เมื่อร้องเพลงพร้อมกันในห้อง พบว่าวัดระดับความเข้มเสี ยงได้


70 dB ถ้าแต่ละคนให้กาลังเสี ยงเท่าๆ กัน จงหาว่าแต่ละคนให้ระดับความเข้มเสี ยงได้กี่เดซิเบล
1. 7 dB 2. 8 dB 3. 80 dB 4. 60 dB

35. ลาโพงตัวหนึ่งมีความถี่ช่วง 600 - 3,000 Hz นาไปวางไว้กบั ท่อปลายเปิ ด 2 ด้านที่ยาว


20 เซนติเมตร ถ้าอัตราเร็ วเสี ยงเป็ น 340 m/s ชุดความถี่ที่ทาให้เกิดการสัน่ พ้องคือข้อใด
1. 850, 1650, 2650 Hz 2. 850, 1500, 2550 Hz
3. 850, 1750, 2650 Hz 4. 850, 1700, 2550 Hz

36. ถ้ามีรถไฟกาลังเคลื่อนที่เข้าสู่ ชานชาลาได้เปิ ดเสี ยงหวูดขึ้นมา ถามว่าผูส้ ังเกตที่ยนื อยูบ่ นชานชาลา


จะได้ยนิ เสี ยงหวูดอย่างไร
1.มีความยาวคลื่นมากขึ้น ขณะรถไฟเข้าสู่ ชานชาลา
2.มีความถี่สูงขึ้น ขณะรถไฟออกจากชานชาลา
3.มีความถี่คงที่ ขณะรถไฟเข้าหรื อออกจากชานชาลา
4.มีความถี่ลดลง เมื่อรถไฟออกจากชานชาลา
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 62

37. กาหนดให้ความถี่มูลฐานของการสั่นพ้องบนท่อปลายเปิ ด 2 ด้าน เป็ น 240 Hz จงหาว่าความถี่


ของเสี ยงที่ฮาร์โมนิกที่ 3 มีค่าต่ากว่าความถี่ของเสี ยงที่ฮาร์โมนิกที่ 7 กี่เฮิรตซ์
1. 240 Hz 2. 360 Hz 3. 480 Hz 4. 960 Hz

38. ลาโพงตัวหนึ่งมีความถี่ช่วง 600 - 3,000 Hz นาไปวางไว้กบั ท่อปลายปิ ด 1 ด้านที่ยาว


20 เซนติเมตร ถ้าอัตราเร็ วเสี ยงเป็ น 320 m/s ความถี่ที่ทาให้เกิดการสัน่ พ้องคือข้อใด
1. 800 Hz 2. 1000 Hz
3. 1600 Hz 4. 2000 Hz

39. ชายคนหนึ่งยืนห่างจากกาแพงสะท้อนเป็ นระยะ R 0 โดยกาแพงมีพ้นื ที่สะท้อนเป็ น A 0 ถ้าชายคน


นี้ ตะโกนเสี ยงด้วยกาลัง P0 และกาแพงสามารถดูดซับเสี ยงได้ครึ่ งหนึ่ ง จงหาว่ากาลังเสี ยงที่ออกมา
จากกาแพงเป็ นเท่าใด ถ้าเสี ยงที่ชายคนนี้ตะโกนตกตั้งฉากกับกาแพง
P0 A 0 P0 A 0
1. 0.5 P0 2. 3. 4. 0.25 P0
4π R02 8π R02
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 63

40. ในการทดลองหาอัตราเร็ วของกระแสเลือดในร่ างกายโดยการส่ งคลื่นเสี ยงอุลตราโซนิก


v = 800 m/s ด้วยความถี่ 400 Hz ปรากฏว่าวัดความถี่ที่กลับมากลับมาได้เป็ น 453 Hz จงหา
อัตราเร็ วของกระแสเลือดเป็ นเท่าใด
1. 25 m/s 2. 50 m/s 3. 75 m/s 4. 100 m/s

41.หลอดกาทอนปลายปิ ดข้างหนึ่ง มีความยาว 50 ซม. จะเกิดการสั่นพ้องกับความถี่ 20 – 20,000 Hz


ได้กี่ความถี่ กาหนดให้ความเร็ วเสี ยงเป็ น 350 m/s
1. 48 2. 51 3. 53 4. 57

42. การหาความสามารถของการได้ยนิ ต่าที่สุดของคนพิการทางหูคนหนึ่ง พบว่า เมื่อเปิ ดลาโพงที่มี


กาลังเสี ยง 4π Watt โดยลาโพงวางห่างจากคนพิการ 10 เมตร ปรากฏว่า เขาได้ยนิ เสี ยงวัดเป็ น
ระดับความเข้มของคนพิการได้ 60 dB จงหาความเข้มต่าสุ ดที่เขาสามารถได้ยนิ เป็ นกี่วตั ต์ต่อตาราง
เมตร
1. 10 −12 Watt/m 2 2. 10 −8 Watt/m 2 3. 10 −7 Watt/m 2 4. 10 −5 Watt/m 2
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 64

43.

มิลลิวินาที

100 200 300

จากรู ป จงหาความถี่บีตส์ของคลื่นเป็ นกี่เฮิรตซ์


1. 100 Hz 2. 50 Hz 3. 10 Hz 4. 5 Hz

44.ส้อมเสี ยงที่มีความถี่ 256 Hz ทาให้ท่อปลายเปิ ด 1 ข้าง เกิดการสัน่ พ้องได้ ถ้าความเร็ วเสี ยงเป็ น
330 m/s จะต้องตัดท่อให้ส้ นั ลงกี่เซนติเมตร จึงจะเกิดเสี ยงความถี่สนั่ พ้องสู งขึ้นอีก 4 Hz
1. 0.2 ซม. 2. 0.3 ซม. 3. 0.4 ซม. 4. 0.5 ซม.
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 65

45. ชายคนหนึ่งยืนอยูบ่ นชานชาลาในสถานีรถไฟได้ยนิ เสี ยงหวูดจากรถไฟที่กาลังเข้าสถานี โดยได้ยนิ


เสี ยงความถี่วดั เป็ นความยาวคลื่นได้นอ้ ยลง 10% จากความยาวคลื่นเสี ยงที่รถไฟส่ งออกมา จงหาว่า
รถไฟกาลังแล่นเข้าหาชานชาลาด้วยความเร็ วเท่าใด กาหนดให้เสี ยงมีอตั ราเร็ ว 350 m/s
1. 70 m/s 2. 50 m/s 3. 35 m/s 4. 25 m/s

46.หลอดไฟดวงเล็กๆติดอยูใ่ ต้สระน้ าลึก 2 m. เมื่อมองหลอดไฟที่จุดA ดังรู ป พบว่าเห็นหลอดไฟ


ชัดเจน แต่เมื่อมองที่ตาแหน่งเลยจุด B ออกไปจะไม่เห็นหลอดไฟ จงหาระยะ AB กาหนดให้
4
น้ ามีดรรชนีหกั เหเท่ากับ
3
A B 2 3
1. 2.
7 7
5 6
2 m. น้ า 3. 4.
7 7

หลอดไฟ
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 66

47.แสงสี แดงมีความยาวคลื่นในช่วง 650 – 700 nm. ส่ องผ่านเกรตติ้งชนิด 1000 เส้น/cm. ใน


แนวตั้งฉาก บนฉากที่อยูไ่ กลออกไปจากเกรตติ้ง 1.0 m. จะปรากฏแถบสเปกตรัมอันดับแรก
มีความกว้างเท่าใด
1. 10 mm. 2. 8 mm. 3. 5 mm. 4. 4 mm.

48.เลนส์นูนความยาวโฟกัส 10 cm. วางไว้หน้ากระจกนูนโดยมีระยะห่าง x ดังรู ป วางวัตถุเล็กๆไว้ที่จุด


O ซึงห่างจากเลนส์นูน 15 cm. ถ้ากระจกนูนมีรัศมีความโค้ง 16 cm. จงหาว่าระยะ x ต้องมีค่ากี่
เซนติเมตร เพือ่ ทาให้ภาพสุ ดท้ายเกิดที่เดียวกับวัตถุ ( 14 cm, 30 cm )
f=10 cm

R=16 cm
0

15 cm x
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 67

49.ถ้าแก้วที่ใช้ในการทาเส้นใยนาแสงมีดชั นีหกั เห 1.5 และมุมตกกระทบของแสงภายในเส้นใยเป็ น


60O จงหาว่าวัสดุที่ใช้ในการห่อหุม้ ท่อแก้วจะมีดชั นีหกั เหได้มากที่สุดเท่าใด
1. 1.1 2. 1.2 3. 1.3 4. 1.4

50.ใช้แสงความยาวคลื่น 600 nm. ฉายผ่านสลิตคู่ซ่ ึงมีระยะห่างระหว่างสลิตเท่ากับ 0.10 mm. จะต้อง


วางฉากห่างจากสลิตเท่าใด เพื่อทาให้แถบมืดและแถบสว่างที่อยูต่ ิดกันห่างกัน 3 mm.
1. 100 cm. 2. 75 cm. 3. 50 cm. 4. 40 cm.

51.วางวัตถุเล็กๆไว้หน้าเลนส์นูนความยาวโฟกัส 10 cm. โดยมีระยะห่างจากเลนส์ 30 cm. ทาให้เกิด


ภาพของวัตถุที่จุด P บนแกนมุขสาคัญ จงหาว่าเมื่อเปลี่ยนเลนส์นูนเป็ นกระจกเว้าความยาวโฟกัส
10 cm. ภาพที่เกิดขึ้นจะอยูห่ ่างจากจุด P กี่เซนติเมตร ( 30 cm )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 68

52.วัตถุเล็กๆวางไว้บนแกนมุขสาคัญของเลนส์นูนความยาวโฟกัส 20 cm. ถ้าเลื่อนวัตถุจากระยะห่าง


40 cm. เทียบกับเลนส์ไปที่ระยะ 30 cm. จากเลนส์ภายในเวลา 2 วินาที อัตราเร็ วเฉลี่ยของภาพใน
ช่วงเวลานี้เป็ นเท่าใด
1. 30 cm/s 2. 20 cm/s 3. 15 cm/s 4. 10 cm/s

53.แสงสี เขียวความยาวคลื่น 500 nm. ผ่านเกรตติ้งชนิด 6000 เส้น/cm จะสามารถเกิดการเลี้ยวเบนได้


สเปกตรัมแถบสว่างถึงอันดับสู งสุ ดที่เท่าใด ( 3 )

54.นาวัตถุวางห่างจากแก้วที่มีความหนา 1 cm. โดยอยูห่ ่างจากแก้ว 4 cm. ถ้าดัชนีหกั เหของแก้ว 1.5


จงหาว่าภาพที่เกิดขึ้นจะอยูห่ ่างจากแก้วเท่าใด (วัดจากผิวที่ใกล้ที่สุดของแก้ว)
1. 3.67 cm. 2. 5.67 cm.
3. 6.67 cm. 4. 7.67 cm.
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 69

55.แสงขาวผ่านเกรตติ้งจานวน 120 ช่องต่อ 1 cm. ถ้าไฟแสงสี เขียวเกิดเลี้ยวเบนโดยห่างจากสี ขาว 0.6


cm. จะต้องวางฉากรับแสงห่างจากเกรตติ้งอย่างน้อยเท่าใด กาหนดให้ ความยาวคลื่นของแสงสี เขียว =
500 nm.
1. 10 cm. 2. 20 cm. 3. 50 cm. 4. 100 cm.

56.ปลาตัวหนึ่งว่ายน้ าอยูล่ ึกจากผิวน้ า 60 cm. มีแมลงบินเหนือตัวปลา ปลาเห็นแมลงอยูห่ ่างจาก ตัวปลา


4
1 m. แมลงตัวนี้จะอยูห่ ่างจากผิวน้ าเท่าใด (ดัชนีหกั เหของน้ า = )
3
1. 30 cm. 2. 40 cm. 3. 50 cm. 4. 60 cm.

58.หลอดไฟขนาด 100 W ให้ความสว่างบนพื้นที่แสงตกตั้งฉากกับพื้นที่ระยะห่าง 2 m. เท่ากับ ความ


สว่างจากหลอดไฟขนาด 500 W ที่ตกกระทบพื้นในแนวทามุม 53O กับพื้น หลอดไฟ 500 W อยูส่ ู ง
จากพื้นเท่าใด
1. 2.0 m. 2. 2.4 m. 3. 3.2 m. 4. 4.0 m.
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 70

59.ในการทดลองวัดความยาวคลื่นของสเปกตรัมของไฮโดรเจน ใช้เกรตติ้งขนาด 8000 เส้น/cm


เมื่อเกรตติ้งห่างจากหลอดไฮโดรเจน 100 cm. จะปรากฏแถบสเปกตรัมเส้นหนึ่งบนไม้เมตรที่ขีด
40 cm.และขีด 60 cm. จงหาความถี่ของเส้นสเปกตรัมนี้มีค่าเท่าใดในหน่วย 1014 Hz.
( 24*1014 Hz)

60.วางวัตถุไว้หน้ากระจกเว้าอันหนึ่งที่ตาแหน่งต่างๆ 4 ตาแหน่ง แล้วสังเกตภาพคมชัดบนฉากที่วางไว้


หลังกระจก เมื่อเขียนกราฟระหว่างส่ วนกลับระยะวัตถุ (x) กับส่ วนกลับของระยะภาพ (y) จะได้ดงั รู ป
จากข้อมูลนี้จะสามารถหารัศมีความโค้งของกระจกได้เท่าใด -1
Y(cm )
1. 10 cm. 2. 5 cm.
3. 4 cm. 4. 2.5 cm 0.3

0.2

0.1
X(cm-1)

0.1 0.2 0.3 0.4


ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 71

61.แสงสี เขียวความยาวคลื่น 550 nm. ผ่านสลิตคู่ในแนวตั้งฉาก โดยสลิตคู่มีระยะห่างเท่ากับ 0.55 mm.


จะต้องวางฉากไว้ หลังสลิตที่ระยะห่างออกไปกี่เซนติเมตร เพื่อทาให้ระยะห่าง ระหว่างแถบสว่าง 4
แถบเรี ยงติดกันบนฉากเท่ากับ 0.6 cm. ( 2 m )

62.ในการใช้กระจกโค้งบานหนึ่ง พบว่าถ้าวางวัตถุห่างกระจก 10 cm. จะเกิดภาพหัวตั้งขนาดขยาย แต่


ถ้าเลื่อนวัตถุออกห่างกระจกอีกเป็ นระยะ 10 cm. ปรากฏว่าจะเกิดภาพหัวกลับแต่มีขนาดขยายเท่าเดิม
จงหาค่าความยาวโฟกัสของกระจกโค้งบานนี้
1. 15 cm. 2. 20 cm. 3. 25 cm. 4. 30 cm.

63.เมื่อฉายแสงเข้าหาด้านข้างของแท่งแก้ว โดยทามุม 30O กับแท่งแก้ว ปรากฏทางเดินแสงดังรู ป จงหา


ค่าดัชนีหกั เหของแก้ว
3 5
1. 2.
2 2
7 2
3. 4.
2 3
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 72

64.แสงสี เดียวที่มีความยาวคลื่น 600 nm. ถูกยิงผ่านแท่งพลาสติก 2 แท่ง ดังรู ป จงหาความต่างกันของ


เฟสเมื่อแสงออกจากแท่งพลาสติกแต่ละแท่ง และถ้าแสงไปตกกระทบที่ตาแหน่งเดียวกันจะเกิดการ
แทรกสอดแบบใด

1. เฟสต่างกัน 0 องศา และแทรกสอดแบบปฏิบพั


2. เฟสต่างกัน 0 องศา และแทรกสอดแบบบัพ
3. เฟสต่างกัน 180 องศา และแทรกสอดแบบปฏิบพั
4. ไม่มีขอ้ ถูก

65.คลื่นน้ าหน้าคลื่นตรงเคลื่อนที่จากบริ เวณน้ าตื้น A ไปสู่ บริ เวณน้ าลึก B ดังรู ป จะต้องใช้มุมตก
กระทบเท่าใดจึงจะทาให้หน้าคลื่นในบริ เวณ B ตั้งฉากกับแนวรอยต่อ PQ
1 1
1. Sin-1 ( ) 2. Sin-1 ( )
2 3
ตัวกลาง B
1 3
3. Sin-1 ( ) 4. Sin-1 ( ) 60o
2 2
30o

ตัวกลาง A
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 73

66.จากรู ป วางเลนส์นูนบางมากไว้บนกระจกเงาราบ แล้วเลื่อนวัตถุให้อยูเ่ หนือเลนส์นูน 30 cm.


ก็จะเกิดภาพจริ งที่ตาแหน่งเหนือเลนส์นูน 30 cm. เท่ากัน จงหาว่าเลนส์มีความยาวโฟกัสเท่าใด
1. 10 cm. 2. 15 cm.
3. 20 cm. 4. 30 cm.

