Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 32

JorJit 17

ค่ายเจาะจิต จุฬาฯ jorjit.cu


ลงชื่อ............................................................
ผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์
Your perception
may not be my reality

Aporva Kala
จิตวิทยาคืออะไร?
Psychology ซึ่งแปลว่าจิตวิทยานั้น มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก สามารถถอด
ออกมาได้เป็ นคําว่า psyche ที่แปลว่า จิตใจ และคําว่า logos ที่แปลว่า ศาสตร์
รวมกันเป็ นคําว่า "Psychology" หรือ "จิตวิทยา"

จิตวิทยา (น.)
จึงเป็ นศาสตร์ที่ศึกษาด้านความสัมพันธ์ระหว่างร่างกายกับจิตใจที่ส่งผลต่อการใช้ชีวิต
ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์เพื่ออธิบาย ทํานาย และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ดียิ่งขึ้น

รู้หรือไม่ การศึกษาค้นคว้าทางด้านจิตวิทยานั้นถูกบันทึกอยู่ใน
ประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนาน และถูกนำมาปรับใช้กับศาสตร์จิตวิทยา
ยุคปั จจุบัน โดยในสมัยก่อนจิตวิทยาจะถูกศึกษาในมุมมองเกี่ยวกับ
ความเชื่อ ปรัชญา และศาสนา แต่ในปั จจุบัน จิตวิทยาถูกศึกษาค้นคว้า
อย่างเป็ นระบบแบบแผนทําให้มีนักจิตวิทยากําเนิดขึ้นมาหลายคน
เช่น วิลเฮล์ม วุนด์ท (Wilhelm Wundt) ผู้ซึ่งเป็ นคนแรกที่นิยามตัวเองว่า
“นักจิตวิทยา” และได้เริ่มทําการทดลองจนกลายเป็ นจิตวิทยาพัฒนาการ

แน่นอนว่าศาสตร์จิตวิทยายังมีเรื่องราวอีกมากมายที่ยังไม่ถูกเปิ ดเผย
และเรื่องราวเหล่านั้นกําลังรอให้คุณไปสํารวจอยู่ในค่ําคืนนี้
e was not built in a day
psych .

คณะจิตวิทยา
ไม่ได้สร้างเสร็จภายในวันเดียว
คณะจิตวิทยา แรกเริ่มเดิมทีเป็ นหนึ่งในรายวิชาของแผนกครุศาสตร์
คณะอักษรศาสตร์ จากนั้นใน พ.ศ. 2500 ก็ได้มีการสถาปนาคณะครุศาสตร์ขึ้นพร้อม
บรรจุวิชาจิตวิทยาอยู่ในการดูแลของแผนกวิจัยการศึกษา
ท้ายที่สุด ณ วันที่ 7 กรกฏาคม พ.ศ. 2539 คณะจิตวิทยาก็ได้ถูกจัดตั้งขึ้นมา
ในฐานะ คณะอันดับที่ 18 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตามประกาศราชกิจจานุเบกษา ณ วันที่ 11 กรกฏาคม พ.ศ. 2539

ในปั จจุบัน คณะจิตวิทยาตั้งอยู่ที่อาคารบรมราชชนนีศรีศตพรรษ ชั้น 5- 8


ถนนพระรามที่ 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

จาก สู่
หนึ่ง อนันต์
จิตวิทยา จุฬาฯ มุ่งเน้นการศึกษาวิจัยเพื่อความเข้าใจเรื่องพฤติกรรมของ มนุษย์
อันนําไปสู่แนวทางการอธิบาย บรรยาย ทํานาย และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้สามารถ
ดํารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขอย่างยั่งยืน โดยเปิ ดสอนในระดับปริญญา
บัณฑิต และระดับบัณฑิตในสาขาต่างๆ อาทิ จิตวิทยาการปรึกษา จิตวิทยาสังคม
จิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ
รวมทั้งเปิ ดสอน หลักสูตรนานาชาติ The Joint International Psychology
Program (JIPP) ในระดับปริญญาบัณฑิตอีกด้วย
คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นั้นมีความพิเศษอยู่ตรงที่ในระดับ
ปริญญาตรีจะยังไม่มีการแบ่งสาขา แต่จะเริ่มแบ่งสาขาในระดับปริญญาโท