67.ปริ ซึมรู ปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC มีมุมยอดกาง 30O และมีดชั นีหกั เหเป็ น 3 เมื่อมีลาแสงเดียวตก
กระทบปริ ซึมด้าน AB สู งจากพื้น h หน่วย ลาแสงทะลุผา่ นด้าน D หักเหเป็ นลาแสง DE ดังรู ป จงหา
ระยะ AE (กาหนดให้ AC ยาว x หน่วย)
h
1. x+2 3 h 2. 2x-
3
2h
3. x+ 4. 2x- 3 h
3
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 74

68.ฉายแสงความยาวคลื่นเดี่ยว มีความยาวคลื่น  nm. ทามุมตกกระทบกับแท่งพลาสติกสี่ เหลี่ยมเป็ น


มุม 1 แท่งพลาสติกมีดชั นีหกั เห n พบว่าลาแสงหักเหภายในมีมุม 2 และออกจากแท่งพลาสติกนี้
โดยลาแสงขนานกับลาแสงเดิมและห่างเท่ากับ d cm. จงหาความหนาของแท่งพลาสติกนี้
dsin( 1 − 2 ) dcos 2
1. 2.
cos 1 sin( 1 − 2 )
dsin( 1 − 2 ) dcos 2
3. 4.
ncos 1 nsin( 1 −  2 )

69.ฉายแสงสี เดียวตกกระทบเกรตติ้งในแนวตั้งฉาก พบว่าจุดหนึ่งบนฉากที่อยูด่ า้ นหลังอยูใ่ นแถบสว่าง


ที่ 3 ถ้าทาการทดลองนี้ในของเหลวใสที่มีดชั นีหกั เห 1.5 จุดนี้ควรอยูใ่ นตาแหน่งใด ถ้าการตั้ง
เครื่ องมือต่างๆยังเหมือนเดิม
1. แถบมืดที่ 3 2. แถบมืดที่ 5 3. แถบสว่างที่ 2 4. แถบสว่างที่ 4
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 75

70.ในการวัดความยาวของเส้นใยแก้วนาแสง โดยเปิ ดให้แสงเลเซอร์ เข้าไปในเส้นใยนาแสงแล้ววัด


ระยะเวลาตั้งแต่เริ่ มเปิ ดแสงจนกระทัง่ รับแสงสะท้อนเป็ นเวลา 40 μ sec เส้นใยแก้วนาแสงนี้ยาวเท่าใด
(กาหนดให้ ค่าดัชนีหกั เหของเส้นใยนาแสงเป็ น 1.60)
1. 7,500 m 2. 3,750 m 3. 2,500 m 4. 1,875 m

71. θ แสงพุง่ จากอากาศตกกระทบบนแท่งแก้วด้าน AB โดยทา


A B
มุมกระทบเป็ นมุม θ ดังรู ป ถ้าแสงสะท้อนกลับหมดที่
ผิวแก้วด้าน AC จงหาดัชนี หั กเหน้อยที่ สุดของแก้วเป็ น
เท่าใด
แก้ว
1. 1 + sinθ 2. 1+ cos θ
C D
3. 1 + sin2θ 4. 1 + cos2 θ
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 76

72.ถ้าทาการทดลองการแทรกสอดของแสงโดยให้คลื่นแสง 2 ความถี่ คือ ความ fo และ 2fo แล้ว


นามาผ่านเกรดติ้งชนิด N ช่อง/เมตร ปรากฏว่าเกิดการแยกสเปคตรัมบนฉาก (โดยฉากห่างจากเกรต
ติ้งเป็ นระยะ D) จงหาว่าระยะห่างของสเปคตรัมลาดับแรกบนฉากห่ างกันเท่าใด กาหนดให้ แสงที่มี
ความถี่อนั แรกเป็ น fo ความเร็ วแสงเป็ น C
เกรตติ้ง ฉาก
1. DNC 2. DNC f
f0 2f0 0
2f 0 X=?
f0
2DNC
3. 4. DNCf 0
f0 2f 0
D

73.ฉายแสง A และ B ผ่านเกรตติ้งไปตกบนฉากที่ ห่างออกไประยะหนึ่ ง ปรากฏว่า แถบมื ดที่ 4


ของแสง A ซ้อนทับ แถบสว่างที่ 6 ของแสง B พอดี ถ้า λA = 720nm จงหาความยาวคลื่นของ
แสง B เป็ นเท่าใด
1. 420 nm 2. 480 nm 3. 540 nm 4. 1,080 nm
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 77

74.ให้แสงจากแหล่งกาเนิด ซึ่ ง เป็ นแสงไม่โพลาไรซ์ ผ่านแผ่นโพลารอยด์ โดยให้แกนโพลารอยด์ทา


มุม 60o กับแนวดิ่ง จงหาว่าความเข้มแสงที่ออกมาจากแผ่นมีความเข้มเป็ นกี่เท่าของแสงเดิม
1 1 1 1
1. 2. 3. 4.
2 4 8 2 2

75.วางวัตถุไว้หน้ากระจกโค้งบานหนึ่ ง ทาให้เกิดภาพจริ งขนาดเท่ากับวัตถุ แต่เมื่อเลื่อนวัตถุไปจาก


ตาแหน่งเดิม 12 ซม. ปรากฏว่าจะเกิดภาพเสมือนขนาดเป็ น 2 เท่าของวัตถุ กระจกนี้คือ
1. กระจกเว้า , f = 8 cm. 2. กระจกนูน , f = 8 cm.
3. กระจกเว้า , f = 24 cm. 4. กระจกนูน , f = 24 cm.

76.เลนส์บาง 2 อัน มีความยาวโฟกัส f1 และ f2 เมื่อนามาวางชิดกัน จะได้ความยาวโฟกัสของเลนส์


ชุดใหม่เป็ นกี่เท่าของ f1 กาหนดให้ f2 = 5f1

1 5
1. 2.
แสงขนาน 6 6

6
3. 4. 6
5
f1 f2
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 78

77.ลู ก แก้ว ทรงกลมรั ศ มี 6 เซนติ เมตร ที่ จุ ด ศู น ย์ก ลางของลู ก แก้ว มี ฟ องอากาศเล็ก ๆ ฟองหนึ่ ง
จงหาว่า เมื่อมองจากภายนอกของลูกแก้ว จะเห็นฟองอากาศอยูล่ ึกลงไปจากผิวแก้วเท่าใด

อากาศ 1. 1.5 ซม. 2. 3.0 ซม.


3. 6.0 ซม. 4. 12.0 ซม.

4
แก้ว n =
3

78.ภาพของวัตถุ เมื่อมองผ่านกล้องจุลทรรศน์อย่างง่าย จะเห็นภาพสุ ดท้ายเป็ นอย่างไร เมื่อเทียบกับ


วัตถุเดิม และจะต้องวางวัตถุห่างจากเลนส์ใกล้วตั ถุอย่างไร
1.ภาพจริ ง หัวกลับ วางวัตถุที่ระยะห่าง F – 2 F ของความยาวโฟกัสเลนส์ใกล้วตั ถุ
2.ภาพเสมือนหัวกลับ วางวัตถุที่ระยะใกล้กว่าระยะโฟกัสของเลนส์วตั ถุ
3.ภาพจริ ง หัวตั้ง วางวัตถุที่ระยะมากกว่า 2 เท่าของความยาวโฟกัส
4.ภาพเสมือน หัวกลับ วางวัตถุที่ระยะห่าง F – 2 F ของความยาวโฟกัสของเลนส์วตั ถุ
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 79

79.วางวัตถุห่างจากเลนส์เป็ นระยะ X จะได้ภาพที่มีขนาด m เท่าของขนาดวัตถุ ต่อมาเมื่อเลื่อนวัตถุ


ออกจากเลนส์ ใ ห้ ห่ างจากเลนส์ เป็ นระยะ Y ปรากฏว่าได้ภ าพที่ มี ข นาด m เท่ าของวัต ถุ จงหา
อัตราส่ วนของ X ระยะ Y
m −1 m +1 2m − 1 2m + 1
1. 2. 3. 4.
m +1 m −1 2m + 1 2m − 1

4
80.เมื่อค่าดัชนี หักเหของน้ าทะเลเป็ น ปลาในน้ าจะเห็ นพระอาทิตย์ตกที่ ขอบฟ้ าทามุมเท่าใดกับ
3
แนวดิ่ง

1. cos−1 3  2. sin−1 3  3. tan −1 4  4. tan −1 3 


4 4 3 4

81.ถ้าวัตถุเคลื่อนที่จาก 2F ไป F เมื่อ F เป็ นจุดโฟกัสของเลนส์ ภาพที่เกิดหลังเลนส์จะเคลื่อนที่จาก


ที่ใดไปที่ใด

1. 2F ไป F 2. 2F ไประยะอนันต์
3. F ไป 2F 4. F ไปเลนส์
2F F F 2F
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 80

82.กระจกเงาราบ 2 บาน วางทามุมกัน 30o เมื่อมีรังสี ตกกระทบกับกระจก จะทาให้รังสี ตกกระทบ


ครั้งแรกกับรังสี สะท้อนครั้งสุ ดท้ายทามุมเป็ น X ดังรู ป จงหาค่า X

30o

1. 60o 2. 90o 3. 120o 4. 150 o

83.คนสายตายาวสามารถมองวัตถุได้ระยะใกล้สุดที่ระยะ 75 ซม. เขาจะต้องสวมแว่นตาที่ทาจากเลนส์


ชนิดใดจึงสามารถมองเห็นวัตถุใกล้สุดได้ชดั เจนเหมือนคนปกติ และกาลังขยายเป็ นเท่าใด
1
1. เลนส์นูน, กาลังขยาย 2 เท่า 2. เลนส์เว้า, กาลังขยาย เท่า
2

3. เลนส์เว้า, กาลังขยาย 3 เท่า 4. เลนส์นูน, กาลังขยาย 3 เท่า


ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 81

84.ถ้าวางวัตถุไว้หน้าเลนส์ที่ระยะห่างค่าหนึ่งและปรากฏว่าได้ภาพขนาดขยาย 4 เท่า ต่อมาเลื่อนวัตถุ


ออกห่างจากตาแหน่งเดิมอีก 10 cm. จะเกิดภาพขนาดขยาย 4 เท่าอีกครั้งหนึ่ง จงหาความยาวโฟกัสของ
เลนส์
1. เลนส์นูน 25 cm 2. เลนส์นูน 20 cm
3. เลนส์เว้า 25 cm 4. เลนส์เว้า 20 cm

85. คนสายตายาวคนหนึ่ง มีระยะมองเห็นที่ใกล้ที่สุดอยูท่ ี่ 50 ซม. ถ้าต้องการมองเห็นวัตถุใกล้ที่สุด


เหมือนคนปกติจะต้องสามแว่นทาจากเลนส์ชนิดใด ความยาวโฟกัสเท่าใด
1. เลนส์นูน 25 cm 2. เลนส์นูน 50 cm
3. เลนส์เว้า 25 cm 4. เลนส์เว้า 50 cm

86. เลนส์นูนความยาวโฟกัส 10 cm วางอยูห่ น้ากระจกนูนระยะ X ถ้ามีวตั ถุเล็ก ๆ วางห่างจาก


เลนส์นูน 15 cm และกระจกนูนมีรัศมีความโค้ง 16 cm จงหาระยะ X ที่ทาให้ภาพสุ ดท้ายไม่มี
พาราแลกซ์กบั วัตถุ
1. 7 ซม. 2. 14 ซม. 3. 24 ซม. 4. 36 ซม.
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 82

87.ปริ ซึมมีค่าดัชนีหกั เห μ = 2 ถ้ามุม  = 30O รังสี ตกกระทบทั้ง 2 แนวตกตั้งฉากกับผิวปริ ซึม ดัง


รู ป รังสี หกั เหผ่านปริ ซึมออกไปตัดกันเป็ นมุม  เท่ากับเท่าใด
1. 45O 2. 60O
θ
3. 30O 4. 75O
F

θ
F

88. ถ้าเทคาร์บอนไดซัลไฟด์ซ่ ึงเป็ นของเหลวที่มีค่าดัชนีหกั เห 1.63 ลงในอ่างแก้วใบใหญ่สูง 10 cm. จน


เต็มเปี่ ยม และมีหลอดไฟเล็กๆหลอดหนึ่งเปิ ดสว่างแช่ไว้ที่กน้ อ่าง จงคานวณหาพื้นที่ผวิ ของคาร์บอน
ไดซัลไฟด์ที่แสงลอดผ่านขึ้นมาได้ อากาศ
1. 56 cm2 2. 126 cm2
ของเหลว
3. 176 cm2 4. 216 cm2 10 cm

89. วางวัตถุไว้หน้าเลนส์นูนห่างจากเลนส์ 150 ซม. เกิดภาพที่ระยะ 5 ซม. หลังเลนส์ ถ้านาเลนส์


เว้าวางไว้หน้าเลนส์นูนโดยห่างจากเลนส์ 5 ซม. แล้วนาวัตถุไปวางที่ระยะไกลมาก ๆ พบว่า แสง
จากวัตถุเมื่อผ่านเลนส์ท้งั 2 จะได้ภาพที่ตาแหน่งเดิม จงหาความยาวโฟกัสของเลนส์เว้า
1. 35 ซม. 2. 75 ซม. 3. 145 ซม. 4. 150 ซม.
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 83

90. คนสายตายาวคนหนึ่ง มีระยะมองเห็นที่ใกล้ที่สุดอยูท่ ี่ 50 ซม. ถ้าต้องการมองเห็นวัตถุใกล้ที่สุด


เหมือนคนปกติจะต้องสามแว่นทาจากเลนส์ชนิดใด ความยาวโฟกัสเท่าใด
1. เลนส์นูน 25 cm 2. เลนส์นูน 50 cm
3. เลนส์เว้า 25 cm 4. เลนส์เว้า 50 cm

91.
2 m/s
3 m/s
กระจก

จากรู ป เป็ นการเคลื่อนที่ของคนและกระจกราบ ดังรู ป จงหาว่าคนที่วิ่งจะสังเกตว่าภาพในกระจก


มีอตั ราเร็ วเท่าใด (เทียบกับคนวิ่ง)
1. 2 m/s 2. 4 m/s 3. 1 m/s 4. 7 m/s

92. ข้อใดไม่สามารถทาให้แสงเกิดการแยกสเปคตรัมเป็ นแถบสี ออกจากกันได้


1. เกรตติ้ง 2. ปริ ซึม 3. แผ่นโพลารอยด์ 4. กระเจิงแสง

93. เลนส์นูนความยาวโฟกัส 10 cm วางอยูห่ น้ากระจกนูนระยะ X ถ้ามีวตั ถุเล็ก ๆ วางห่างจาก


เลนส์นูน 15 cm และกระจกนูนมีรัศมีความโค้ง 16 cm จงหาระยะ X ที่ทาให้ภาพสุ ดท้ายไม่มี
พาราแลกซ์กบั วัตถุ
1. 7 ซม. 2. 14 ซม. 3. 24 ซม. 4. 30 ซม.
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 84

94.แสงความเข้ม 15 Watt/ตารางเมตร ความยาวคลื่น 663 nm ตกตั้งฉากกับผิวโลหะระนาบหนึ่งซึ่งมี


พื้นที่ 1 ตร.มม จงหาจานวนโฟตอนที่เข้าชนต่อผิวโลหะนี้
1. 2 1013 อนุภาค/วินาที 2. 31013 อนุภาค/วินาที
3. 4.8 1013 อนุภาค/วินาที 4. 6.4 1013 อนุภาค/วินาที

95.แสงจากดวงอาทิตย์จะต้องมีทิศทางทามุมกับแนวระดับหรื อรอยต่อระหว่างของเหลวกับอากาศ
เท่าใด จึงจะทาให้แสงที่สะท้อนออกมาจากผิวของเหลวเป็ นแสงไพลาไรซ์ได้ กาหนดให้ของเหลว
4
มีดชั นีหกั เหเป็ น
3

1. 53o 2. 127o 3. 37o 4. 90o

เฉลยชุดคลื่น
1. 4 2. 4 3. 2 4. - 5. 2 6. 4 7. 3 8. 4 9. 2 10. 4
11. 2 12. 3 13. 2 14. 3 15. 4 16. 1 17. 3 18. 1 19. 4 20. 2
21. 1 22. 3 23. 3 24. 4 25. 2 26. 3 27. 1 28. 80 29.3 30. 2
31. 2 32. 1 33. 4 34. 4 35. 4 36. 4 37. 4 38. 4 39. 3 40. 2
41. 4 42. 2 43. 3 44. 4 45. 3 46. 4 47. 3 48. (14, 30) 49. 3 50. 1 51. 30
52. 4 53. 3 54. 1 55. 4 56. 1 57. - 58. 3 59. 24*1014 Hz 60. 2 61. 2
62. 1 63. 3 64. 4 65. 2 66. 4 67. 3 68. 2 69. 2 70. 2 71. 3 72. 2 73. 1
74. 1 75. 1 76. 2 77. 3 78. 4 79. 1 80. 2 81. 2 82. 3 83. 4 84. 2 85. 2
86. 2 87. 3 88. 3 89. 3 90. 2 91. 1 92. 3 93. 2 94. 3 95. 3
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 85

ชุดไฟฟ้า

1. ประจุ + q 1 วางอยูท่ ี่จุดกาเนิด ( 0,0 ) และประจุ −q 2 วางอยูท่ ี่จุด (1,0 ) ปรากฏว่าที่จุด (1.8,0 )
มีศกั ย์ไฟฟ้าเป็ นศูนย์ จงหาระยะบนแกน X + ที่มีค่าสนามไฟฟ้าเป็ นศูนย์

1. 3 m 2. 2.4 m 3. 1.8 m 4. 0.6 m

2. นาวัตถุที่มีประจุเท่ากัน 2 อันมาวางอยูบ่ นรางโค้งลื่นโดยพบว่าวัตถุท้งั 2 อยูน่ ิ่งและมีระยะห่างเท่ากับรัศมี


ความโค้งของราง R 0 จงหาประจุไฟฟ้าในวัตถุมวล m 0 ดังกล่าว

mgR 2 3mgR 2
1. 2.
o. K K

r mgR 2 mgR 2
m m
3. 4.
3K 3K
ราง
ลื่น
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 86

3.
m,q m,q
m m
d

มีวตั ถุมวล m ประจุ q 2 อัน ตรึ งแน่นอยูก่ บั ที่ ห่างกันเป็ นระยะ d ถ้าปล่อยให้วตั ถุเคลื่อนที่อย่างอิสระ
พบว่า แรงผลักของประจุจะทาให้ประจุเคลื่อนที่ จงหาอัตราเร็ วของประจุไฟฟ้า เมื่อห่างกันเป็ น 2d เป็ น
เท่าไร

kq 2 2kq 2 kq 2 kq 2
1. 2. 3. 4.
md md 2md 4md

4. โปรตอน 2 ตัว มี มวล m 0 และประจุ ไฟฟ้ า p 0 กาลังวิ่งเข้าหากัน โดยตอนแรกที่ อยู่ห่ างกัน d 0 มี


อัตราเร็ วเป็ น v 0 จงหาระยะที่สามารถให้โปรตอนอยูใ่ กล้กนั มากที่สุดเป็ นเท่าใด

 1 m 0 v 02  kp 02 1 kp 02
1.  + 2  2. d 0 + 2 3. 4.
 d 0 kp 0  m0 v0  1 m 0 v 02  m 0 v 02
 d + kp 2 
 0 0 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 87

5. มวล m ประจุ q 0 สามารถวิ่งเข้าชนอะตอมของธาตุที่มีประจุ Q ได้ใกล้ที่สุดเท่าใด กาหนดให้ มวล m


เดิมอยูไ่ กลมาก ๆ
V0
m
+
q
Q

1 KQq 0 KQq 0 2KQq 0 4KQq 0


1. 2. 3. 4.
2 mV 2 mV 2 mV 2 mV 2

6. ตัวน าทรงกลมขนาดเส้น ผ่านศูน ย์กลาง 20 เซนติ เมตร มี ประจุกระจายตามผิวเป็ น 20 μ c จงหา


พลัง งานในการน าประจุ ท้ ั ง หมดออกจากผิ ว ทรงกลมตั ว น านี้ ก าหนดให้ ค่ า คงที่ k ของคู ล อมส์
= 910 9 N.m 2 /c 2

1. 3.2 J 2. 2.4 J 3. 18 J 4. 9 J
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 88

7.กาหนดให้ ศักย์ไฟฟ้าของตัวนาทรงกลมรัศมี R มีค่าเป็ น v 0 ถ้านาตัวนาทรงกลมที่มีลกั ษณะเหมือนกัน


จานวน 8 ลูก มาหลอมรวมกันเป็ นตัวนาทรงกลมใหม่ จะมีค่าศักย์ไฟฟ้าเป็ นกี่เท่าของของเดิม

1. 8 เท่า 2. 4 เท่า 3. 2 เท่า 4. เท่าเดิม

8. อนุภาคมวล m ประจุ q ยิงผ่านแนวกึ่งกลางของแผ่น


+++++++++++
+++++++++++ โลหะคู่ขนานห่ างกัน d โดยแผ่น โลหะมี ความต่างศักย์ไฟฟ้ า
+ v d เป็ น V 0 จงหาอัตราเร็ วอย่างน้อยที่สุดของอนุ ภาคดังกล่าวเพื่อ
สามารถผ่านแผ่น โลหะนี้ ได้ โดยไม่ชนขอบแผ่นใดแผ่นหนึ่ ง
--------------------
----------- ไม่คิดผลของแรงโน้มถ่วง
 0

qV 0 qV 0 2qV 0 qV 0
1. 0
2. 0
3. 0
4. 0

2d m d m d m d 2m
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 89

9. จากรู ปเป็ นสนามไฟฟ้าสม่าเสมอ โดยพบว่างานในการนาประจุ +2μ c จากระยะอนันต์มาวางไว้ที่จุด


A และจุด B ต้องทางาน 100 uJ และ 80 uJ ตามลาดับ ถามว่า ถ้ามีประจุไฟฟ้า +10μ c วางอยูบ่ น
สนามไฟฟ้า จะเกิดแรงไฟฟ้าเท่าใด

A
E

10 ซม.
B
600
E

1. 1,000 μ N 2. 2,000 μ N 3. 4,000μ N 4. 8,000 μ N

10. จงพิจารณาว่าเมื่อทาการปิ ดสวิตซ์ S ลง และทา


3μ F 6μ F

ให้ระบบอยูใ่ นภาวะสมดุล จงหาความต่างศักย์บนตัว


เก็บประจุ 3 μ F

8μ C S
+ -

+ -
2μ F
+ -

1. 0.67 V 2. 1.33 V 3. 2.0 V 4. 3.0 V


ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 90

11. จากรู ป ถ้านาตัวเก็บประจุ C1 และ C 2 มาต่ออนุกรม


C1 = 6uF
กัน จงหาพลังงานสะสมสู งสุ ดทั้งหมดของตัวเก็บประจุ
Vmax = 10V

ทั้ง 2 เป็ นเท่าใด โดยยังไม่ทาให้อุปกรณ์ตวั เก็บประจุไม่เสี ยหาย

C 2 = 12uF

Vmax = 5V

1. 450 uJ 2. 900 uJ 3. 1200 uJ 4. 1500 uJ

12. จงหาจานวนเซลล์ไฟฟ้าที่ทาให้หลอดไฟ
3Ω 12W,6V สามารถทางานได้ตามปกติ โดยที่หลอดไฟ

ไม่เสี ยหาย
n
1. 12 เซลล์ 2. 18 เซลล์

3. 24 เซลล์ 4. 32 เซลล์
E = 1.5V
r = 0.5Ω
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 91

13.จากรู ป มีหลอดไฟขนาดดังรู ป ถ้าต่อเซลล์ไฟฟ้า E เข้าไป จงหากาลังไฟฟ้าสู งสุ ดที่วงจรไฟฟ้า


ดังกล่าวสามารถทาได้สูงสุ ด โดยที่หลอดทั้ง 2 ยังไม่เสี ยหาย

1. 12W 2. 11W

3. 20W 4. 16W 12W,6V 8W,8V

14. A 6Ω B จงหาความต่างศักย์ VBC เป็ นเท่าใด

3Ω 2Ω

10 V C 5Ω D

1. 1.875 V 2. 2.5 V 3. 3 V 4. 4.5 V


ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 92

15. ก าหนดให้ ว งจรไฟฟ้ าหนึ่ งๆ มี ตัว ต้านทาน R ท าให้ เกิ ด ก าลัง ไฟฟ้ าบน R เท่ ากับ 0.75 วัต ต์
จงหาความต้านทาน R มีค่าเป็ นเท่าใด

1
1. โอห์ม 2. 3 โอห์ม
3
16
2V,1Ω 3. โอห์ม 4. ถูกทั้ง 1 และ 2
9

16. หลอดไฟขนาด 12 v, 3A ต่อกับวงจรไฟฟ้าดังรู ป ถ้าต้องการให้หลอดไฟนี้ทางานได้ปกติพอดี จงหา


ค่า R ต้องมีค่ากี่โอห์ม

12V,3A
1. 1Ω 2. 4Ω

3. 12Ω 4. 18Ω
R

0.25 15V,0.5
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 93

17. เมื่อต่อลวดความร้อนกับความต่างศักย์ค่าหนึ่ง เพื่อต้มน้ าจานวนหนึ่ง ปรากฏว่าน้ าจะเดือดภายใน 5


นาที ถ้าทาการตัดลวดให้เหลือเพียง 0.5 เท่าของความยาวเดิม แล้วนาไปต่อกับความต่างศักย์เดิม และต้ม
น้ าจานวนเดิม น้ าจะเดือดภายในกี่นาที

1. 2.5 นาที 2. 5 นาที 3. 10 นาที 4. 20 นาที

18. นาตัวต้านทาน 100Ω ทนกาลังไฟฟ้า 4 วัตต์ ไปต่ออนุกรมกับตัวต้านทานอีกตัวหนึ่ง ขนาด 500Ω


ที่ทนกาลังไฟได้ 5 วัตต์ ถามว่า ตัวต้านทานที่ต่อกันแล้วจะทนกาลังไฟฟ้าได้กี่วตั ต์

1. 5 W 2. 6 W 3. 7 W 4. 8 W
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 94

19. 3Ω จากวงจรที่กาหนดให้ดงั รู ป จงหาความต่าง


A B
2A 3A
ศักย์บนความต้านทาน 3Ω ( VAB )
1Ω 1Ω
1. 2 V olt 2. 3 V olt

3. 5 V olt 4. 6 V olt

1A

20. 3uF
จงหาว่าเมื่อวงจรเข้าสู่ สมดุล ตัวเก็บประจุ 6μ F จะมี
3
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุเป็ นปริ มาณกี่ไมโครจูล
18V
6uF

1. 24 μ J 2. 16 μ J 3. 8 μ J 4. 243 μ J
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 95

21. Ro จงหาพลังงานที่เกิดขึ้นบนตัวเก็บประจุ C 0
Lo
1
Co 1. C0 E 02 2. C 0 E 02
2
+ E
1 1
o

- Lo Ro 3. C 0 E 02 4. C 0 E 02
4 8
2Co

22. 2Ω ถ้ามีประจุไฟฟ้า Q ในตัวเก็บประจุ ก่อนปิ ดสวิตซ์ S มี

ค่าเท่ากับ 20μ c และมีการต่อวงจรไฟฟ้าดังรู ป จงหาว่า เมื่อ


+
Q +++++
-----
C = 2μ F ปิ ดสวิตซ์ S ทาให้ประจุไหลออกมา จงหาว่าจะมีกระแสไฟฟ้า
− 3Ω
Q
เกิดขึ้นบนตัวต้านทาน 2Ω ทันทีกี่แอมแปร์

1. 1 A 2. 2 A 3. 4 A 4. 6 A
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 96

23. เมื่อวงจรเข้าสู่ สมดุล ตัวเก็บประจุ 6 μ F จะมี


3Ω 6Ω

พลังงานสะสมเป็ นกี่ไมโครจูล

0.3H 6uF

18 v

1. 0 J 2. 240 μ J 3. 486 μ J 4. 972 μ J

24. 2Ω
เมื่อระบบเข้าสู่ สภาวะสมดุลทางไฟฟ้า จงหา

ประจุไฟฟ้าที่สะสมในตัวเก็บประจุ 2μ F
2uF

12V

1. 8 μ c 2. 16 μ c 3. 24 μ c 4. 32 μ c
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 97

25. จงหาประจุไฟฟ้าที่เกิดขึ้นบนตัวเก็บประจุ

10 μ F เป็ นกี่ไมโครคูลอมส์
12 v 6Ω 3Ω

10 μ F
4Ω 2Ω

1. 0 μ c 2. 48 μ c 3. 72 μ c 4. 144 μ c

เฉลยแบบฝึ กหัด ชุดไฟฟ้า


1. 1 2. 3 3.3 4. 3 5. 3 6. 3 7. 2 8.2 9. 2 10. 2 11. 1 12. 3 13. 2
14. 1 15. 4 16. 3 17. 1 18. 2 19. 2 20. 4 21. 4 22. 2 23. 4 24. 2 25.1
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 98

โจทย์ขอ้ สอบการแข่งขัน IJSO รอบที่ 2

1. ( IJSO รอบ 2 ปี 2548) โพรเจคไทล์ A และ B ต่างก็มีความเร็วต้นและมุมตั้งต้นเท่ากัน ฐานยิงอยูห่ ่าง


กัน AB = หลังจากยิง A ออกไปแล้ว จะต้องรอนานเท่าไรก่อนยิง B จึงจะทาให้มนั ชนกันกลาง
อากาศ ( )

2. ( IJSO รอบ 2 ปี 2549) ตาแหน่งของอนุภาคบนแนวแกน X ขึ้นอยูก่ บั เวลา t ( วินาที ) ตามสมการ x =


x ( t ) = t3 + 2t2 + 3t ( เมตร ) จงหาค่าความเร็ วเฉลี่ยของอนุภาคในช่วงเวลาจาก t = 1 ถึง t = 3
วินาที ( )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 99

3. ( IJSO รอบ 2 ปี 2549)ลูกปื นมวล m เคลื่อนที่เข้ากระทบแผ่นไม้ดว้ ยความเร็ว v1 ที่เวลา t1 แล้วทะลุ


แผ่นไม้ออกไปด้วยความเร็ว v2 ที่เวลา t2 แรงที่ลูกปื นกระทาต่อแผ่นไม้มีค่าโดยเฉลี่ยเป็ นเท่าไร
( )

4. ( IJSO รอบ 2 ปี 2549) ในข้อ 3 นั้นถ้าแผ่นไม้มีมวล M และไม่ได้ถูกตรึ งไว้กบั ที่แผ่นไม้จะกระเด็นไป


ข้างหน้าด้วยความเร็ วของศูนย์กลางมวลของแผ่นไม้เท่าไร หลังจากลูกปื นทะลุไปแล้ว ( )

5. ( IJSO รอบ 2 ปี 2549) ปล่อยวัตถุจากหยุดนิ่งให้ตกถึงพื้นตามแบบต่อไปนี้ :


ก. ปล่อยจากจุดศูนย์กลาง O ข. ปล่อยให้ไถลบนรางลื่น AB ซึ่งทามุม θ กับแนวดิ่ง
การปล่อยตามแบบ ข. จะใช้เวลาเป็ นกี่เท่าของการปล่อยตามแบบ ก. ( )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 100

6. ( IJSO รอบ 2 ปี 2550) ดีดโพรเจคไทล์ข้ ึนในแนวดิ่งจากพื้นด้วยความเร็ วต้น v0 จงหาอัตราเร็ วเฉลี่ยของ

โพรเจคไทล์ในช่วง OA ในรู ป ( ตอบในรู ป v0 ) ( )

7. ( IJSO รอบ 2 ปี 2550) ดีดโพรเจคไทล์จากจุด O ด้วยมุมตั้งต้น 45˚ และความเร็วต้น v0 เข้าชนกาแพง


ดิ่งซึ่งอยูใ่ กล้ๆ และห่างจากจุด O เท่ากับ L โพรเจคไทล์จะชนกาแพงโดยทามุมเท่าใดกับแนวระดับ ( ตอบ
ในรู ป g , L , v0 ) ( )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 101

8. ( IJSO รอบ 2 ปี 2550)มวล m1 กับ m2 โยงติดกันด้วยเส้นยางเบาๆ ที่กาลังยืดตึงและอยูบ่ นพื้นลื่น


ความเร็ วต้นเป็ นศูนย์ท้งั คู่ ต่อมาปล่อยให้ท้งั คู่ถูกยางลากเข้าชนกัน กาหนดให้วา่ ขณะที่ชนกันนั้นความเร็ ว
สัมพันธ์ระหว่าง m1 กับ m2 ( ความเร็ วของ m1 โดยการสังเกตจาก m2 ) มีขนาดเท่ากับ v จงหาความเร็ ว

ของ m1 เทียบกับพื้นที่จงั หวะที่ชนกันนั้น ตอบในรู ปของ m1 , m2 , v ( )

9. ( IJSO รอบ 2 ปี 2550)ปล่อยมวลให้ไถลโดยไม่มีความฝื ดจากหยุดนิ่งที่จุด A ไปสุดราง AB


จะใช้เวลาเป็ นกี่เท่าของการไถลไปสุ ดราง AC ทั้งนี้กาหนดว่ามุม θ < 90˚ ( )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 102

10. ( IJSO รอบ 2 ปี 2551) นาย A เคลื่อนที่ไปทางทิศเหนือด้วยความเร็ วคงตัว 40 m / s ในครึ่ งแรกของ


ระยะทางและเคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออกด้วยความเร็ วคงตัว 60 m / s ในครึ่ งหลังของระยะทาง จงหา
ความเร็ วเฉลี่ยและอัตราเร็ วเฉลี่ยของนาย A ( )

11. ( IJSO รอบ 2 ปี 2551)ระบบรอกดังรู ป โดยที่รอกมีมวลน้อยมากจนไม่ตอ้ งนามาคิด ถ้าตอนเริ่ มต้นมวล


ทุกก้อนอยูท่ ี่ระดับความสู งเดียวกัน เมื่อปล่อยให้เคลื่อนที่ จงหาว่ามวล 4 m มีความเร่ งเท่าใด ( )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 103

12. ( IJSO รอบ 2 ปี 2551) สปริ งเบาอันหนึ่ง วางตัวอยูใ่ นแนวดิ่ง เมื่อวางมวล 40 g และ 160 g
ไว้ดว้ ยกันบนสปริ งนี้ ทาให้สปริ งยุบตัวลง 5.0 cm ถ้านามวล 160 g ออกทันที มวล 40 g จะถูกยิง
ขึ้นไปในแนวดิ่ง จงหาว่ามวล 40 g จะมีพลังงานจลน์สูงสุ ดในขาขึ้นเท่าใด ( )

13. ( IJSO รอบ 2 ปี 2551) ลูกปื นมวล 8.0 kg ถูกยิงจากปื นใหญ่ซ่ ึงอยูบ่ นพื้นดิน ขึ้นไปบนฟ้าด้วย
ความเร็ วต้น 98.0 m / s ในทิศทามุม 45˚ กับแนวระดับ เมื่อลูกปื นอยูท่ ี่ตาแหน่งที่สูงที่สุด ลูกปื นก็ระเบิด
ออกเป็ นสองส่ วนโดยส่วนแรกมีมวล 1.0 kg และกลับมาตกที่ปืนใหญ่พอดีในเวลา 5 2 s หลังจากที่
ระเบิดออก จงหาว่าลูกปื นส่ วนที่สองซึ่งมีมวล 7.0 kg จะตกห่างจากปื นใหญ่กี่เมตร ( )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 104

14. ( IJSO รอบ 2 ปี 2551) ยิงวัตถุให้ไถลไปตามพื้นเอียงด้วยความเร็วต้นค่าหนึ่ง พบว่าวัตถุเคลื่อนที่จนถึง


ตาแหน่งสู งสุดและเคลื่อนที่กลับลงมา จงหาว่าเวลาขาลง ( วัดจากจุดสู งสุ ดถึงจุดเริ่ มต้น ) เป็ นกี่เท่าของเวลา
ขาขึ้น ( วัดจากจุดยิงถึงจุดสูงสุ ด ) กาหนดให้ พื้นเอียงทามุม arctan ( 1.5 ) กับแนวระดับ และ
สัมประสิ ทธิ์ความเสี ยดทานจลน์ระหว่างวัตถุกบั พื้นเอียงเท่ากับ 0.5 ( )

15. ( IJSO รอบ 2 ปี 2551) คานสม่าเสมออันหนึ่งมวล M ยาว เมื่อวางวัตถุมวล m ไว้ที่ปลายด้านหนึ่ง


พบว่าคานจะสมดุลเมื่อนาลิ่มมารองที่ระยะห่าง / 3 วัดจากปลายคานด้านที่วางวัตถุ ( ดังรู ป ) ถ้านาวัตถุ
มวล 3m มาวางที่ปลายคานแทนมวล m จะต้องย้ายลิ่มไปจากตาแหน่งเดิมเป็ นระยะทางเท่าใด คานจึงจะ
สมดุล ( )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 105

16. ( IJSO รอบ 2 ปี 2552) ข้างล่างเป็ นกราฟของความเร็วเทียบกับเวลาของวัตถุหนึ่งซึ่งกาลังเคลื่อนที่ใน


แนวเส้นตรง
ก ) การกระจัดของวัตถุจากตาแหน่งตั้งต้นมีขนาดมากที่สุดเท่าใด ( )
ข ) จงเขียนกราฟของความแร่ งของวัตถุเทียบกับเวลา

17. ( IJSO รอบ 2 ปี 2552) วัตถุชิ้นหนึ่งเมื่อถูกยิงไปในอากาศทามุม 30 องศา เหนือแนวระดับ พบว่าไป


ได้ไกล L ในแนวราบ ถ้ายิงใหม่โดยเปลี่ยนมุมยิงไปเรื่ อยๆ โดยที่อตั ราเร็ วต้นยังเท่าเดิม วัตถุไปได้ไกลสุ ด

ในแนวราบเท่าใด ไม่ตอ้ งคานึงถึงแรงต้านอากาศ ( )


ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 106

18. ( IJSO รอบ 2 ปี 2552)รถยนต์คนั หนึ่งมีเครื่ องยนต์ให้กาลังคงตัว รถยนต์คนั นี้เร่ งจากหยุดนิ่งที่เวลา t =


0 และที่เวลา t =  ต่อมา ความเร่ งของรถยนต์มีขนาดเท่ากับ a0 จงหาความเร่ งของรถยนต์น้ ีที่เวลา t =
2 ไม่ตอ้ งคานึงถึงพลังงานที่สูญเสี ยไปเนื่องจากความเสี ยดทานใดๆ ( )

19. ( IJSO รอบ 2 ปี 2552)วัตถุกอ้ นหนึ่งวางอยูบ่ นพื้นเอียงซึ่งทามุม θ กับแนวระดับ สัมประสิ ทธิ์ความ


เสี ยดทานสถิตระหว่างวัตถุกบั พื้นเอียงมีค่า µs ออกแรงดันวัตถุในแนวระดับเพื่อให้วตั ถุเคลื่อนที่ข้ ึนพื้น
เอียง แต่ถา้ มุม θ มีค่าเกินค่าหนึ่ง วัตถุน้ นั จะไม่มีวนั เคลื่อนที่ข้ ึนไปตามพื้นเอียงได้ มุมนั้นมีค่าเท่าใด
( )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 107

20. ( IJSO รอบ 2 ปี 2552)โยนลูกบอลขึ้นในแนวดิ่งในสนามโน้มถ่วงคงตัว g ด้วยอัตราเร็ วต้น v0 ลูกบอล


เมื่อขึ้นไปถึงจุดสู งสุ ดก็ตกลงมา แล้วกระดอนกับพื้นขึ้นไปใหม่ แต่เนื่องจากการกระดอนเป็ นแบบไม่
ยืดหยุน่ อัตราเร็ วของลูกบอลหลังกระทบพื้นพอดีมีค่าเป็ น r เท่าของอัตราเร็ วของลูกบอลก่อนกระทบพื้น
พอดี โดยที่ r < 1 จงหาเวลาทั้งหมดตั้งแต่โยนลูกบอลขึ้นไปจนกระทัง่ ลูกบอลหยุดนิ่งบนพื้น

( )

21. ( IJSO รอบ 2 ปี 2552)รถยนต์คนั หนึ่งห้ามล้อด้วยความหน่วงคงตัวจากความเร็ วตั้งต้นค่าหนึ่งจนกระทัง่