หลักสูตรปริญญาตรี
แบ่งออกเป็ น 2 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรปกติ และหลักสูตรนานาชาติ

หลักสูตรปกติ หรือที่พวกเราเรียกติดปากกันว่า “ภาคไทย” จะเปิ ดรับสมัครตามกําหนด


การของ ทปอ. หรือเข้าในระบบ TCAS โดยในระยะเวลา 4 ปี เราจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ
สาขาวิชาต่าง ๆ ของจิตวิทยา เช่น จิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาสังคม จิตวิทยาปริชาน
ฯลฯ และได้เรียนรู้ระเบียบวิจัยทางจิตวิทยา เพื่อเตรียมความพร้อม สําหรับผู้ที่ต้องการ
ศึกษาต่อทางด้านจิตวิทยาในระดับสูงทั้งในและต่างประเทศ

หลักสูตรนานาชาติ หรือที่พวกเราเรียกติดปากกันว่า “ภาค JIPP (Joint International


Psychology Program)” เป็ นหลักสูตรที่เปิ ดรับสมัครแยกต่างหากกับระบบ TCAS ทั้ง
ยังเปิ ดรับสมัครในระยะเวลาที่เร็วกว่า ดังนั้นใครที่สนใจต้องติดตามข่าวสารอย่างใกล้
ชิด โดยหลักสูตรนี้จะได้เรียนที่ประเทศไทย 2 ปี แรก ก่อนที่จะไปเรียนต่อที่ School of
Psychology University of Queensland (UQ) ณ ประเทศออสเตรเลีย เป็ นเวลาหนึ่ง
ปี ครึ่ง (3 เทอม) และกลับมาทําธีสิสท่ี่ประเทศไทยในเทอมสุดท้าย ทําให้หลังเรียนจบ
หลักสูตรจะได้รับปริญญาบัตรถึง 2 ใบ!

โดยทั้งสองหลักสูตร จะได้เรียนเกี่ยวกับองค์ความรู้ทางด้านจิตวิทยาในสาขาต่างๆ
เพื่อที่จะใช้เป็ นตัวช่วยสําหรับการตัดสินใจประกอบอาชีพในอนาคต

สาขาจิตวิทยาพัฒนาการ
(Developmental Psychology)
เป็ นศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการมนุษย์ ตั้งแต่การ
Please
do not ปฏิสนธิจนถึงวาระสุดท้ายของชีวิตศึกษาทั้งด้านร่างกาย
touch สติปั ญญา อารมณ์ สังคม จริยธรรม รวมถึงปั ญหาทางด้าน
พัฒนาการของบุคคลตลอดช่วงชีวิต
ตัวอย่างรายวิชา: จิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาเด็ก จิตวิทยา
วัยรุ่น จิตวิทยาผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
แนวทางการทำงาน: นักจิตวิทยาพัฒนาการ ครู/อาจารย์ นัก
วิจัยในสถาบันศึกษา
สาขาจิตวิทยาสังคม
(Social Psychology)
เป็ นศาสตร์ที่ศึกษาว่า รูปร่างท่าทาง การกระทำ
การแสดงออกของคนเหล่านั้นส่งผลต่อการตอบสนองของเราอย่างไร
ในทางกลับกัน ท่าทีและการกระทำของเราส่งผลต่อคนรอบข้างอย่างไร
กล่าวคือ เป็ นการศึกษาพฤติกรรม ความคิด ความรู้สึกของมนุษย์
ที่ได้รับอิทธิพลจากคนรอบตัว
ตัวอย่างรายวิชา: จิตวิทยาสังคม ปริชานทางสังคม ภาพในความคิดและอคติ
แนวทางการทำงาน: นักจิตวิทยาสังคม ครู/อาจารย์ นักทัณฑวิทยา
นักวิจัยด้านจิตใจและพฤติกรรมมนุษย์