หยุดนิ่ง เวลาที่ใช้ท้งั หมดตั้งแต่เริ่ มห้ามล้อจนหยุดนิ่งเท่ากับ 4.0 s และระยะทางที่รถแล่นไปได้ใน
ช่วงเวลานั้นเท่ากับ 20 m จงหาความเร็วของรถยนต์ตอนที่รถอยูท่ ี่ตาแหน่งกึ่งกลางระหว่างตาแหน่งที่เริ่ ม
ห้ามล้อกับตาแหน่งที่รถหยุดนิ่ง ( )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 108

22. ( IJSO รอบ 2 ปี 2553) พนักงานขับรถไฟขบวนหนึ่งหลับในขณะที่กาลังขับรถไฟด่วนขบวนหนึ่งด้วย


อัตราเร็ ว v อยูบ่ นทางตรงเขาสะดุง้ ตื่นขึ้นมา เมื่อได้ยนิ เสี ยงดังเอะอะ และพบว่ามีรถไฟอีกขบวนหนึ่งอยู่
ข้างหน้าที่ระยะ d และกาลังแล่นไปทางเดียวกันด้วยอัตราเร็ ว u ซึ่งช้ากว่าขบวนของเขา พนักงานขับ
รถไฟตัดสิ นใจดึงห้ามล้อทันที ทาให้รถไฟด่วนมีความหน่วงคงตัวขนาดเท่ากับ a จงหาว่า d ต้องมีค่าเป็ น
อย่างไรจึงจะไม่เกิดการชนท้าย ( )

23. ( IJSO รอบ 2 ปี 2553) เครื่ องบินช่วยเหลือลาหนึ่งกาลังบินอยูใ่ นแนวระดับความสู ง h ด้วยอัตราเร็ ว v


นักบินต้องการทิ้งสิ่ งของช่วยเหลือให้ตกลงไปบนเรื อข้างล่างซึ่งกาลังแล่นไปในทิศทางเดียวกันด้วย
อัตราเร็ ว u ซึ่งช้ากว่าเครื่ องบิน จงหาว่านักบินควรทิ้งสิ่ งของเมื่อระยะ d ในแนวระดับระหว่างเครื่ องบิน
กับเรื อมีค่าเท่าใด สนามโน้มถ่วงมีค่าสม่าเสมอเท่ากับg ( )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 109

24. ( IJSO รอบ 2 ปี 2554)เล็งโปรเจคไทล์จากจุด A ไปยังจุด B บนกาแพง BC ซึ่งห่างออกไป d ด้วยมุม


ตั้งต้น θ0 และความเร็วต้น u จะชนกาแพงใต้จุด B เป็ นระยะทางเท่าใด ตอบในรู ปของ g , d , u , θ0
( )

25. ( IJSO รอบ 2 ปี 2554) ใช้รูปในข้อ 24. โปรเจคไทล์ตอ้ งมีค่าความเร็ วต้นอย่างน้อยที่สุดเท่าใดจึงจะมี


โอกาสชนกาแพง BC ตอบในรู ปของ g , d , θ0 ( )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 110

26. ( IJSO รอบ 2 ปี 2554) AB เป็ นพื้นเอียงราบลื่นพาดจากจุด A ที่ยอดวงลวดตั้งรัศมี R ไปถึงจุด B


ใดๆ บนวงลวด ปล่อยมวล m จากหยุดนิ่งที่ A จงหาเวลาที่มวล m ใช้ในการไถลไป

ถึงจุด B และหาด้วยว่าการไถลจากหยุดนิ่งจากจุด B ไป C ใช้เวลาเท่าใด ( )

27. ( IJSO รอบ 2 ปี 2554) สาหรับโลกที่กลมรัศมี R เมื่อเราขึ้นไปสู ง h จากผิวโลกที่จุด A จะมองจุด


บนผิวโลกไกลสุ ดจากจุด A เป็ นระยะทางเท่าใดวัดตามผิวโค้งของโลก ( ให้คานวณอย่างละเอียด ไม่มี
การประมาณ ) ( )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 111

28. ( IJSO รอบ 2 ปี 2555) วัตถุมวล m เคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปบนพื้นที่มีสมั ประสิ ทธิ์ความเสี ยดทาน µ


โดยเริ่ มต้นมีแรง F กระทาเป็ นเวลา t0 แล้วเคลื่อนที่ต่อโดยไม่มีแรง F กระทาเป็ นเวลาอีก t0 จากนั้นจึง
ถูกหน่วงด้วยแรง F จนกระทัง่ หยุด จงหาค่าความเร็ วสูงสุ ด และเวลาทั้งหมดที่ใช้ และจงเขียนกราฟ
ความเร็ ว –เวลาที่แสดงการเคลื่อนที่ของวัตถุน้ ี

29. ( IJSO รอบ 2 ปี 2555) ยิงก้อนวัตถุข้ ึนไปในอากาศด้วยความเร็ ว u ที่มุมตั้งต้น θ กับแนวราบ เมื่อถึง


จุดสู งสุ ดวัตถุกอ้ นนี้แตกออกเป็ น 2 ส่ วนมวลเท่ากัน และทาให้เพิ่มและลดความเร็วในแนวราบ ( เท่านั้น )
u
ให้วตั ถุท้งั สองด้วยขนาดเท่ากับ 2
จงหาว่าวัตถุท้งั สองก้อนนี้จะตกที่ระยะห่างกันเท่าใด
( )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 112

30. ( IJSO รอบ 2 ปี 2555) ชายคนหนึ่งมีน้ าหนักเมื่ออยูบ่ นผิวโลก 980 N เขาจะมีน้ าหนักเท่าใดบนผิวดาว
เคราะห์นอ้ ยทรงกลมซึ่งมีรัศมี 0.02 เท่าของรัศมีโลก และมีความหนาแน่นเฉลี่ย 0.8 เท่าของโลก
( )

31. ( IJSO รอบ 2 ปี 2557) ลูกบอลถูกโยนขึ้นในแนวดิ่งด้วยความเร็วต้น 20 m / s พบว่าอีก 1.5 s ต่อมา


ลูกบอลกระทบเพดานโดยกระทบเพดานเป็ นเวลา 0.4 s แล้วกระดอนกลับด้วยอัตราเร็ วเดียวกับที่เข้าชน
เพดาน โดยให้ประมาณว่าในช่วงที่กระทบเพดานนี้แรงที่เพดานกระทาต่อลูกบอลมีขนาดคงตัว จงเขียน
กราฟระหว่างตาแหน่ง( x ) กับ เวลา ( t ) ความเร็ ว ( v ) กับเวลา และความเร่ ง ( a ) กับเวลา ของลูกบอล
นับตั้งแต่ลูกบอลออกจากมือ ( นับเป็ น t = 0 ) จนกระทัง่ ลูกบอลตกกลับมาที่มืออีกครั้งหนึ่ง โดยให้ทิศขึ้น
เป็ นบวก และไม่ตอ้ งคานึงถึงแรงต้านอากาศ ให้ระบุค่าต่างๆ ที่สาคัญลงในกราฟด้วย โดยเฉพาะอย่างยิง่
ในช่วงที่ลูกบอลกระทบเพดาน
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 113

32. ( IJSO รอบ 2 ปี 2558) วัตถุชิ้นเล็กๆ ถูกดีดให้ข้ ึนไปตามพื้นเอียงลื่นที่ทามุมเงย 30˚ กับแนวระดับ


ด้วยความเร็วต้น 10 m / s ไปตามแนวพื้นเอียง พบว่าวัตถุข้ ึนไปตามพื้นเอียงและตกกลับลงมาที่จุดเริ่ มต้น
จงเขียนกราฟระหว่างตาแหน่ง ( x ) กับเวลา ความเร็ ว ( v ) กับเวลา และความเร่ ง ( a ) กับเวลา ของวัตถุ
นับตั้งแต่ถูกดีดแล้ว ( นับเป็ น t = 0 ) จนกระทัง่ วัตถุตกกลับมาที่เดิม โดย x เป็ นตาแหน่งที่วดั ขึ้นไปตาม
พื้นเอียง ( ทิศขึ้นตามพื้นเอียงเป็ นทิศบวก ) ให้ตาแหน่งที่วตั ถุถูกดีดเป็ นตาแหน่ง x = 0 และไม่ตอ้ ง
คานึงถึงแรงต้านอากาศ ให้ระบุค่าต่างๆ ที่สาคัญลงในกราฟด้วย
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 114

33. ( IJSO รอบ 2 ปี 2559) กล่องไม้ขีดวางอยูบ่ นพื้นเอียงซึ่งปรับความเอียงได้ สัมประสิ ทธิ์ความเสี ยดทาน


สถิตระหว่างกล่องไม้ขีดกับพื้นเอียงเท่ากับ µs กาหนดให้ความเร่ งโน้มถ่วงของโลกเท่ากับ g
( ก ) เมื่อพื้นเอียงทามุม α กับแนวระดับ กล่องไม้ขีดยังไม่มีการเคลื่อนที่ จงเขียนแผนภาพเสรี

แสดงแรงทุกแรงที่กระทากับกล่องไม้ขีด ( )

( ข ) เมื่อความอียงของพื้นเอียงเพิ่มขึ้น กล่องไม้ขีดจะเริ่ มเคลื่อนที่เมื่อมุมที่พ้นื เอียงทากับแนวระดับ


เท่ากับ ................... ( )

( ค ) ขณะที่พ้นื เอียงมีความเอียงดังข้อ ( ข ) กล่องไม้ขีดเคลื่อนที่ไปตามพื้นเอียงได้ระยะทาง L

ในเวลา T นับตั้งแต่กล่องไม้ขีดเริ่ มเคลื่อนที่ แสดงว่าสัมประสิ ทธิ์ความเสี ยดทานจลน์

ระหว่างกล่องไม้ขีดกับพื้นเอียงเท่ากับ ................... ( )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 115

ฟิ สิ กส์ สสวท
1. (สสวท ปี 44) พิจารณารู ป เมื่อเริ่ มต้นก้อนวัตถุท้งั สามอยูน่ ิ่ง ต่อมาตัดเชือกที่จุด A ทันทีหลังจากตัดเชือก
วัตถุมวล 1 kg จะเริ่ มเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ งขนาดเป็ นกี่เท่าของความเร่ ง g เนื่องจากแรง โน้มถ่วงของ
โลก ( 3 เท่า )

2. (สสวท ปี 44) โฟมทรงกลมมวล m เมื่อปล่อยให้ตกในห้องโถงใหญ่ซ่ ึงมีอากาศนิ่ง จะมีอตั ราเร็ วปลาย


เป็ น V ถ้าใช้เชือกเบาๆ ดึงโฟมลูกนี้ข้ ึนในแนวดิ่งด้วยอัตราเร็ วคงตัว V เดียวกัน แรงตึงในเชือกมีขนาด
เท่าไร ( ให้ตอบในรู ปของ m และ g ของโลก ) ( 2mg )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 116

3.

(สสวท ปี 44) วัตถุมวล 1.0 kg วางบนปลายซ้ายของแผ่นไม้ยาว มวล 10 kg ซึ่งอยูบ่ นพื้นอีกทีหนึ่ง ดีดวัตถุ


มวล 1.0 kg ออกไปในแนวแผ่นไม้ดว้ ยอัตราเร็ วต้น 1.1 m/s วัตถุน้ ีจะไปหยุดห่างจากปลายซ้ายของแผ่นไม้
เป็ นระยะทางเท่าใด ( หยุดเทียบกับแผ่นไม้ แต่ไม่หยุดเทียบกับพื้นล่าง ให้ใช้ค่า g = 9.8 m/s2 และตอบเป็ น
จานวนเต็มของเซนติเมตร ไม่ตอ้ งมีทศนิยม ) ( 28 cm )

4. (สสวท ปี 44) ยิงลูกระเบิดจากพื้นด้วยความเร็ วต้นขนาด 98 m/s ทามุมตั้งต้น 30˚ กับพื้นราบ เมื่อลูก


ระเบิดขึ้นไปถึงจุดสู งสุ ดก็ระเบิดออกเป็ นสองส่ วนเท่ากันทันที ส่ วนแรกตกลงมาในแนวดิ่ง ส่วนที่สองจะ
ตกกระทบพื้นราบห่างจากส่ วนแรกกี่เมตรให้ใช้ค่า g = 9.8 m/s2 และไม่ตอ้ งคานึงถึงแรงต้านอากาศ
( 849 m )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 117

5. (สสวท ปี 44) สมมุติวา่ โลกเป็ นทรงกลมรัศมี RE ถ้า g เป็ นความเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงที่ผวิ โลก จงหา
ความหนาแน่นเฉลี่ยของโลกในรู ปของ RE , g และค่าคงตัวโน้มถ่วงสากล G (ให้ติดค่า  ไว้ )
3 g 
 4 πRG
E 

6.

(สสวท ปี 44) ในรู ปข้างบน กาหนดให้ A และ B มีมวล m1 = 1.0 kg , m2 = 1.0 kg โดยแผ่นวัตถุ B ยาว 85
cm และ µ = 0.25 เป็ นค่าสัมประสิ ทธิ์ของความเสี ยดทานระหว่าง A กับผิวบน ของแผ่นวัตถุ B เมื่อเริ่ มต้น
A อยูน่ ิ่งทางปลายซ้ายของ B ต่อมาดึง B ด้วยแรงคงตัว F = 10 N จะต้องดึงอยูน่ านเท่าไร A จึงจะหลุดตก
จากปลายขวาของ B ให้ใช้ค่า g = 9.8 m/s2 ( 0.58 S )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 118

7. (สสวท ปี 44) บ้องไฟพุง่ ขึ้นในแนวดิ่งจากพื้นดินด้วยความเร่ งสม่าเสมอขนาด a = g ( ขนาดความเร่ ง


เนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก ) เมื่อขึ้นไปนาน 10.0 วินาที เชื้อเพลิงก็หมดพอดี หลังจากนี้นานเท่าใด บ้อง
ไฟจึงตกถึงพื้นพอดี ( 24.14 S )

8. (สสวท ปี 46) ดีดมวล m ด้วยความเร็วต้น u ให้ไถลไปตามพื้นเอียงลื่นในแนว OA ซึ่งจุด A อยูส่ ู งจากพื้น


ระดับเท่ากับ h จงหาค่า cosine ของมุม θ ที่ m ชนพื้นระดับ กาหนดว่า u2 > 2 gh
( )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 119

9.(สสวท ปี 46) ทรงกระบอกเล็กๆ ไถลจากหยุดนิ่งที่ตาแหน่ง P ( สู ง Hจากพื้น ) ลงมาตามผิวเรี ยบไปสู่


ตาแหน่ง Q ( สู ง h จากพื้น ) แล้วทรงกระบอกเคลื่อนที่ออกไปในแนวราบ ภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลกลงสู่
พื้นที่ตาแหน่ง S ( ระยะ RS เท่ากับ ) จงหาว่า h ที่ทาให้ มีค่ามากที่สุดและค่า ที่มากสุ ดนี้เป็ น
เท่าใด ( )

10. (สสวท ปี 46) มวล A และ B อยูท่ ี่ตาแหน่งความสู งเดียวกัน ดีดมวลทั้งสองออกไปในแนวราบด้วย


ความเร็ ว VA และ VBในทิศตรงข้ามกัน จงหาระยะระหว่างมวลทั้งสองขณะที่ทิศของความเร็ ว ของมวลทั้ง
สองทามุมฉากกัน ( )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 120

11. (สสวท ปี 47) A และ B อยูห่ ่างกัน D ในจังหวะที่ A กาลังเคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออก ( E ) ด้วย


อัตราเร็ วคงที่  และ B กาลังเคลื่อนที่ไปทางเหนือ ( N ) ด้วยอัตราเร็วที่เท่ากัน จงหาระยะที่ A กับ B เข้า
ใกล้กนั ที่สุด
 D 
 2 

12. (สสวท ปี 47) A เป็ นจุดใดๆ จุดหนึ่งบนแนววงกลมเส้นผ่านศูนย์กลาง D ในระนาบดิ่ง B เป็ น


จุดต่าสุ ดของแนววงกลมนี้ AB เป็ นรางลื่นและตรง มวล m ไถลจากจุดหยุดนิ่งที่จุด A ลงไป
สู่ จุด B ภายใต้แรงโน้มถ่วงใช้เวลานานเท่าใด
 2D 
 g 
 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 121

13. (สสวท ปี 48) กาหนดว่าลูกบอลเมื่อกระทบพื้นในแนวดิ่งด้วยความเร็ ว  จะกระดอนขึ้นด้วยอัตราเร็ ว


e เสมอ ( e มีค่าน้อยกว่า 1 ) ถ้าปล่อยให้ลูกบอลตกจากหยุดนิ่งจากความสู ง h จงหา

ก. ช่วงเวลาระหว่างการกระทบพื้นครั้งแรกกับครั้งที่สอง
 2h 
 ( 2 e )
 g 

ข. ลูกบอลจะเด้งขึ้น–ลง อยูเ่ ป็ นเวลานานเท่าใดกว่าจะหยุด หลังจากปล่อย


 1 + e 2h 
1− e g 
 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 122

14. (สสวท ปี 48) โปรเจกไทล์มวล m ถูกยิงจากจุด O ด้วยมุมตั้งต้น 45˚ เมื่อขึ้นไปถึงจุด A ซึ่งเป็ นจุดสู งสุ ด
พอดีเกิดระเบิดออกเป็ นสองเสี่ ยงเท่าๆกัน เสี่ ยงหนึ่งเริ่ มตกทันทีในแนวดิ่ง AB อีกเสี่ ยงหนึ่งจะตกกระทบบน
พื้นห่างจาก B เท่าใด กาหนดว่า AB = h ( 4h )

15.