ตวิท ย า
จิ ใ จ
ห้ เข้า
ทำใ เป็น
ความ
มนุษย์
สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ
(Industrial and Organizational Psychology)
หรือที่นิยมเรียกกันว่า “จิตวิทยา I/O (I/O Psychology)” เป็ นศาสตร์ที่นำทฤษฎีทาง
จิตวิทยามาประยุกต์ใช้ในบริบทการทำงาน ตั้งแต่การคัดเลือกบุคลากร การฝึ กอบรม
ไปจนถึงการประเมินผล เพื่อปรับปรุงสุขภาวะและเพิ่มประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน
ขององค์กรและบุคลากรภายในองค์กร
ตัวอย่างรายวิชา: จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ
จิตวิทยาบุคลากร จิตวิทยาการพัฒนาการองค์การ
แนวทางการทำงาน: นักจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ
ที่ปรึกษาการบริหารองค์การ นักบริหารทรัพยากรบุคคล (Human Resources; HR)
สาขาจิตวิทยาปริชาน
(Cognitive Psychology)
I
N
เป็ นศาสตร์ที่ศึกษากระบวนการปริชานที่เกิดขึ้นในสมอง ทั้งการรับรู้
การคิด การเรียนรู้ ความตั้งใจ ความทรงจำ การให้เหตุผล การแก้
ปั ญหาและการใช้ภาษาของมนุษย์ โดยศึกษาผ่านการสังเกตพฤติกรรม
ของมนุษย์และการทำงานของสมอง แล้วนำทฤษฎีทางจิตวิทยามา

P
อธิบาย นอกจากนี้ยังมีสาขาวิชาประสาทจิตวิทยา
(Neuropsychology) ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสมองกับ
กระบวนการทางปริชานของมนุษย์โดยเฉพาะ เช่น การศึกษาเกี่ยวกับ
โรคทางประสาทวิทยา หรืออาการบาดเจ็บที่สมองว่าส่งผลต่อการรู้คิด

S
ความรู้สึก และพฤติกรรมของมนุษย์
ตัวอย่างรายวิชา: จิตวิทยาปริชาน การรับสัมผัสและการรับรู้
การเรียนรู้และความทรงจำ ชีวจิตวิทยา ประสาทวิทยาศาสตร์เชิงปริชาน
แนวทางการทำงาน: นักจิตวิทยาปริชาน นักประสาทจิตวิทยา

Y
นักวิจัยด้านจิตวิทยาปริชานและประสาทจิตวิทยา

สาขาจิตวิทยาการปรึกษา
(Counseling Psychology)

C
เป็ นศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการปรึกษาเชิงจิตวิทยา ซึ่งเป็ นกระบวนการ
ที่มุ่งให้ผู้เข้ารับการปรึกษาได้ทำความเข้าใจตนเองอย่างลึกซึ้ง รวมถึง
มองเห็นแนวทางในการแก้ไขปั ญหาได้ด้วยตนเอง
ตัวอย่างรายวิชา: จิตวิทยาการปรึกษา จิตวิทยาการปรับตัวและสุขภาวะ

H
แนวทางการทำงาน: นักจิตวิทยาการปรึกษา ครู/อาจารย์ บุคลากรที่ทำ
หน้าที่ด้านการช่วยเหลือ ป้ องกัน และแก้ไขปั ญหา ตามหน่วยงานต่างๆ
T สาขาจิตวิทยาคลินิก

H
(Clinical Psychology)
เป็ นศาสตร์ที่บูรณาการทฤษฎีทางจิตวิทยาหลากหลายสาขา
เช่น จิตวิทยาการปรึกษา ประสาทวิทยา มาวิเคราะห์ถึงสาเหตุของ