(สสวท ปี 49) P เป็ นเครื่ องบินกาลังบินเร็วคงที่  ในแนวระดับที่ความสู ง h จากพื้น G เป็ นปื นที่ยงิ
กระสุ นด้วย ความเร็ วต้น u จากตาแหน่งในขณะดังรู ป u จะต้องมีค่าอย่างน้อยที่สุดเท่าใดลูกกระสุ นจึง
กระทบเครื่ องบินได้
 v 2 + 2 gh 
 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 123

16. (สสวท ปี 51)โซ่ยาว กาลังไถลลงจากพื้นโต๊ะระดับ , ราบ , ลื่น ตามแนวยาวของมัน จงหาความเร่ ง


ของโซ่ขณะที่ปลายโซ่หอ้ ยต่าจากผิวโต๊ะเป็ นระยะทาง x กาหนดว่า x <

 xg 
 l 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 124

ฟิ สิ กส์ สอวน
1. (สอวน ปี 45) ท่อนไม้ขนาดและมวลเท่ากันสามท่อนวางซ้อนกันโดยท่อน B ยืน่ พ้นปลาย C ไป 4

ปลายของ A จะยืน่ พ้น B ได้มากที่สุดเท่าไรจึงจะไม่ลม้


l 
 2 

2. (สอวน ปี 45) ยิงกระสุ นปื นออกไปในแนวราบ ( บนผิวของจันทร์ ! ) กระสุ นกระทบเป้าที่ระยะห่าง 25


เมตรที่ตาแหน่ง 5 mm ใต้แนวการยิง แต่ถา้ เลื่อนเป้าให้ห่างจากจุดที่ยงิ เป็ น 50 เมตร ลูกปื นจะกระทบเป้าใต้
แนวการยิงกี่มิลลิเมตร ( 20 mm )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 125

3. (สอวน ปี 45) ยิงวัตถุอนั แรกขึ้นจากพื้นในแนวดิ่งด้วยความเร็ วต้น 0 ยิงอันที่สองในแนวดิ่งตามขึ้นไป


จากจุดเดียวกันด้วยความเร็ วต้นครึ่ งหนึ่งของอันแรก ในจังหวะที่อนั แรกขึ้นถึงจุดสู งสุ ดพอดี ทั้งคู่จะทัน
เท่ากันที่ตาแหน่งสู งจากพื้นเท่าไร (0m)

4. (สอวน ปี 46) ล้อกาลังกลิง้ ไปโดยไม่ไถลเลย โดยที่จุด O มีความเร็ ว V เทียบกับพื้นจุด B เป็ นจุดสู งสุ ด
และจุด A เป็ นจุดต่าสุ ดที่ขณะใดๆ จงหาค่าอัตราส่ วนของอัตราเร็ วของจุด A ต่ออัตราเร็ วของจุด B
(0)
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 126

5. (สอวน ปี 46) A กับ B เป็ นจุดสองจุดบนส่ วนโค้งวงกลมรัศมี R ในระนาบดิ่ง มวล m ไถลจากหยุดนิ่ง


จากจุด A ไปถึง จุด B ( ภายใต้แรงโน้มถ่วงและแรงปฏิกิริยาจากพื้นลื่น AB ) ใช้เวลานานเท่าไร
 4R 
 g 
 

6. (สอวน ปี 46) มวลเหมือนกัน 10 ก้อน วางชิดกับบนพื้นราบและลื่น มีแรง 100 นิวตันกระทาทางด้าน


มวล A ในแนวขนานกับพื้นดังรู ป แรงที่มวล D กระทาต่อมวล E เป็ นเท่าไร (60 N)
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 127

7. (สอวน ปี 46) ปล่อย m1 จากหยุดนิ่งที่จุด A พร้อมกันกับที่ดีด m2 ขึ้นไปในแนวดิ่งจากจุด B ใต้จุด A ด้วย


ความเร็ วต้น u มวลทั้งสองจะชนกันเมื่อ m1 ตกลงมาเป็ นระยะทางเท่าไร กาหนดให้ระยะ AB เท่ากับ h
h
 u 

8. (สอวน ปี 46) ล้อรัศมี R กาลังหมุนอยูก่ บั ที่รอบแกน C ด้วย อัตราเร็วรอบ f รอบต่อวินาที หยดน้ าที่ถูก
สลัดออกไปจากจุด Aในแนวระดับจะตกกระทบพื้นระดับห่างจากจุด O เป็ นระยะทางเท่าไร
 R
 4πfR
 g 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 128

9. (สอวน ปี 47) m1 กับ m2 โยงกันด้วยเชือกและห้อยในแนวดิ่งดังรู ป ดึงทั้งพวงขึ้นด้วยความเร่ ง a ความ


ตึง T1 ในเชือกบนจะเป็ นกี่เท่าของความตึง T2 ในเชือกล่าง
 m1 + m2 
 m 
 2 

10. (สอวน ปี 47) แผ่นสี่ เหลี่ยมผืนผ้ามวล M ยาว 2a กว้าง 2b แขวนจากจุดกึ่งกลางด้านบนดังรู ป และมี


มวล m แขวนที่ปลายล่างซ้าย จะวางตัวเอียงจากแนวระดับเป็ นมุม θ เท่ากับเท่าใด
 ma 
 tan θ =
 ( M − 2m ) b 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 129

11. (สอวน ปี 48)ถ้าคุณดันหนังสื อกับผนังแนวดิ่งด้วยแรงมากพอ หนังสื อจะไม่ไถลตกลงมา ถ้า


สัมประสิ ทธิ์ของความเสี ยดทานสถิตย์ระหว่างหนังสื อกับผนังมีค่าเท่ากับ 0.7
11.1 คุณจะต้องออกแรงดันตั้งฉากกับผนังด้วยขนาดอย่างน้อยเท่าใด หนังสื อมวล 2.0 kg จึงจะ
ไม่ไถลตกลงมา กาหนดว่าความเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงโลกมีขนาด 9.8 m/s2 ( 28 N )

11.2 ถ้าคุณออกแรงดันขนาด 35 N แรงเสี ยดทานสถิตที่ผนังทาต่อหนังสื อมีขนาดเท่าใด ( 19.6 N )

12. (สอวน ปี 49)ปล่อยวัตถุหนึ่งจากหยุดนิ่งจากที่สูงขนาดหนึ่งลงมาในแนวดิ่ง พบว่าในวินาทีสุดท้ายก่อน


กระทบพื้นวัตถุเคลื่อนที่ได้ระยะทางหนึ่งในสี่ ของความสู งทั้งหมดที่ตกลงมา จงหาว่าวัตถุใช้เวลาทั้งหมด
เท่าใดในการตกลงมาก่อนถึงพื้น

 2 
 2 − 3 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 130

13. (สอวน ปี 49 ) รถไฟขบวนหนึ่งกาลังแล่นด้วยอัตราเร็ ว A ไปตามรางตรง ทันใดนั้นพนักงานขับรถก็


สังเกตเห็นรถไฟอีกขบวนหนึ่งที่ระยะห่าง d กาลังแล่นอยูข่ า้ งหน้าไปในทิศทางเดียวกันด้วยอัตราเร็ ว B
เขาจึงถึงห้ามล้อทันที ถ้ารถไฟแล่นต่อด้วยความหน่วงคงตัวและรถไฟขบวนหน้าแล่นด้วยความเร็วเท่าเดิม
ไปเรื่ อยๆ จงหาความหน่วงที่นอ้ ยที่สุดที่จะทาให้หลีกเลี่ยงการชนกับรถไฟขบวนหน้าได้พอดี

 ( VA − VB )
2

 
 2 d 

14. (สอวน ปี 49)โยนวัตถุ A ขึ้นในแนวดิ่งด้วยอัตราเร็ ว u และที่เวลา u / g ต่อมาก็โยนวัตถุ B ตามขึ้นไป


ด้วยอัตราเร็ ว u เท่ากัน ถ้าวัตถุท้งั สองชนกันเหนือพื้น จงหาความสู งของตาแหน่งที่วตั ถุท้งั สองชนกัน ใน
ที่น้ ี g คือขนาดความเร่ งสนามโน้มถ่วงโลกที่บริ เวณนั้น

2
 3u 
 8g 
 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 131

15. (สอวน ปี 49) ดีดวัตถุมวล m ก้อนหนึ่งด้วยอัตราเร็ วต้น u ให้ไถลขึ้นไปตามพื้นเอียงซึ่งทามุม θ กับแนว


ระดับ เมื่อวัตถุข้ ึนไปได้สูงสุ ดก็ตกกลับลงมาตามพื้นเอียง ถ้าสัมประสิ ทธิ์ของความเสี ยดทานจลน์ระหว่าง
วัตถุกบั ผิวพื้นเอียงมีค่า µk อัตราเร็ วของวัตถุขณะที่กลับมาถึงปลายพื้นเอียงมีค่าเท่าใด

 sin θ − μk cos θ 
 vo 
 sin θ + μk cos θ 
16. (สอวน ปี 49)ไม้กระดานสม่าเสมอแผ่นหนึ่งพิงอยูก่ บั กาแพงดิ่งลื่น ทามุม θ กับพื้นแนวระดับ
สัมประสิ ทธิ์ความเสี ยดทานสถิตระหว่างไม้กระดานและพื้นมีค่า µg จงหามุม θ ที่นอ้ ยที่สุดที่ทาให้ไม้
กระดานไม่ไถลลงมา

 −1  1  
 tan  
 2μ
 k 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 132

17. (สอวน ปี 49) ตาชัง่ สปริ งอันหนึ่งแขวนไว้กบั เพดานลิฟต์ตวั หนึ่ง ปลายล่างของตาชัง่ มีวตั ถุมวล 10 kg
แขวนอยูต่ าชัง่ อ่านค่าได้ 125 N
17.1 จงหาความเร่ ง ( ทิศและขนาด ) ของลิฟต์

( 2.5m / s  )
2

17.2 ถ้าที่แขวนตาชัง่ หลุดจากเพดาน ตาชัง่ อ่านค่าเท่าใด กาหนดว่าขนาดสนามโน้มถ่วงของโลก


ที่บริ เวณนั้นมีค่าเท่ากับ 9.8 N / kg ( 0N)

18. (สอวน ปี 50) ปล่อยวัตถุ A จากหยุดนิ่งลงมาจากที่สูง H ที่เวลา H / 2g หลังจากนั้นก็ปาวัตถุ B ตาม


ลงมา จงหาว่าจะต้องปา B ด้วยอัตราเร็วเท่าใด จึงจะให้ทนั A ที่พ้นื พอดี

( 9 gH
8 )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 133

19. (สอวน ปี 50) รถไฟ A และ B สองขบวนแล่นบนรางตรงเดียวกันมาในทิศทางตรงกันข้าม พนักงานขับ


รถทั้งสองต่างเห็นรถไฟอีกขบวนหนึ่งอยูข่ า้ งหน้า จึงดึงห้ามล้อพร้อมกัน เมื่อรถไฟทั้งสองอยูห่ ่างกัน D และ
มีอตั ราเร็ วตอนนั้น uA และ uB สมมติวา่ รถไฟทั้งสองขบวนเคลื่อนที่ชา้ ลงด้วยความหน่วงคงตัว และรถไฟ
หยุดพร้อมกันที่ระยะห่างกัน d

( u)
19.1 จงหาอัตราส่ วนขนาดความหน่วงของรถไฟ B ต่อขนาดความหน่วงของรถไฟ A uB
A

19.2 จงหาขนาดความหน่วงของรถไฟ A

( u ( u + u ) 2( D − d ) )
A A B
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 134

20. (สอวน ปี 50) ค่อยๆ วางวัตถุมวล m อย่างช้าๆ ลงบนทางเลื่อน ( มวลมากกว่า m มากๆ ) ในสนามบิน
สุ วรรณภูมิซ่ ึงกาลังเลื่อนด้วยอัตราเร็ ว u คงตัว ถ้าสัมประสิ ทธิ์ของความเสี ยดทานจลน์ระหว่างวัตถุและทาง
เลื่อนเท่ากับ µk
20.1 จงหานานเท่าใดหลังจากวัตถุ วัตถุจึงจะหยุดไถล

(u u g) k

20.2 วัตถุเคลื่อนที่ไปได้ระยะทางเท่าใด ( เทียบกับคนที่ยนื นิ่งอยูน่ อกทางเลื่อนในระหว่างช่วงเวลา


ในข้อ 21.1 )

(u 2
2 uk g )

21. (สอวน ปี 51)ลูกบอลลูกหนึ่งตกลงมาจากที่สูง 10 m กระดอนกับพื้น และลอยกลับขึ้นไปได้สูง 2.5 m


ถ้าลูกบอลกระทบพื้นนาน 0.10 s ความเร่ งเฉลี่ยของลูกบอลระหว่างที่แตะพื้นมีขนาดเท่าใด
( g = 9.8 m/s2 ) ( 2.1*102 m/s2 )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 135

22. (สอวน ปี 51)รถไฟขบวนหนึ่งกาลังแล่นไปข้างหน้าด้วยความเร็วขนาด 2.0 m/s ขณะที่รถไฟเริ่ มเร่ ง


เครื่ องไปข้างหน้าด้วยความเร่ งขนาดหนึ่ง ผูโ้ ดยสารคนหนึ่งก็ทาเหรี ยญบาทตกจากมือซึ่งอยูส่ ู งจากพื้น 1.4
m ถ้าเหรี ยญตกลงบนพื้นรถไปทางด้านหลัง 0.1 m จากตาแหน่งบนพื้นที่อยูใ่ ต้มือในแนวดิ่งพอดี ความเร่ ง
ของรถไฟมีขนาดเท่าใด ( 0.7 m/s2 )

23. (สอวน ปี 52)วัตถุเล็กชิ้นหนึ่งถูกเตะด้วยอัตราเร็วต้น u ให้ไถลขึ้นไปตรงๆ ตามแนวเส้นความชัน


สู งสุ ดของพื้นเอียงซึ่งทามุม ϕ กับแนวระดับ ถ้าไม่มีแรงเสี ยดทานใดระหว่างวัตถุกบั พื้นเอียง วัตถุจะ
กลับมายังจุดตั้งต้นหลังจากที่ถูกเตะขึ้นไปเมื่อใด

 2u 
 g sin φ
 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 136

24. (สอวน ปี 52) จากวัตถุขอ้ 23 วัตถุจะกลับมายังแนวระดับเดิมห่างจากจุดตั้งต้นเท่าใด


2
 u sin2θ 
 g sin φ 
 

25. (สอวน ปี 53) ปล่อยลูกบอลมวล m จากหยุดนิ่งจากที่สูง H จากพื้น ทุกครั้งที่ลูกบอลกระทบพื้นจะ


กระดอนขึ้นด้วยอัตราเร็ว e ( < 1 ) เท่าของอัตราเร็ วก่อนกระทบพื้นพอดี ตอนที่ลูกบอลกระดอนขึ้นครั้งที่ n
ลูกบอลมีพลังงานจลน์เท่าใด และกระดอนขึ้นไปได้สูงเท่าใดก่อนตกกลับลงมาอีก

 E = 1 mv 2 e 2 n  He 2n
 K 2   
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 137

26. (สอวน ปี 54)วัตถุเคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร็ วคงที่ 1 จากจุด A เป็ นระยะทาง a แล้วเปลี่ยนอัตราเร็ วเป็ น 2
และเคลื่อนที่ต่อไปเป็ นระยะทางอีก b จึงถึงจุด B อัตราเร็วเฉลี่ยของวัตถุในการเคลื่อนที่จาก A ไป B เป็ น
เท่าไร  a b
 a + b + 
 v1 v2 

27. (สอวน ปี 54)นาย A และนาย B แรกอยูห่ ่างกันเป็ นระยะทาง d A กับ B ตั้งต้นออกวิ่งเข้าหากันที่จงั หวะ
เดียวกัน A และ B มีอตั ราเร็วคงที่เท่ากับ 1 และ 2 ตามลาดับ ทั้งคู่จะชนกันเมื่อ A เคลื่อนที่ได้ระยะทาง
เท่าไร
  v1  
d  
v + v
  1 2 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 138

28. (สอวน ปี 54)วัตถุเล็กๆ ตกจากหยุดนิ่งตามแนวรางลื่นจาก A ไป C แล้วไป B จะใช้เวลาเป็ นกี่เท่าของ


การตกตามแนวรางลื่น A ตรงไป B 3 2 
 4 
 

29. (สอวน ปี 54)ปล่อยลูกปิ งปองให้ตกในแนวดิ่งกระทบพื้นราบครั้งแรกด้วยความเร็ วต้นมีขนาด 0 ลูก


ปิ งปองกระดอนขึ้นด้วยความเร็ ว 1 = e0 [ e มีค่าน้อยกว่า 1 ] ลูกปิ งปองจะกระทบพื้นครั้งที่สอง หลัง
ครั้งแรกเป็ นเวลานานเท่าไร ตอบในรู ป 0 , e และ g
 2evo g 
 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 139

30. (สอวน ปี 54) ( ใช้โจทย์ขอ้ 29 ) ลูกปิ งปองจะกระดอนป๊ อก , ป๊ อก , ป๊ อก , ป๊ อก , …… อยูเ่ ป็ นเวลานาน


เท่าไรกว่าจะหยุดกระดอน นับจากจังหวะที่กระทบพื้นครั้งแรก
2 3 n-2 n-1 1 − rn
[ กาหนดให้วา่ a + ar + ar + ar + …. + ar + ar = a
1−r
,r<1 ]

 2evo g ( 1 − e ) 
 
31. (สอวน ปี 54) เล็งโปรเจคไทล์จากจุด A ไปยังจุด B บนกาแพง BC ซึ่งห่างออกไป d ด้วยมุมตั้งต้น θ0
และความเร็วต้น u จะชนกาแพงใต้จุด B เป็ นระยะทางเท่าใด ตอบในรู ปของ g , d , u , θ0

 1 gd 2 
 2 
 u 2 cos 2 θ 
 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 140

32. (สอวน ปี 54) ( ใช้รูปข้อ 31 ) โปรเจคไทล์ตอ้ งมีค่าความเร็ วต้นอย่างน้อยที่สุดเท่าใดจึงจะมีโอกาสชน


กาแพง BC ตอบในรู ปของ g , d , θ0

  gd  
   
  sin2θ 
33. (สอวน ปี 55) m ไถลจากหยุดนิ่งลงพื้นเอียงและลื่น AB จงหาขนาดของความเร็ วเฉลี่ยของ m ในช่วง

เวลาจาก A ไปถึง B ( ตอบในรู ปของ g กับ h )  gh 2 


 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 141

34. (สอวน ปี 55) A กับ B อยูห่ ่างกัน ทั้งคู่เริ่ มออกวิ่งไปทางขวาด้วยความเร่ งคงที่ a และ b ตามลาดับ A

จะต้องกวด B อยูน่ านเท่าใดจึงทัน B กาหนดว่า a > b  gl ( a + b ) 


 

35. (สอวน ปี 55) โปรเจคไทล์ต้งั ต้นจากจุด O เมื่อขึ้นไปถึง จุดสู งสุ ดก็ระเบิดออกเป็ นสองชิ้นมวลเท่ากัน
ชิ้นหน้าคือ A ชิ้นหลังคือ B ทันทีหลังระเบิด B มีความเร็ วเป็ นศูนย์เทียบกับพื้น ชิ้น A จะตกบนพื้นเลยจุด
ตกของ B ไปเป็ นระยะทาง กี่เท่าของระยะทาง OC ( 2 เท่า )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 142

36.(สอวน ปี 57) ระยะทาง AB = D เป็ นรางรถไฟตรง นกออกบินจาก A พร้อมกันกับที่รถไฟออกจาก B นก


บินเร็ ว v รถไฟเคลื่อนที่เร็ ว u เมื่อนกถึงรถไฟครั้งแรกก็บินกลับทันทีดว้ ยความเร็วขนาดเท่าเดิมและเมื่อถึง
จุด A นกก็หนั กลับบินเข้าหารถไฟอีกและเมื่อถึงรถไฟก็บินกลับอีก กลับไปกลับมาแบบนี้จนกระทัง่ รถไฟ
ถึงจุด A รวมระยะทางทั้งหมดที่นกบินได้เป็ นเท่าไร ( กาหนดว่า v > u )

D v 
 u 

37. (สอวน ปี 58) จุด A , B อยูใ่ นระนาบดิ่งเดียวกันบนพื้นระดับและห่างกัน L ปล่อยโพรเจคไทล์จากจุด A


ด้วยความเร็วต้น u ทามุม 45˚ กับพื้นระดับและอยูใ่ นระนาบดิ่งนั้น เมื่อโพรเจคไทล์น้ ีเคลื่อนมาถึง เหนือหัว
B จึงปล่อยโพรเจคไทล์อีกลูกจากจุด B ด้วยความเร็วต้น u ทามุม 45˚ เช่นเดียวกับที่ A โพรเจคไทล์ชนกันที่
เหนือหัวจุด C BC มีค่าเท่าไร ( ตอบในเทอมของ u , g , L )

 1  u2 
2 g − L 
  
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 143

38. (สอวน ปี 59) วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์โดยมีความเร็วต้น v0 ทามุมตั้งต้น θ0 กับแนวราบที่


(0, 0 ) จนเคลื่อนที่ชนจุด ( a , a ) ในระนาบดิ่ง XY ได้พอดีน้ นั เป็ นไปตามสมการ ga + 1 = sin2 θ0 – ( .?. )
v 20

จงหาปริ มาณในวงเล็บ ( cos2θo )

39.(สอวน ปี 59) ชายคนหนึ่งต้องการรู ดตัว ( โรยตัว ) จากหยุดนิ่งที่เพดานลงมาในแนวดิ่ง ด้วยความเร่ งโดย


ไม่ให้เชือกขาด ความเร็ วของเขาขณะกระทบพื้นมีค่าอย่างน้อยที่สุดเท่ากับเท่าไร ( ยิง่ น้อยยิง่ ลดความเสี่ ยง
ของการบาดเจ็บ )

 FO 
 2 gh (1 − )
 W 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 144

40.(สอวน ปี 59) ท่อนมวลยาว วางบนพื้นฝื ดและพาดสัมผัสกับครึ่ งทรงกระบอกผิวลื่นรัศมี R


สัมประสิ ทธิ์ของ ความเสี ยดทานระหว่างท่อนกับพื้นระดับต้องมีค่าอย่างน้อยที่สุดเท่าไรท่อนจึงจะไม่ไถล
ลงมา

 Rl 
 2 R 2 + l 2 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 145

ข้อสอบเก่า IJSO รอบ 2

1. แผ่นโลหะแบนราบที่อุณหภูมิ T0 มีรูโบ๋ เล็กๆ เส้นผ่าศูนย์กลาง D0 อยูก่ ลางๆ ต่อมา เมื่อทาให้อณ


ุ หภูมิ
เพิ่มเป็ น T1 รู โบ๋ จะมีเส้นผ่าศูนย์กลางโตขึ้นหรื อเล็กลง ? และโตเท่าไร ? กาหนดให้เนื้อของแผ่นโลหะนี้
มีสมั ประสิ ทธิ์การขยายตัวเชิงเส้นเท่ากับ α ต่อองศา (IJSO รอบ 2 ปี 48)

( โตขึ้น = DO 1+2αΔ t )

2.

ในรู ปนี้ S1 , S2 , S3 เป็ นสวิทช์ที่ยงั อ้าอยู่ จงหาค่าความต้านทานรวม RAB ระหว่างปลาย A กับ B


สาหรับกรณี ต่างๆ ดังต่อไปนี้ (IJSO รอบ 2 ปี 48)
ก. สวิทช์ทุกตัวยังอ้าอยู่  RAB = R1 + R2 + R3 

ข. สับ S3 ลงเพียงตัวเดียว  R3 R4 
R = R
 AB 1 2+ R + 
 R3 + R4 

ค. สับสวิทช์ทุกตัวลง  1 1 1 1 
 RAB = 1  + + + 
  R1 R2 R3 R4 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 146

3. ประจุบวก q สองประจุ ถูกตรึ งไว้ที่ตาแหน่ง y = –h


และ y = +h ดังรู ป ผลักประจุบวก Q ย้อนเข้ามาช้าๆ
บนแกน X ต้องใช้แรงผลักสู งสุ ดที่จุดไหน ?
( ให้ตอบว่าที่จุดนั้นค่า x = ? ) และแรงนี้มีขนาดเท่าไร
ทั้งนี้ให้ใช้กฎของ Coulomb ในรู ป (IJSO รอบ 2 ปี 49)
ƒ = ( q1 q2 ) / ( 4 r )
0
2

 h Qq 
 X = , F = 
 2 3 3πε o h2 

4.

วงจรนี้มีสวิทช์ SW1 กับ SW2 ซึ่งเราเลือกสับลงหรื อไม่สบั ลงได้ตามใจ จะสามารถให้


ความต้านทานรวมระหว่างปลาย AB ได้ค่าเท่าไรบ้าง ( ตอบเรี ยงจากน้อยไปมาก ) (IJSO รอบ 2 ปี 49)

 RAB = 12.8 ,30 ,50,120 


ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 147

5. ถังทรงกระบอกมีพ้นื ที่ภาคตัดขวาง A บรรจุน้ าความหนาแน่น D ไว้สูง h จากก้นถัง ต่อมานาวัตถุ


มวล m ที่เบากว่าน้ ามาลอยในน้ าในถัง ระดับน้ าในถังจะสู งขึ้นจากเดิมอีกเท่าไร และความดันในน้ า
บริ เวณก้นถังจะเพิ่มขึ้นจากเดิมอีกเท่าไร ( ตอบในรู ปของ m , D , A และ g ) (IJSO รอบ 2 ปี 49)

 h = m , P = mg 
 DA A 

6. โครงรู ปปิ รามิดมีจุด A เป็ นยอดและรู ปสามเหลี่ยม BCD


เป็ นฐานโครงมีดา้ นรวม6 ด้าน แต่ละด้านเป็ นลวดความ
ต้านทาน R ยกเว้นด้านเดียวคือด้าน BC ซึ่งมีความต้านทาน
เป็ นศูนย์ จงหาความต้านทานรวมระหว่างปลาย A กับ D
(IJSO รอบ 2 ปี 50)

R = R 
 AD 2 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 148

7. กาหนดว่าในทั้งสองวงจรนี้ พลังงานไฟฟ้าที่กลายไปเป็ นพลังงานความร้อนใน R มีอตั ราเท่ากัน


จงหาค่าของ ε2 ในรู ปของ ε1 , R , r0 (IJSO รอบ 2 ปี 50)

 ε1 R 
ε 2 = 
 R + ro 

8. เมื่อสวิทช์ท้งั สองยังอ้าอยู่ จะมีกระแสไฟฟ้าผ่านตัวต้านทานที่ต่ออยูร่ ะหว่างขั้ว A กับ B เป็ นกี่เท่า


ของเมื่อสับสวิทช์ท้งั สองลงทั้งคู่หรื อลงเพียงอันเดียวก็ตาม ( มีคาตอบเดียวเท่านั้น ) (IJSO รอบ 2 ปี 50)

( เท่าเดิม )
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 149

9. ถ้าปล่อยก้อนหินมวล M ( ซึ่งหนักกว่าน้ า ) ปริ มาตร V จากเรื อลงไปในบ่อใหญ่ซ่ ึงมีพ้นื ที่ภาคตัดขวาง


A ระดับน้ าในบ่อจะลดลงเท่าใด กาหนดให้  เป็ นความหนาแน่นของน้ า
( ตอบในรู ปของ M , V , A ,  ) (IJSO รอบ 2 ปี 50)

 1 M 
 V =  − V 
A ρ 

10. A,B,C และD เป็ นประจุซ่ ึงมีค่าประจุเท่ากันเชื่อมไว้ดว้ ยกันด้วยเส้นใยฉนวนยาวเท่ากันทุกช่วง


[AB=BC=CD] แรงระหว่างประจุแปรผกผันกับระยะทางกาลังสอง เป็ นความตึง(แรงดึง)ในเส้น
ใยช่วง AB กับ BC ตามลาดับ จงหาค่าของอัตราส่ วน (IJSO รอบ 2 ปี 50)

 49 
 58 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 150

11. L เป็ นความยาวของท่อนโลหะที่อุณหภูมิ T โดยมี เป็ นความยาวที่เพิม่ ขึ้นเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น

การทดลองทาให้ เป็ นค่าคงที่ เป็ นสมบัติของเนื้อโลหะชนิดนั้น (ไม่ใช่ของท่อนนั้น) จงวิเคราะห์

จากรู ปและหาว่าเข็มจะเบนไปเป็ นกี่องศาต่ออุณหภูมิหนึ่งองศาที่เพิม่ ขึ้น (ตอบในรู ป L, ,a)

(IJSO รอบ 2 ปี 50)

 180αL
 πa 

12. เครื่ องวัดอุณหภูมิ (เทอร์มอมิเตอร์) ใช้หลักการที่ของเหลวปริ มาตร V

ขยายตัวเพิม่ ขึ้นอีก เมื่ออุณหภูมิเพิม่ ขึ้น ระดับของเหลวในท่อ

จึงสู งขึ้นเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น โดยมี เป็ นค่าคงที่และ

ดังนั้นเป็ นสมบัติของเหลวนั้นระดับขอของเหลวในท่อเพิ่มขึ้นเท่าใด

เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 องศา (ตอบในรู ปของ

(IJSO รอบ 2 ปี 50)

r V 
 A 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 151

13. .ในการสาธิตการขยายตัวเชิงความร้อนของน้ า ใส่น้ าอุณหภูมิ 25˚C ปริ มาณ


1000 cm3 ลงในภาชนะรู ปทรงกระบอก ซึ่งมีพ้นื ที่หน้าตัด 10 cm2 จากนั้น
ให้ความร้อนแก่น้ าจนน้ ามีอณ
ุ หภูมิ 95˚C พบว่าผิวน้ าในภาชนะสู งขึ้น 1.3 cm
จงหาว่าภาชนะรู ปทรงกระบอกที่ใช้ทามาจากวัสดุที่มีสมั ประสิ ทธิ์การขยายตัว
เชิงปริ มาตรเท่ากับเท่าไร กาหนดให้สมั ประสิ ทธิ์การขยายตัวเชิงปริ มาตรของ
น้ ามีค่า β = 0.20 × 10-3 K-1 (IJSO รอบ 2 ปี 51)

1.43*10 −5 K −1 

14. ถ้านักเรี ยนสามารถย้ายตัวต้านทานตัวหนึ่งในวงจรนี้ไปสลับที่


กับตัวต้านทานอีกตัวหนึ่งได้ ( จะสลับที่ตวั ต้านทานคูใ่ ดก็ได้
และจะสลับกี่คู่กไ็ ด้ โดยที่รูปแบบของวงจรยังคงเหมือนเดิม )
จงหาว่า ความต้านทานสมมูลที่มากที่สุดที่เป็ นไปได้น้ นั
เป็ นกี่เท่าของความต้านทานสมมูลขณะนี้(IJSO รอบ 2 ปี 51)
(ไม่ตอ้ งคานึงถึงความต้านทานภายในของแบตเตอรี่ )

3 3 
 29 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 152

15. ทรงกลมตันอันหนึ่งมีมวล m และมีความหนาแน่น  ซึ่งน้อยกว่าความหนาแน่นของน้ า ทรงกลมนี้


ถูกปล่อยจากที่สูง h ลงสู่ ภาชนะใส่ น้ า ( ความสู ง h วัดจากผิวน้ า ) พบว่าทรงกลมกระทบผิวน้ าแล้วจม
ลงในน้ าลึกเป็ นระยะ d โดยไม่ได้กระแทกพื้นและเคลื่อนที่กลับขึ้นมายังผิวน้ าอีกครั้งหนึ่ง จงเขียน
กราฟความเร็ว ( อย่างคร่ าวๆ ) ของทรงกลมนี้ที่เวลาต่างๆ นับตั้งแต่ปล่อยจากที่สูง h จนกระทัง่ กลับมา
ที่ผวิ น้ าอีกครั้งหนึ่ง กาหนดให้ แรงต้านอากาศมีค่าน้อยมากจนไม่ตอ้ งนามาคิด ส่ วนแรงต้านของน้ าที่
กระทาต่อทรงกลมที่เคลื่อนที่น้ นั แปรผันตรงกับอัตราเร็ วของทรงกลม และกาหนดให้ความเร่ งเนื่องจาก
แรงโน้มถ่วงของโลกเท่ากับ g (IJSO รอบ 2 ปี 51)

16. ถ้านาก้อนทองเหลืองมวล 100 g ที่มีอุณหภูมิ 180˚C ใส่ ลงไปบีกเกอร์ซ่ ึงบรรจุน้ า 50 g ซึ่งตอน


เริ่ มต้นทั้งบีกเกอร์และน้ ามีอณ
ุ หภูมิ 20˚C แล้วทิ้งไว้จนทุกอย่างมีอณ
ุ หภูมิเท่ากัน โดยมีการแลกเปลี่ยนความ
ร้อนเฉพาะระหว่าง น้ า ทองเหลือง และบีกเกอร์เท่านั้น ไม่มีการสูญเสี ยความร้อนให้กบั สิ่ งแวดล้อม และ
ไม่มีการเปลี่ยนสถานะ จงหาอุณหภูมิสุดท้ายของก้อนทองเหลือง กาหนดให้ น้ ามีความร้อนจาเพาะ 1.00
cal / g ⋅ ˚C ทองเหลืองมีความร้อนจาเพาะ 1 / 10 เท่าของความร้อนจาเพาะของน้ า และบีกเกอร์ มีความจุ
ความร้อน 20 cal / ˚C (IJSO รอบ 2 ปี 51)

 40 C 
O

 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 153

17. ทรงกลมเล็กๆ สองลูก มีมวล m เท่ากัน ลูกหนึ่งมีประจุบวก Q


อีกลูกมีประจุบวก 2Q ถูกแขวนจากจุดเดียวกันด้วยเชือกเบาที่เป็ น
ฉนวน ซึ่งเชือกทั้งสองเส้นมีความยาวเท่ากัน พบว่าทรงกลมที่มี
ประจุบวก 2Q นั้นอยูห่ ่างจากแนวดิ่งจากจุดที่แขวนเป็ นระยะ x
จงหาว่าเชือกที่แขวนทรงกลมทั้งสองเส้นนั้นทามุมกันเท่าใด
( รู ปแสดงเฉพาะทรงกลมที่มีประจุ 2Q ) (IJSO รอบ 2 ปี 51)

 −1  KQ 2  
 2 tan  2  
  2 X mg  

18. น้ ามีปริ มาณหนึ่งลอยอยูเ่ หนือปรอท เมื่อเอาก้อนทรงกระบอกโลหะ ความหนาแน่น 7300 kg / m3


และสู ง 6.00 cm ไปลอยในของเหลว โดยให้แกนทรงกระบอกตั้งอยูใ่ นแนวดิ่ง พบว่าปลายบนของมัน
อยูเ่ หนือผิวบนของน้ า 0.945 cm ต่อมาเมื่อเอาน้ ามันหนาเทลงบนน้ าให้หนา 1.00 cm ปรากฏว่าปลาย
บนของทรงกระบอกอยูท่ ี่ระดับเดียวกับผิวบนของน้ ามัน จงหาความหนาแน่นของน้ ามัน และความหนา
ของขั้นน้ า (IJSO รอบ 2 ปี 52)

 780 Kg / m 3 ,1.98 cm 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 154

19. เอาก้อนลูกบาศก์โลหะสองอัน มวลเท่ากัน ออกจากน้ าร้อนเดือด แล้วเอาไปวางบนก้อนน้ าแข็งขนาด


ใหญ่ โลหะก้อนหนึ่งทาจากทอง 197
79 Au อีกก้อนหนึ่งทาจากทองแดง 64
29 Cu ถ้าก้อนทองแดงทาให้
น้ าแข็งละลายได้ 100 กรัม ก้อนทองจะทาให้น้ าแข็งละลายได้ประมาณเท่าใด (IJSO รอบ 2 ปี 52)

 34 กรั ม 

20. อนุภาคอิเล็กตรอน ( ขนาดประจุ e ) ถูกเร่ งจากหยุดนิ่ง ด้วยสนามไฟฟ้าสม่าเสมอ 20000 N / C


เป็ นระยะทาง 5.0 cm พลังงานจลน์ของอิเล็กตรอนมีขนาดเปลี่ยนไปกี่อิเล็กตรอนโวลต์
(IJSO รอบ 2 ปี 52)

100 ev 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 155

21. พิจารณาวงจรในรู ปข้างล่าง แบตเตอรี่ มีอีเอ็มเอฟ ( แรงเคลื่อนไฟฟ้า ) ε หลอดไฟ A , B และ C


ทุกดวงมีความต้านทาน R เท่ากันหมด กาลังที่จ่ายโดยหลอดไฟ A และ C ณ ขณะใดๆ มีค่าเท่าใด
(IJSO รอบ 2 ปี 52)

 4E2 E2 
 , 
 9 R 9R 

22. ใช้เครื่ องทาความร้อนกาลัง 90W ให้ความร้อนแก่การบูรมวล 0.20 kg ซึ่งอยูใ่ นแคลอริ มิเตอร์ อุณหภูมิ
ของระบบเพิ่มขึ้นอย่างสม่าเสมอไปจนถึง 176ºC และคงอยูท่ ี่อุณหภูมิน้ ีนาน 110s ก่อนที่จะเพิ่มต่อไป ที่
อุณหภูมิ 190 องศาเซลเซียส เครื่ องทาความร้อนก็ถูกปิ ด อุณหภูมิของระบบเริ่ มลดลง แต่คงอยูท่ ี่
จงหา (ก) ความร้อนที่สูญเสี ยไปจากแคลอริ มิเตอร์ในระหว่างช่วงเวลาแรกที่อุณหภูมิคงที่ที่ 176 ºC
และ (ข) ความร้อนแฝงจาเพาะของการกลายเป็ นไอของการบูร (IJSO รอบ 2 ปี 53)

 761 J , 45.7 KJ / Kg 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 156

23. ขวดแก้วควอตซ์ปริ มาตร 500 mL ที่อุณหภูมิ 273 K มีปรอทอยูเ่ ต็ม เมื่อขวดแก้วถูกทาให้ร้อนจนมี


อุณหภูมิ 373 K พบว่ามีปรอทปริ มาตร 8.91 mL ไหลล้นออกจากขวดแก้ว สัมประสิ ทธิ์การขยายตัวเชิง
ปริ มาตรของปรอทมีค่าเท่าใด กาหนดประสิ ทธิ์การขยายตัวเชิงปริ มาตรของแก้วควอตซ์มีค่า
เท่ากับ (IJSO รอบ 2 ปี 53)

1.78*10 −4 k −1 

24.