E
ความผิดปกติของจิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม และบุคลิกภาพ
ผ่านแบบทดสอบทางจิตวิทยา
ตัวอย่างรายวิชา: จิตวิทยาคลินิก จิตพยาธิวิทยา
การประเมินทางจิตวิทยาคลินิก
แนวทางการทำงาน: นักจิตวิทยาคลินิก
โดยทำงานตามแผนกจิตเวชของโรงพยาบาล

M ทั้งนี้เมื่อเรียนจบแล้ว อาจไม่จำเป็ นต้องทำงานตรงสายการเรียนเสมอไป


เราสามารถนำองค์ความรู้ทางด้านจิตวิทยา ไปปรับใช้กับงานที่ตนเองสนใจ
ได้อย่างหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็ น ผู้ประกอบการ นักการตลาด

U นักวิเคราะห์ข้อมูล นักแสดง นักเขียน ฯลฯ เนื่องจากจิตวิทยา


เป็ นศาสตร์เกี่ยวกับพฤติกรรมและจิตใจมนุษย์ ซึ่งอยู่รอบตัวเรา
จึงสามารถนำองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้กับทุกสาขาวิชาชีพ

S Self-Reflection
Cognitive

E
หลังจากได้ทำความเข้าใจใน
จิตวิทยาสาขาต่าง ๆ เรียบร้อยแล้ว I/O Social
ผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์ทุกท่านสามารถ
ให้คะแนนความสนใจในจิตวิทยาทั้ง 0

U 5 สาขานี้ได้ เพื่อเป็ นการสะท้อน


ความสนใจของตนเอง
โดยทั้ง 5 สาขานี้จะเป็ นบทเรียน
7

M
หลักที่ได้ศึกษาในระดับปริญญาตรี Developmental Counseling
จิตวิทยา
ยืนยาว
ชีวิต สั้น
TCAS 66
“การเริ่มต้นอาจยากกว่าสิ่งอื่น ๆ แต่จงอย่าถอดใจ ในที่สุดมันจะผ่านไปได้ด้วยดี”

รอบ 1: Portfolio
รับสมัคร 4 - 14 พฤศจิกายน 2565

แฟ้ มสะสมผลงาน 30 คน
โครงการพัฒนากีฬาชาติ 2 คน

รอบ 2: Quota Admission

รับสมัคร 14 – 23 กุมภาพันธ์ 2566

โครงการจุฬาฯ-ชนบท 5 คน
มีความสามารถดีเด่นระดับชาติทางกีฬา 3 คน

รอบ 3: Admission
รับสมัคร 7 – 13 พฤษภาคม 2566
Psychology CU
รูปแบบที่ 1 (TGAT + Math1 + Bio) 25 คน
รูปแบบที่ 2 (TGAT + Math1 + Sci) 10 คน
รูปแบบที่ 3 (TGAT) 10 คน

ในแต่ละปี รายละเอียดการสอบเข้าอาจเปลี่ยนแปลงได้
อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะครับ
สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
http://www.admissions.chula.ac.th
https://www.facebook.com/PsychologyChula
https://jippcuuq.wixsite.com/jipp (สำหรับหลักสู
หลักสูตรปริญญาโท
และปริญญาเอก
ณ ปั จจุบัน คณะจิตวิทยามีแขนงรายวิชาให้เลือกตามความสนใจทั้งหมด

7 แขนงรายวิชา

เปิ ดสอนเป็ น
ภาษาไทย จิตวิทยาการปรึกษา
ในเวลาราชการ

จิตวิทยาพัฒนาการ
เปิ ดสอนเป็ น
จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ
ภาษาไทย
(*เฉพาะปริญญาโท)
นอกเวลาราชการ
การวิจัยจิตวิทยาประยุกต์

เปิ ดสอนเป็ น จิตวิทยาสังคม


ภาษาอังกฤษ จิตวิทยาปริชาน
ในเวลาราชการ จิตวิทยาธุรกิจ
คณะเรารับรุ่นละไม่กี่คน สามารถเลือกรายวิชาเลือกได้ตอนปี 3
จึงทำให้รู้จักกันแทบทุกคน
และสนิทกันอย่างเหนียวแน่น
แถวตึกคณะมี
แมวเยอะ ที่สิงสถิตของ
ทำวิจัยกัน

13
มว๊ากกกกกก เด็กจิตวิทยา
คือ MBK Center
เยอะมากก ข้างคณะ นอกจากนี้
ก็ยังมีที่ หอกลาง
Hangout ฯลฯ

ไม่เคร่งเรื่อง
การแต่งกาย
สามารถเป็ น
ตัวเองได้เต็มที่

FACTS
มีศูนย์สุขภาวะทางจิต
ของคณะให้ทุกคน

PS
about สามารถใช้บริการได้

CH
E
ไม่มีตึกคณะ
เป็ นของตัวเอง TT

มีเรียนสถิติ และ
วิทยาศาสตร์ทุกเทอม คณะอยู่ใกล้สนามกีฬา
ในคณะมี ที่จัดคอนเสิร์ตบ่อยๆ
เลยทำให้ได้รับวุฒิ
กิจกรรมให้ทำ (BLACKPINK ก็เคยมาจัดแล้ว)
“วิทยาศาสตรบัณฑิต”
เยอะแยะมากก
ไม่ว่าจะเป็ น
ชมรมและค่าย สีประจำคณะ คือ โรงอาหารที่ใกล้คณะ
เช่น ชมรมดนตรี มากที่สุด คือ
ตีกลอง เต้น MC สีน้ำเงินแก่อมม่วง โรงอาหารหอในและ
ถ่ายรูป ฯลฯ หรือที่นิยมเรียกกันว่า “สีขาบ” โรงอาหารตึกจุฬาพัฒน์ 14
PIECE
of

MIND
แนะนำตัวละคร
Kelly Karamel
หน้าที่:
รายละเอียด:

Thomas Thompson
หน้าที่:
รายละเอียด:
แนะนำตัวละคร
Chris Capulet
หน้าที่:
รายละเอียด:

Cathy Capulet
หน้าที่:
รายละเอียด:
แนะนำตัวละคร
Rejina Romanov
หน้าที่:
รายละเอียด:

Marionette
หน้าที่:
รายละเอียด:
พื้นที่สร้างสรรค์
ทางความคิด
ผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์ทุกท่านสามารถใช้พื้นที่สี่เหลี่ยมนี้ในการเขียน จด หรือวาดสิ่งใดลงไปก็ได้
พื้นที่สร้างสรรค์
ทางความคิด
พื้นที่สร้างสรรค์
ทางความคิด
ทีมผู้สร้าง
INPSYCH THE MUSEUM

Coreteam
เจ #4 จีเตอร์ #3 มายดี้ #2 ออย #2 น้ำฟ้ า #2

นันทนาการ
Modems #2 Henry #2 New #2 โลมา#2
ทิว #2 น้ำว้า #2 เดือน #2 ซีรี่ #2
วุ้นหวาน #2 ดิว #1 พรีม #1 มุก #1
ใบสมัคร
ป้ าย #4 หมิง #2 Witty #1 เก็ต #1 แป้ ง #1

WE ARE A TEAM
ไปได้ ไกล

บายศรี
มิว #1 เพียว#1 หนูแหวน #1
กัน

หนังสือค่าย

Lucky #2 โอเว่น #2 หยงหยง #1


ไปด้ว

หาทุน
เอม #1 สมาย #1 ซากุระ #1

ประชาสัมพันธ์
ไผ่ #3 ดิสกี้ #2 ต้นน้ำ #2 จอม #1
INPSYCH THE MUSEUM INPSYCH THE MUSEUM INPSYCH THE MUSEUM