ความต้านทาน x ต้องมีค่ากี่โอห์มจึงจะทาให้ความต้านทานรวมระหว่างปลาย AB เท่ากับ x พอดี


(IJSO รอบ 2 ปี 54)

 RX = 20
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 157

25. ( ใช้รูปในข้อ 24. ) สาหรับคาตอบในข้อ 24. กระแสไฟฟ้าที่ผา่ น x มีค่ากี่มิลลิแอมแปร์


(IJSO รอบ 2 ปี 54)

 I X = 4.69 A

26. ใต้ระนาบ OX ลงไปเป็ นวัสดุโปร่ งใส


ดรรชนีหกั เห µ = 2 วัตถุอยูบ่ นแกนลบ
ของ OY ลึกลงไปจากจุด O เป็ นระยะทาง
3 หน่วย ตาคนอยูท่ ี่จุด ( 2 , 1 ) ในอากาศ
มองเล็งไปที่จุด P แล้วเห็นภาพของวัตถุพอดี
จงหาค่าของระยะทาง x = OP ว่าเท่ากับกี่หน่วย
(IJSO รอบ 2 ปี 54)

OP = 0.84 หน่ วย 


ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 158

27. เมื่อทดสอบเซลล์แสงอาทิตย์ชิ้นหนึ่งพบว่ากาลังไฟฟ้าสู งสุ ดวัดได้ที่ความต่างศักย์ได้ 0.5 V และ


กระแสได้ 10 mA เซลล์แสงอาทิตย์มีพ้นื ที่รับแสง 2.0 cm2 การทดสอบนี้ใช้แสงที่มีความเข้ม 1000 W
m-2ซึ่งเป็ นค่าพลังงานแสงที่ได้รับต่อหน่วยเวลาต่อหน่วยพื้นที่ จงหาประสิ ทธิภาพของเซลล์แสงอาทิตย์
(IJSO รอบ 2 ปี 55)

 2.5Percent 

28. เมื่อตั้งน้ าแข็งมวล M ซึ่งบรรจุอยูใ่ นภาชนะหนึ่งละลายเป็ นน้ าหมดภายในเวลา t0 แต่ถา้ จุ่มแท่ง


ทาความร้อนด้วยไฟฟ้าที่มีกาลังไฟฟ้า P ลงไปละลายน้ าแข็ง น้ าแข็งจะละลายหมดภายในเวลาเท่าใด
กาหนดให้ L เป็ นความร้อนแฝงการเปลี่ยนสถานะของแข็งเป็ นน้ า และความร้อนที่สูญเสี ยผ่านภาชนะ
แปรผันตรงกับเวลา (IJSO รอบ 2 ปี 55)

 MLt o 
 
 ML + Pt o 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 159

29. ทรงกลมรัศมี R ซึ่งขยายตัวน้อยมากเมื่ออุณหภูมิเพิม่ ขึ้น


วางอยูบ่ นวงลวดเส้นเล็กซึ่งแขวนอยูแ่ ละมี α เป็ นค่าคงที่
การขยายตัวเชิงเส้นของลวดเมื่ออุณหภูมิเพิม่ ขึ้น วงลวดมี
รัศมีภายในเป็ น 0.9 R สมมุติวา่ ถ้าจ่ายกระแสไฟฟ้าให้
เส้นลวดนี้ดว้ ยกาลัง P จะมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นตามความ
สัมพันธ์ P = β( T – T0 )2 เมื่อ T0 คืออุณหภูมิเริ่ มต้น
ของเส้นลวดและ β เป็ นค่าคงที่ จงหากาลังไฟฟ้าที่ตอ้ งใช้
เพื่อให้ทรงกลมหลุดผ่านวงลวดลงมา(IJSO รอบ 2 ปี 55)

 β 
 81α2 

30. ประจุ +Q และ +9Q อยูห่ ่างกันเป็ นระยะ L จงหาระยะห่างของจุดที่สนามไฟฟ้าเป็ นศูนย์จากประจุ


Q1 Q 2
+Q และหาค่าศักย์ไฟฟ้าที่จุดนี้ กาหนดให้ใช้กฎของคูลอมบ์ในรู ป F = 4 0r 2
(IJSO รอบ 2 ปี 55)

 L 4Q 
 , 
 4 πεO L
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 160

31. โวลต์มิเตอร์ V ต่อขนานกับ Ri และ R ดังรู ป จงวิเคราะห์ขอ้ มูลในตารางเพื่อหาค่า Ri


(IJSO รอบ 2 ปี 55)
R(Ω) ความต่างศักย์ที่อ่านได้ ( V )
1.0 k 0.00
100 k 0.10
500 k 0.43
1.0 M 0.77
5.0 M 2.00
10 M 2.50

5M

32. จงเขียนแผนภาพแรงที่กระทากับก้อนมวล m ในแผนภาพที่แขวนอยูด่ ว้ ยเชือกตึงภายในของเหลวที่มี


3
ความหนาแน่น 2
0 เมื่อ 0 คือความหนาแน่นของน้ า และจงหาแรงตึงเชือก T (IJSO รอบ 2 ปี 56)

 Mg 
 3 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 161

33. ประจุขนาดเท่ากัน q จัดเรี ยงตัวอยูท่ ี่มุมของหกเหลี่ยมด้านเท่า


ยาว a ดังรู ป โดยมีประจุบวก 5 ตัวและประจุลบ 1 ตัว จงหา
สนามไฟฟ้าและศักย์ไฟฟ้าที่เกิดจากประจุชุดนี้ที่จุด O ให้ k
เป็ นค่าคงตัวของแรงระหว่างประจุ
(IJSO รอบ 2 ปี 56)

 4 Kq , 2 Kq 
 a a 2 

34. สารของแข็งมวล m ถูกทาให้เปลี่ยนเป็ นของเหลวที่อุณหภูมิคงตัวโดยใช้แหล่งจ่ายไฟศักย์คงที่ V0


และลวดความร้อนที่มีความต้านทานคงตัว R ใช้เวลาทั้งหมด t ให้การหลอมสารจนเป็ นของเหลวหมด
ถ้าประสิ ทธิภาพในการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าไปเป็ นพลังงานความร้อนที่หลอมสารเท่ากับ 75% จงหา
ค่าความร้อนแฝงจาเพาะของการหลอมเหลวนี้ (IJSO รอบ 2 ปี 56)

 3VO 2 t 
 
 4 mR 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 162

35. การหาความหนาแน่นของวัตถุโดยไม่ตอ้ งหามวลและปริ มาตร (IJSO รอบ 2 ปี 57)


รู ปด้านล่างแสดงคานสม่าเสมอและที่ถูกผูกไว้ตรงกึ่งกลางคานพอดี ด้านซ้ายของคานมีวตั ถุ B
แขวนไว้ที่ระยะห่าง b จากกึ่งกลางคาน
ด้านขวาของคานแขวนวัตถุ A ที่ตอ้ งการทราบความหนาแน่นไว้ พบว่าคานอยูใ่ นสภาพสมดุลเมื่อ
วัตถุ A อยูห่ ่างจากกึ่งกลางคานเป็ นระยะ x ดังรู ป ( กาหนดให้วตั ถุ A มีความหนาแน่นมากกว่าน้ า )

เมื่อนาหลักการเรื่ องแรงลอยตัวมาประยุกต์ใช้ พบว่าถ้าวัตถุ A อยูใ่ นน้ าทั้งก้อน คานจะอยูส่ ภาพสมดุล


เมื่อวัตถุ A อยูห่ ่างจากกึ่งกลางคานเป็ นระยะ y โดยที่วตั ถุ B ยังคงอยูท่ ี่ตาแหน่งเดิม

หมายเหตุ A มีความหนาแน่นมากกว่าน้ า
( ก ) แรงลอยตัวที่น้ ากระทาต่อวัตถุ A มีขนาดเป็ นกี่เท่าของน้ าหนักของวัตถุ A ( เขียนคาตอบในรู ป
ของ x และ y เท่านั้น )

Y − X 
 Y 

( ข ) จงหาความหนาแน่นของวัตถุ A เขียนคาตอบในรู ปของ x , y และความหนาแน่นของน้ า water

เท่านั้น

 Y − X  
 Y ρw 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 163

36. ในเครื่ องวัดมวลอนุภาคแบบหนึ่ง อนุภาคมวล m ประจุ +q ถูกปล่อยจากแผ่นล่างของแผ่นตัวนาขนาน


L
ซึ่งอยูห่ ่างกัน 2
และมีความต่างศักย์จ่ายให้ระหว่างแผ่นทั้งสอง V ดังรู ป อนุภาคมีความเร็ วเริ่ มต้น u
มีทิศในแนวราบที่ตาแหน่ง x = 0 และไปชนแผ่นบนที่ตาแหน่ง x = L โดยที่อนุภาคนี้ตกอยูภ่ ายใต้
อิทธิพลของสนามโน้มถ่วงโลก g ด้วย จงระบุเครื่ องหมายของ V และหามวล m ในรู ปตัวแปรที่
กาหนดให้ (IJSO รอบ 2 ปี 56)

 2 qV 
 − q , m =
 u 2 + gl 

37. ประจุ +3.0 nC เหมือนกันสองประจุ วางอยูท่ ี่ฐานของรู ปสามเหลี่ยมหน้าจัว่ ซึ่งอยูห่ ่างกันเป็ นระยะ 2.0
m ดังรู ป จงหาว่าที่จุด P ซึ่งอยูห่ ่างจากประจุท้งั สองเป็ นระยะ 6.0 m เท่ากัน จะมีขนาดของสนามไฟฟ้า
เป็ นเท่าใด (IJSO รอบ 2 ปี 57)

 35 
 4 
 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 164

38. พิจารณาวงจรซึ่งประกอบด้วยแบตเตอรี่ ( ขนาด ε โวลต์ และมีไม่มีความต้านทานภายใน )


และตัวต้านทาน 3 ตัว ( R1 , R2 และ R3 ) ซึ่งต่อกันดังรู ป (IJSO รอบ 2 ปี 57)

( ก ) กระแสไฟฟ้าที่ผา่ นตัวต้านทาน R2 มีค่าเป็ นกี่เท่าของกระแสไฟฟ้าที่ผา่ นตัวต้านทาน R1


( ตอบในรู ปของตัวแปรที่โจทย์กาหนดให้เท่านั้น )

 R3 
 
 R2 + R3 
( ข ) ถ้าเพิ่มความต้านทานของ R2 ขึ้นเล็กน้อย ( เช่น 1% ของค่าเดิม ) จะทาให้กระแสไฟฟ้าที่ผา่ น
R1 มากขึ้นหรื อน้อยลงหรื อเท่าเดิม เพราะเหตุใด

 เพิ่มขึน้

( ค ) ถ้าเพิ่มความต้านทานของ R2 ขึ้นเล็กน้อย ( เช่น 1% ของค่าเดิม ) จะทาให้กระแสไฟฟ้าที่ผา่ น


R2 มากขึ้นหรื อน้อยลงหรื อเท่าเดิม เพราะเหตุใด

ลดลง
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 165

39. ของเหลวชนิดหนึ่งปริ มาตรจะเพิ่มขึ้น 0.02% ของปริ มาตรเดิม ทุกๆ อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น 1˚C


J
และของเหลวชนิดนี้มีค่าความร้อนจาเพาะ 600 kg  K คงตัวช่วงที่มีสถานะเป็ นของเหลว ของเหลวนี้
จานวน 0.500 kg ปริ มาตร 800 cm3 และมีอุณหภูมิ 30 ˚C ถูกให้ความร้อนจากเตาไฟฟ้าขนาด 100 W
เป็ นเวลา 30 s โดยพลังงานไฟฟ้า 50% กลายเป็ นความร้อนที่ของเหลวได้รับ พบว่าของเหลวไม่มีการ
เปลี่ยนสถานะ จงประมาณว่าของเหลวนี้จะมีปริ มาตรเพิม่ ขึ้นเท่าใด (IJSO รอบ 2 ปี 57)

 0.8cm 3 

40. ประจุ +4q และประจุ –2q ถูกตรึ งไว้และอยูห่ ่างกันเป็ นระยะ 3 และพบว่าประจุจุด +q กาลัง
เคลื่อนที่ผา่ นจุด A ไปทางขวาด้วยอัตราเร็ว v0 จงหาว่าเมื่อประจุจุด +q เคลื่อนไปถึงจุด B ซึ่งห่าง
จากจุด A ไปทางขวาเป็ นระยะ ประจุจุด +q จะมีอตั ราเร็ วเท่าใด (IJSO รอบ 2 ปี 58)

 2 6Kq 2 
 v0 + 
 ml 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 166

41. พิจารณาวงจรซึ่งประกอบด้วยตัวต้านทาน 5 ตัว ขนาด 1,2,4,5 และ 6 Ω ต่อกันดังรู ป (IJSO รอบ 2 ปี


58)

(ก) ถ้านาโอห์มมิเตอร์มาต่อระหว่างจุด A กับ B, B กับ C, C กับ D, D กับ A และ A กับ C คู่ใด ในห้าคู่น้ ี
จะให้ค่าความต้านทานน้อยที่สุด

 BกับC 

(ข) ค่าความต้านทานในข้อ (ก) มีค่าเท่ากับ

 16  
 19 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 167

42. คาน PQ ถูกแขวนด้วยเส้นด้ายที่จุด O ทาให้วางตัวในแนวระดับ ( แสดงว่าทาจากวัสดุที่มีมวลไม่


สม่าเสมอ ) เมื่อแขวนลูกตุม้ A ที่ตาแหน่งด้านซ้ายของจุด O และห่างจากจุก O เป็ นระยะ x0 และ
แขวนลูกตุม้ B ที่ปลาย Q โดยที่เส้นด้ายที่ใช้แขวนลูกตุม้ ทั้งสองเบาและบางมาก ทาให้คาน PQ ยัง
วางตัวในแนวระดับอยูไ่ ด้จากนั้นทาให้ลูกตุม้ B ทั้งลูกจมอยูใ่ นของเหลว พบว่าต้องเปลี่ยนจุดแขวน
ลูกตุม้ A เป็ นตาแหน่งที่ห่างจากจุด O เป็ นระยะ x’ คานจึงจะวางตัวในแนวระดับได้ดงั เดิม ถ้าใช้
ของเหลวในการทดลองนี้สองชนิดซึ่งมีความหนาแน่น 1 และ 2 จะได้ x’ เท่ากับ x1 และ x2
1
ตามลาดับ จะได้วา่ อัตราส่วน 2
มีค่าเท่ากับ (IJSO รอบ 2 ปี 59)

 ρ1 X 0− X 1 
 = 
 ρ2 X0− X2 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 168

43. ในฤดูหนาวของประเทศเขตหนาว บริ เวณผิวของน้ าในสระที่มีอุณหภูมิ 0˚C กาลังกลายตัวเป็ น


น้ าแข็ง ผิวบนของชั้นน้ าแข็งมีอุณหภูมิคงตัวต่ากว่าอุณหภูมิของน้ าในสระอยู่ TS ˚C จงหาอัตราการ
เพิ่มความหนาของชั้นน้ าแข็งขณะที่ช้ นั น้ าแข็งมีความหนา h กาหนดให้ น้ าแข็งมีความหนาแน่น 

มีสมั ประสิ ทธิ์การนาความร้อน k และความร้อนแฝงต่อมวลของการแข็งตัวเป็ นน้ าแข็งของน้ าเท่ากับ L


หมายเหตุ อัตราการนาความร้อน ( ปริ มาณความร้อนต่อเวลา ) ระหว่างสองบริ เวณที่มีอุณหภูมิแตกต่าง
กันผ่านพื้นที่หน้าตัดหนึ่งๆ จะแปรผันโดยตรงกับขนาดของพื้นที่หน้าตัดนั้นและผลต่างอุณหภูมิของสอง
บริ เวณและแปรผกผันกับระยะห่างระหว่างสองบริ เวณนั้นโดยมีค่าคงที่ของการแปรผันเรี ยกสัมประสิ ทธิ์
การนาความร้อน (IJSO รอบ 2 ปี 59)

 KTS 
 ρLh

44. ประจุบวกขนาด Q และ 4Q ถูกตรึ งไว้บนแกน x ที่ตาแหน่ง x = 0 และ x = a ตามลาดับ


จะต้องวางประจุลบขนาด -q ที่ตาแหน่งใดบนแกน x จึงจะทาให้แรงสุ ทธิที่กระทากับประจุ –q
เป็ นศูนย์ (IJSO รอบ 2 ปี 59)

a
 3 
ตะลุยโจทย์ ฟิสิ กส์ IJSO รอบ 2 โดย อ.จิรัฐ
0819361826 , 0909577821 หน้ า 169

45. ตัวต้าน R1 , R2 , R3 , R4 , R5 และ R6 ขนาด 1 Ω เท่ากันทุกตัว ต่อกันอยูร่ ะหว่างจุด a และจุด b


ดังรู ป และมีกระแสไฟฟ้าขนาด 1 A ไหลผ่านตัวต้านทาน R1 (IJSO รอบ 2 ปี 59)

( ก ) จงเติมตารางสรุ ปขนาดของกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านและความต่างศักย์ตกคร่ อมความต้านทาน


แต่ละตัว
ตัวต้านทาน กระแสที่ไหลผ่าน ( A ) ความต่างศักย์ตกคร่ อม ( V )

R1

R2

R3

R4

R5

R6

( ข ) ความต่างศักย์ตกคร่ อมระหว่างจุด a และจุด b มีคา่ เท่ากับ ................. V 13v 

( ค ) ความต้านทานรวมระหว่างจุด a และจุด b มีค่าเท่ากับ ................. Ω  13  


 8 
ข้อสอบวิ
ส ทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึ
ธ กษาตอนนต้น
เพื่อคัดเลือกผูแ้ ทนปประเทศไทยไปปแข่งขันวิทยาศาสตร์
ย โอลิมปิ
ม กระหว่างปประเทศ
ระดับมัธยมศึกษาตอนตต้น ครั้งที่ 155 (รอบที่ 2) วิชาฟิสิกส์
The Fifteenth
F mpiad (15thh IJSO)
Innternationaal Junior Sccience Olym

ชื่อ-นาามสกุล ............................................................ โรรงเรียน ...........................................................

เลขปรระจําตัวผู้สอบ ............................................... ห้องสอบ ..........................................................

วันเสาร์ร์ที่ 17 มีนาคม 2561 เวลา 10.10 – 11.40 น.