ศิลป์ 1
มัลดีฟ #1 ภัทร #2 นอย #2

ศิลป์ 2
ไนซ์ #1 คิตตี้ #3 มิว #3 ฝ้ าย #2 ซีซี #2 เพิร์ล #1

ทะเบียน
วาล์ว #2 ลิน #2 บีม #2 ซูม #1
ไจด้า #1 ดาด้า #1 ไอน่า #1 พรีมมี่ #1

พัสดุ
ต้นข้าว #1 โบ๊ท #1 พิม #1
มิวซ์ #1 กุ๊ก #1

INPSYCH THE MUSEUM INPSYCH THE MUSEUM INPSYCH THE MUSEUM


พยาบาล
ลิล #1 พี #2 พิม #2 นิ้ง #2 ซูม #1

สถานที่
ภูมิ #2 มังกร #4 เจ #3
แป้ ง #1 น้อยหน่า #1

รปภ.
ยูกิ #4 แคมป์ #2 น๊อต #2 เบอร์ดี้ #1 ฟ่ าง #1 โฟกัส #1
หมิงๆ #1 ดรีม #1 การ์ตูน #1 ภีม#1 แซม#1

สวัสดิการ
นอร์ธ #3 จีน่า #3 คิตตี้ #3 ไผ่ #3
ตี๋ #3 จีม่อน #3 ลี่ผิง #2 ภาค #1
INPSYCH THE MUSEUM INPSYCH THE MUSEUM INPSYCH THE MUSEUM

สันทนาการ
มาการอง #4 อิ๋ง #4 นภัส #2 ภัทร์ #2 โฟกัส #1 วอเทอร์ #1

กลอง
คอม #4 Waew #4 ก้อง #2 ธีโอ #2 มิ #2 น้ำว้า #2

Photo
โม #4 ออโต้ #3 ชา #1 จอม #1

MC
ต้นน้ำ #2 พิมพิช #4 เร้กๆ #4 ยี่หวา #3
พิณ #2 ซีรี่ #2 Witty #1 เบลล์ #1

INPSYCH THE MUSEUM INPSYCH THE MUSEUM INPSYCH THE MUSEUM


INPSYCH

Timer
แทมมี่ #4 ฟ้ าฟ้ า #4 บาซิล #4 สมาร์ท #4
นิคกี้ #2 เกรซ #1 เซน #1 มิ้น #1

นักแสดง

TH
ภูมิ #2 แนน #2 รชา #2

E M USEU M
ภัทร #2 กลอง #2 ซีรี่ #2
พี่กลุ่ม
กาย #4 หลินฟง #4 นัท #4 หนุ่ม #4 ใบเตย #3 ฟิ ว #3 พอร์ช #3 ดรีมมี่ #3 ดรีม #3 แอล #3
ต้า #2 ทิว #2 เฌอ#2 โอปอ #2 สอง #2 ดิสกี้ #2 เดือน #2 โมนา #2 ข้าวปั้ น #2 แก้ม #2 แป้ ง #2
มัลดีฟ #1 ปรายฟ้ า #1 โยเกิร์ต #1 นีโม #1 มา #1
ธีร์ #1 อเล็กซิส #1 บอษ์ฐ #1 พราว #1 อาร์ม #1 กัปตัน #1

พี่ฐาน
ทอย #4 ว่าน #4 ฟ้ า#4 ปั น #4 ภู #4 ใจ#4 มายด์ #3 ไหม #3 นาย #3 D-fly #3
พิณ #2 มิ้งค์ #2 ปี ม #2 เอิงค์ #2 ไตร #2 โปรโกะ #2 บีบี #2 พุทรา #2
แบม #1 สตางค์ #1 ตังเม #1 เก็ต #1 ปราง #1 เค่ออ้าย #1
INPSYCH THE MUSEUM INPSYCH THE MUSEUM INPSYCH THE MUSEUM

ส้มตำเจ๊อ้อย

INPSYCH THE MUSEUM INPSYCH THE MUSEUM INPSYCH THE MUSEUM


INPSYCH

TH
E M USEU M

You might also like