คําชี้แจจง
 ข้้อสอบมี 2 ตออนๆละ 4 ข้อ รวม 8 ข้อ จจํานวน 9 หน้น้า (รวมหน้านี้ด้วย)
 แแต่ละตอนมีคะแนน
ะ 50 คะแแนน รวมคะแแนนเต็ม 100 คะแนน
 ใหห้นักเรียนตอบบคําถามในช่องสี
อ ่เหลี่ยมทีใ่ หห้ไว้ในแต่ละข้ข้อ โดยให้ทดบบริเวณที่ว่างอือื่ นนอกกรอบสีสี่เหลี่ยม
 ไมม่อนุญาตให้ใช้ชเครื่องคิดเลขขทุกชนิด
ชื่ อ-สกุล _________________________เลขปประจําตัวสอบบ _________________ ห้ องสอบ__________

ตอนที่ 1
ข้อ 1 แทท่งวัตถุ OA มีมวลกระจายอย่างสม่ําเสมมอและมีความมยาวเท่ากับ แท่งวัตถุนี้ สามารถหมุนได้ ไ อย่าง
ลื่นรอบจจุด O เมื่อนําแท่
า งวัตถุนี้ไปจุ่มน้ําพบว่าขขณะที่ปลาย O อยู่เหนือผิวน้ําเป็นระยะททางเท่ากับ และ
ปลาย A อยู่ต่ํากว่าผิวน้
ว ําดังภาพ แท่งวัตถุจะเอียยงทํามุม ค่าหนึ่งกับแนววดิ่ง กําหนดให้ห้แท่งวัตถุมีความ

หนาแน่นนเท่ากับ และน้ํามีความหนาแน่นเท่ท่ากับ

จงหามุม ที่แท่งวัตถุถทํากับแนวดิง่

คําตตอบ

IJSO2018 รอบที่ 2 หหน้าที่ 2


ชื่ อ-สกุล _________________________เลขปประจําตัวสอบบ _________________ ห้ องสอบ__________

ข้อ 2 นําาตัวต้านทาน 6 ตัวขนาด 1 2 3 4 5 แลละ 6 โอห์ม มาาต่อกันดังภาพพ

วัดความต้านทานระหหว่าง AB ได้ 125/15


1 แ ระหว่าง BC ได้ 99/155 Ω จง
Ω ระะหว่าง AC ได้ 104/15 Ω และ
หาว่าตัวต้านทานแต่ละตั
ล วมีค่าความมต้านทานเท่าาใด

คําตตอบ _________ Ω
_________ Ω
_________ Ω
_________ Ω
_________ Ω
_________ Ω

IJSO2018 รอบที่ 2 หหน้าที่ 3


ชื่ อ-สกุล _________________________เลขปประจําตัวสอบบ _________________ ห้ องสอบ__________

ข้อ 3 ถ้ววยอะลูมิเนียมมวล
ม 200 g บรรจุน้ํามวล 100 g จากนั้นให้ความร้อนแก่ อ ถ้วยนี้ด้ วยอัตราคงที่ 30 J/s
ทําให้น้ําภายในถ้วยมีอุอณหภูมิสูงขันตามภาพ
น้ เส้น้ ตรงแสดงเส้ส้นแนวโน้มขอองข้อมูล

สมมติให้น้ําและถ้วยออะลูมิเนียมอยูในสภาพสมดุ
ใ่ ดุลตลอดเวลาแและไม่มกี ารสูสูญเสียพลังงานน กําหนดให้น้นํามีค่า
ความจุคความร้อนจําเพพาะเท่ากับ 42200 J/kg. K จงคํานวณหาาค่าความจุความร้
ว อนจําเพาาะของอะลูมเนี ิเ ยม

คําตตอบ ความจุความรร้อนจําเพาะขของอะลูมิเนียม = ___________________ J/kg. K

IJSO2018 รอบที่ 2 หหน้าที่ 4


ชื่ อ-สกุล _______________________เลขประจําตัวสอบ ________________ ห้ องสอบ_________

ข้อ 4 วางวัตถุห่างจากฉากเป็นระยะทาง 50 เซนติเมตร ต้องการทําให้เกิดภาพของวัตถุที่ชัดเจนบนฉากโดย


ใช้เลนส์นูนบางที่มีความยาวโฟกัส 8 เซนติเมตร และต้องการให้ภาพมีกําลังขยายมากที่สุด จะต้องวางเลนส์ไว้
ห่างจากฉากกี่เซนติเมตร

คําตอบ วางเลนส์ห่างจากฉากเป็นระยะทาง = ________________ เซนติเมตร

IJSO2018 รอบที่ 2 หน้าที่ 5


ชื่ อ-สกุล _________________________เลขปประจําตัวสอบบ _________________ ห้ องสอบ__________

ตอนที่ 2
ข้อ 5 ฉาายลําแสงเข้าไปยัไ งปริซึมพลลาสติกทรงสี่เหหลี่ยม ABCD ทางด้าน AB ณ ตําแหน่งซึ ่งห่างจากมุม B เป็น
ระยะ และทํามุม กับเส้นแนววฉาก ลําแสงจจะตกกระทบด้าน BC ณ ตําแหน่งซึ่งห่างงจากมุม B เป็ป็นระยะ
โดยทีที่ลําแสงทัง้ หมดอยู่บนระนาาบเดียวกันกับบระนาบ ABCD ของแท่งปริริซึม

(ก) ถ้าขณะที่ ลําแสงจะหั


แ กเหอออกมาจากด้าน BC ที่ ดรรชชนีหักเหแสง ของ
ปริซึมพลาสติติกเทียบกับอาากาศเท่ากับเทท่าใด
(ข) ถ้าปรับมุม ใหม่ถึงค่าหนึ่ง ลําแสงจะเริ่มสะท้อนกลลับหมดภายในปริซึมทีด่ ้าน BC ห่างจากกมุม B
เป็นระยะ เท่ากับเท่าใด ใ

คําตตอบ
(ก)

(ข)

IJSO2018 รอบที่ 2 หหน้าที่ 6


ชื่ อ-สกุล _________________________เลขปประจําตัวสอบบ _________________ ห้ องสอบ__________

ข้อ 6 จัตตุรัส ABCD ยาวด้านละ เป็นบริเวณทีที่มีสนามไฟฟ้าคงตั า วขนาด ทิศขนานกักับด้าน CD ตามภาพ


อนุภาคมมวล มีประจุ เข้าสู่บริเวณจัตุรสั ABCD ที่จดกึ
ดุ ่งกลางด้าน AB ด้วยควา มเร็วขนาด ในทิศ
ขนานกับบด้าน BC

(ก) จงหาค่าของ ซึ่งน้อยทีสุส่ ด ( ) ที่ทําให้อนุภาคนี้เคลื่อนที่ออกจากจัตุรัส ABBCD ทางด้าน CD


(ข) ถ้า อนุภาคนีจะสามารถเคลื
้จ ลือ่ นที่ออกจากจัตุรัส ABCDD ทางด้านใดไได้บ้าง
(ค) ถ้า อนุภาคนีจะสามารถเคลื
้จ ลือ่ นที่ออกจากจัตุรัส ABCDD ทางด้านใดไได้บ้าง

คําตตอบ
(ก)

(ข) เลือกด้านของงจัตุรัส ABCDD ที่อนุภาคนีจะสามารถเคลื


จ้ ลื่อนที่ออกไปไได้ ถ้า
[ ] ด้าน AB [ ] ด้าน BC [ ] ด้าน CD [ ] ด้าน AD

(ค) เลือกด้านของงจัตุรัส ABCDD ที่อนุภาคนีจะสามารถเคลื


จ้ ลื่อนที่ออกไปไได้ ถ้า
[ ] ด้าน AB [ ] ด้าน BC [ ] ด้าน CD [ ] ด้าน AD

IJSO2018 รอบที่ 2 หหน้าที่ 7


ชื่ อ-สกุล _________________________เลขปประจําตัวสอบบ _________________ ห้ องสอบ__________

ข้อ 7 ก้ออนมวลแขวนด้วยเชือกเบายาว ที่ปลาายอีกข้างยึดติดกับเพดานทีที่จุด A ถูกปล่ อยให้เริ่มเคลือนที ่ ่จาก


หยุดนิ่งเมื่อเส้นเชือกททํามุม กับแนวดิบ ่ง ที่จุด B ใต้จุด A เปป็นระยะ มีตะปูตอกติดไไว้เพื่อขวางการไกว
ของเส้นเเชือก ถ้าขณะะที่ก้อนมวลเริมเคลื่ ่อนที่ เชืชือกบริเวณทีติต่ ดิ กับก้อนมวลลมีความตึง เมื่อก้อนมมวล
เคลื่อนทีที่ไปถึงจุดสูงสุดอี
ด กฝั่งหนึ่งขอองเส้นแนวดิ่ง

(ก) เชือกบริเวณทที่ติดกับก้อนมมวลทํามุมเท่าาใดกับแนวดิ่ง
(ข) เชือกบริเวณทที่ติดกับก้อนมมวลมีความตึงงเท่าใด

คําตตอบ
(ก) เชือกบริ
ก เวณที่ติดกับก้อนมวลทํํามุมเท่าใดกับแนวดิ
บ ่ง

(ข) เชือกบริ
ก เวณที่ติดกับก้อนมวลมีความตึง

IJSO2018 รอบที่ 2 หหน้าที่ 8


ชื่ อ-สกุล _________________________เลขปประจําตัวสอบบ _________________ ห้ องสอบ__________

ข้อ 8 แทท่งโลหะยาว ที่อุณหภูมิม จะมีควาามยาวเพิ่มขึน้ ∆ ∆ เมื่อออุณหภูมิเพิ่มขึข้นเป็น


∆ โดยที่ คือสัมประสิทธิ ท ์การขยายตัตัวทางความร้อนเชิ อ งเส้นซึ่งมีมค่าขึ้นกับชนินิดของวัสดุ ภาายใน
อุปกรณ์ททางไฟฟ้าชิ้นหนึ
ห ่ง ปลายน็อตเกลี
อ ยวสองตตัวซึ่งทําจากวัวัสดุต่างชนิดกันและถูกขันติ ดอยู่กับชิ้นส่วนคน
ละด้านกักันของอุปกรณ ณ์เกือบจะสัมผัผสกันดังภาพ ที่อุณหภูมิหอง ้อ น็อตเกกลียวตัวที่ 1 มี ยาว
ส่วนตัวที่ 2 มี ยาว ปลายยทั้งสองห่างกััน ทั้งคูมีม่ ศี ักย์ไฟฟ้าที่แแตกต่างกัน ถ้า
คือระยะระหหว่างปลายน็อตเกลี
อ ยวทั้งคู่ททีี่นอ้ ยที่สุดซึ่งสามารถใช้งานอุปกรณ์นี้ได้ อย่างปลอดภภัย
อุณหภูมมิิสูงสุด ทีส่ ามารถใใช้งานอุปกรณ์
ณ์ไฟฟ้านี้ได้อย่ยางปลอดภัยเทท่ากับเท่าใด

คําตตอบ

IJSO2018 รอบที่ 2 หหน้าที่ 9


ข้อสอบวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
เพื่อคัดเลือกผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 16 (รอบที่ 2) วิชาฟิสิกส์
The Sixteenth International Junior Science Olympiad (16th IJSO)

ชื่อ-นามสกุล ......................................................... โรงเรียน ..........................................................

เลขประจาตัวผู้สอบ .............................................. ห้องสอบ .........................................................

วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 10.10 – 11.40 น.

คาชี้แจง
ข้อสอบมีทั้งหมด 8 ข้อ จำนวน 9 หน้ำ (รวมหน้ำนี้ด้วย)
แต่ละข้อมีคะแนนเท่ำกัน โดยมีคะแนนเต็มรวม 100 คะแนน
ให้ตอบคำถำมในบริเวณที่กำหนดให้ในแต่ละข้อ โดยให้ทดบริเวณที่ว่ำงอื่น
ไม่อนุญำตให้ใช้เครื่องคิดเลขทุกชนิด
ชื่ อ-สกุล _______________________เลขประจำตัวสอบ ________________ ห้ องสอบ_________

ข้อ 1 อนุภำคมวล m เคลื่อนที่ในแนวแกน x ด้วยควำมเร็วดังแสดงในกรำฟ กำหนดให้ค่ำบวกแสดงถึงกำร


เคลื่อนที่ไปทิศ  x

(1.1) ตลอดช่วงเวลำ 20 วินำที ของกำรเคลื่อนที่ อนุภำคนี้เคลื่อนที่ไปได้ระยะทำงเท่ำใด


(1.2) จงเขียนกรำฟแสดงควำมสัมพันธ์ของตำแหน่ง (เมตร) กับเวลำ (วินำที) ตลอดช่วงเวลำ 20 วินำที ของ
กำรเคลื่อนที่ในกรำฟข้ำงล่ำง โดยใช้ตำแหน่งที่เวลำ 0 วินำทีเป็นจุดอ้ำงอิง
(1.3) หลังจำกเวลำ 20 วินำที อนุภำคต้องเคลื่อนที่ด้วยควำมเร่งคงตัวเท่ำใด จึงจะกลับถึงจุดเริ่มต้นอีกครั้งที่
เวลำ 30 วินำที และขณะเคลื่อนที่ผ่ำนจุดเริ่มต้น อนุภำคมีควำมเร็วเท่ำใด

คาตอบ
(1.1) ____________________________ เมตร
(1.2)

(1.3) _________________________ เมตร/วินำที2 และ _________________________ เมตร/วินำที

หน้าที่ 2
ชื่ อ-สกุล _______________________เลขประจำตัวสอบ ________________ ห้ องสอบ_________

ข้อ 2 เชือกยาวเส้นหนึ่งมีความหนาแน่นของมวลต่อความยาวคงที่ ปลาย A ของเชือกด้านหนึ่งถูกผูกตรึง


ยึดแน่นไว้กับเสา ส่วนปลาย B อีกด้านหนึ่งถูกดึงในแนวระดับด้วยแรงขนาด F นิวตัน ทาให้เชือกมีรูปร่างดัง
ภาพ กาหนดให้ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงโลกมีขนาด g เมตร/วินำที2

(2.1) ระบุตาแหน่งที่ควรจะเป็นจุดศูนย์กลางมวลของเชือกในภาพด้านล่าง
(2.2) มวลของเชือกเป็นเท่าใด (ตอบในรูปของ F และ g )
หมายเหตุ รูปด้านล่างเป็นรูปของเชือกที่ถูกวางในพิกัดขนาด 148 ตารางหน่วย นักเรียนสามารถใช้ในการ
หาคาตอบได้

คาตอบ
(2.1) จุดศูนย์มวลอยู่ที่ตำแหน่ง

(2.2) ____________________________ กิโลกรัม

หน้าที่ 3
ชื่ อ-สกุล _______________________เลขประจำตัวสอบ ________________ ห้ องสอบ_________

ข้อ 3 ผู้เล่นบันจีจัมพ์กระโดดจากฐานที่มีความสูง H เมตร เหนือระดับนาในทะเลสาบ ข้อเท้าของเขาถูกมัด


แน่นด้วยเชือกยืดหยุ่นที่สามารถยืดได้ตามกฏของฮุค (Hooke’s law) อีกปลายหนึ่งของเชือกผูกแน่นไว้กับ
ฐานที่เขากระโดดลงมา เมื่อเขากระโดดจากหยุดนิ่งลงมาในแนวดิ่งจนเชือกตึง เชือกจะยืดออกจนหัวของเขา
สัมผัสผิวนาพอดี แต่ตาแหน่งสมดุลที่เขาห้อยหัวอยู่จะสูงจากผิวนา h เมตร ให้พิจารณาว่าผู้เล่นบันจีจัมพ์
เป็นจุดมวลที่อยู่ปลายเชือก กาหนดให้ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงโลกมีขนาด g เมตร/วินำที2
3.1 ผู้เล่นบันจีจัมพ์ควรเลือกเชือกที่มีความยาวเท่าไร
3.2 ความเร็วสูงสุดของผู้เล่นบันจีจัมพ์มีขนาดเท่าไร
3.3 ความเร่งสูงสุดของผู้เล่นบันจีจัมพ์มีขนาดเท่าไร

คาตอบ
(3.1) ____________________________ เมตร

(3.2) ____________________________ เมตร/วินำที

(3.3) ____________________________ เมตร/วินำที2

หน้าที่ 4
ชื่ อ-สกุล _______________________เลขประจำตัวสอบ ________________ ห้ องสอบ_________

ข้อ 4 อนุภำคมวล M และ m ซึ่งมีประจุ Q เท่ำกัน โดยที่ M   m ถูกตรึงไว้ที่มุมของรูปสี่เหลี่ยม


จัตุรัสที่มีด้ำนยำว a เมตร ดังภำพ หลังจากนัน อนุภาคทัง 4 ถูกปล่อยให้เป็นอิสระพร้อมกัน กำหนดให้ ค่ำ
คงตัวของคูลอมบ์เท่ำกับ k และไม่ต้องคิดแรงดึงดูดระหว่ำงมวล

m a
M

a a

M a m

(4.1) จงหาอัตราส่วนความเร่งของอนุภาคมวล m ต่อความเร่งของอนุภาคมวล M ทันทีหลังจากปล่อยให้


ประจุเป็นอิสระ
(4.2) เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ห่างจากกันมากแล้ว พบว่า อนุภาคมวล M มีอัตราเร็ว u ขณะนันอนุภาคมวล
m มีอัตราเร็วเท่าไร

คาตอบ

(4.1)

(4.2)

หน้าที่ 5
ชื่ อ-สกุล _______________________เลขประจำตัวสอบ ________________ ห้ องสอบ_________

ข้อ 5 น้ำมันชนิดหนึ่ง (ควำมหนำแน่นน้อยกว่ำน้ำ) ลอยอยู่บนผิวน้ำด้วยควำมหนำ d เซนติเมตร ถ้ำยิงแสง


เลเซอร์จำกใต้ผิวน้ำผ่ำนน้ำมันด้วยมุม  i ดังรูป กาหนดให้ ดรรชนีหักเหแสงของอำกำศ na  1.00
ดรรชนีหักเหแสงของน้ำ nw  1.33 และ ดรรชนีหักเหแสงของน้ำมัน no  1.47

(5.1) การสะท้อนกลับหมดเกิดขึนรอยต่อผิวใด
(5.2) ให้คานวณหามุม  i ที่ทาให้เกิดการสะท้อนกลับหมด
(5.3) สมมติว่าไม่เกิดการสะท้อนกลับหมด และชันของนามันมีค่าดัชนีการหักเหของแสงไม่คงตัว โดยเพิ่มตาม
y
ตาแหน่ง y ของชันนามันตามสมการ noil  1.42  0.05 เมื่อ 0  y  d ในสถานการณ์นี มุมหัก
d
เหของแสงเลเซอร์ที่ชันอากาศขึนอยู่กับความหนาของชันนามันหรือไม่ อย่างไร

คาตอบ
(5.1) ____________________________

(5.2) ____________________________

(5.3)

หน้าที่ 6
ชื่ อ-สกุล _______________________เลขประจำตัวสอบ ________________ ห้ องสอบ_________

ข้อ 6 ทุ่นทรงกลมทาจากวัสดุที่มีความหนาแน่น  ใจกลางของทุ่นกลวงเป็นทรงกลม สมมติว่าต้องการทาทุ่น


ให้มีมวล m และลอยอยู่บริเวณผิวนาโดยมีครึ่งหนึ่งของทุ่นอยู่พ้นผิวนา กาหนดให้นามีความหนาแน่น  w
จงหา

(6.1) รัศมีขอบนอกของทุ่น
(6.2) อัตราส่วนรัศมีขอบในต่อรัศมีขอบนอกของทุ่น

คาตอบ

(6.1)

(6.2)

หน้าที่ 7
ชื่ อ-สกุล _______________________เลขประจำตัวสอบ ________________ ห้ องสอบ_________

ข้อ 7 ตัวต้ำนทำน 5 ตัว (ควำมต้ำนทำน R, R, R, R และ  R ) ต่อเป็นวงจรด้วยสำยไฟที่มีควำม


ต้ำนทำนต่ำมำก ดังภำพ ระหว่ำงจุด A และ จุด B มีควำมต้ำนทำน 8  และระหว่ำงจุด C และ จุด D มี
ควำมต้ำนทำน 48  เมื่อต่อแบตเตอรีสร้ำงควำมต่ำงศักย์ 12 V ระหว่ำงจุด A และ จุด B พบว่ำ ควำม
ต่ำงศักย์ระหว่ำงจุด C และ จุด D (ซึ่งวัดด้วยมิเตอร์ที่มีควำมต้ำนทำนสูงมำก) มีขนำด 2 V จงหำ  , 
และ R

คาตอบ

หน้าที่ 8
ชื่ อ-สกุล _______________________เลขประจำตัวสอบ ________________ ห้ องสอบ_________

ข้อ 8 วำงวัตถุสูง 3.0 เซนติเมตร ไว้บริเวณแนวแกนของเลนส์บำงชิ้นหนึ่ง พบว่ำเกิดภำพของวัตถุสูง 2.0


เซนติเมตร บนฉำกห่ำงจำกวัตถุเป็นระยะ 40.0 เซนติเมตร
(8.1) เลนส์บางชินนีเป็นชนิดใด
(8.2) เลนส์บางอยู่ห่างจากวัตถุเป็นระยะเท่าใด
(8.3) เลนส์บางมีความยาวโฟกัสเท่าใด

คาตอบ
(8.1) ____________________________

(8.2) ____________________________ เซนติเมตร

(8.3) ____________________________ เซนติเมตร

หน้าที่ 9

You might also like