B06 013คู่มือท่องเที่ยวอช.เขาใหญ่

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 100

คูม อื ทองเทีย่ ว

อุทยานแหงชาติเขาใหญ
คู่มือท่องเที่ยว
อุทยานแห่งชาติ
เขาใหญ่
สารบัญ
ก�ำเนิดอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่.........................................4
ปฐมบทอุทยานแห่งชาติ...แห่งแรกของประเทศไทย.......4
ประวัติความเป็นมา.....................................................10
ก�ำเนิด...อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่.............................10
บันทึกนักส�ำรวจ...บนเส้นทางดงพญาไฟ.................12
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ มรดกอาเซียน มรดกโลก...........15
ลักษณะ...ภูมิประเทศ.............................................16
สภาพ...ภูมิอากาศ..................................................19
ป่าเขา...ล�ำเนาไพร...............................................21
พรรณพฤกษา...................................................25
สรรพสัตว์...ในพงไพร..........................................30
ปักษา...พาเพลิน..............................................35
ดินแดนแห่งสายพันธุ์พิเศษ....................................40
แหล่งท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่......................44
ลัดเลาะ...ขอบอุทยานแห่งชาติ..................................62
กิจกรรมที่น่าสนใจ.......................................................70
เส้นทางเดินป่าศึกษาธรรมชาติ...............................72
ส่องสัตว์ยามค�่ำคืน.............................................80
ปั่นจักรยาน.........................................................81
ปฏิทนิ ท่องเทีย่ ว.............................................................82
สิ่งอ�ำนวยความสะดวกในอุทยานแห่งชาติ.........................84
ข้อควรปฏิบัติในอุทยานแห่งชาติ.....................................90
เตรียมตัว เตรียมพร้อม ก่อนเข้าป่า...........................90
เมื่อเจอช้างป่าบนถนนเขาใหญ่................................92
การเดินทางและติดต่อสอบถาม.....................................94
ก�ำเนิด
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่

ปฐมบทอุทยานแห่งชาติ...
แห่งแรกของประเทศไทย
แนวทางการจัดตัง้ อุทยานแห่งชาติในประเทศไทย
เริ่มต้นเมื่อปี พ.ศ. 2486 โดยกรมป่าไม้ได้จัดตั้งป่า
ภูกระดึง อ�ำเภอภูกระดึง จังหวัดเลย เป็นวนอุทยาน
แห่งแรก โดยมีแนวคิดทีจ่ ะจัดตัง้ เป็นอุทยานแห่งชาติ
แต่เนื่องจากงบประมาณและเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอ
จึงด�ำเนินการไปได้เพียงเล็กน้อยเท่านัน้ ต่อมาในปี พ.ศ.
2502 แนวคิดดังกล่าวได้เริม่ เป็นรูปเป็นร่างขึน้ อีกครัง้
เมือ่ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรี ในขณะนัน้
ให้ความสนใจในการคุม้ ครองรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
โดยเฉพาะป่าไม้ และได้นำ� ความคิดเสนอทีป่ ระชุมคณะ
รัฐมนตรี จนน�ำไปสูก่ ารตัง้ คณะกรรมการธรรมชาติอทุ ยาน
เพื่อจัดท�ำโครงการและด�ำเนินงานเกี่ยวกับการสงวน
และคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติ โดยมีการคัดเลือก
พืน้ ทีป่ า่ 14 แห่ง เพือ่ จัดตัง้ เป็นอุทยานแห่งชาติ ได้แก่
ป่าทุง่ แสลงหลวง ป่าภูกระดึง ป่าเขาใหญ่ ป่าดอยสุเทพ
ป่าดอยอินทนนท์ ป่าดอยขุนตาล ป่าน�ำ้ หนาว ป่าลานสาง
ป่าเทือกเขาสลอบ ป่าเขาสระบาป ป่าเขาคิชฌกูฏ
ป่าเขาภูพาน ป่าเขาสามร้อยยอด และป่าเขาหลวง

4 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 5
6 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
กระทัง่ ในปี พ.ศ. 2504 ก้าวแรกของงานอุทยาน
แห่งชาติของไทยได้เริ่มต้นอย่างเป็นทางการ เมื่อมีการ
ประกาศใช้พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504
เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2504 อันเป็นปีที่ 16 แห่ง
รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช
หลังจากนั้นได้มีพระราชกฤษฎีกาก�ำหนดให้พื้นที่ต่างๆ
เป็นอุทยานแห่งชาติ โดยมี “อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่”
เป็นอุทยานแห่งชาติแห่งแรกของประเทศไทย เมื่อวันที่
18 กันยายน พ.ศ. 2505 จวบจนปัจจุบันประเทศไทย
มีอุทยานแห่งชาติที่ประกาศจัดตั้งแล้วและอยู่ระหว่าง
เตรียมการจัดตั้ง รวมทั้งสิ้น 150 แห่ง
จากปฐมบทอุทยานแห่งชาติแห่งแรกของ
ประเทศไทย ก้าวแรกสูค่ วามรูค้ วามเข้าใจ ปลุกจิตส�ำนึก
ในการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ วันนี้ “อุทยานแห่งชาติ
เขาใหญ่” ยังคงด�ำรงไว้ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติอันอุดม
สมบูรณ์ ทีไ่ ม่เพียงแค่เป็นมรดกทางธรรมชาติของคนไทย
แต่ยังเป็นมรดกทางธรรมชาติของคนทั้งโลกอีกด้วย

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 7
อ.แก่งคอย

อ.มวกเหล็ก

อ.ปากช่อง

ขญ.16
1016
จังหวัดสระบุรี (มวกเหล็ก) ขญ.17 (กลางดง)
สระบุรี 2090 3052
ขญ.1 (เขาสามยอด)
จุดชมทิวทัศน์ กม.30
นครนายก ที่ท�ำการ
น�้ำตกโกรกอีดก นครราชสีมา อุทยานแห่ งชาติเขาใหญ่
คลองอีเฒ่า
หนองผักชี
น�้ำตกเหวสุวัต
อ่างเก็บน�้ำสายศร
ขญ.18 (เจ็ดคต)
ไป อ.ภาชี น�้ำตกผากล้วยไม้

น�้ำตกแม่ปล้อง

ขญ.13 3077
ขญ.14 (วังรี) ผาเดียวดาย
เขาเขียว
(น�้ำตกนางรอง)
น�้ำตกสาริกา

33 เขื่อนคลองท่าด่าน
น�้ำตกเหวนรก
อ.เมือง เขาสมอปูน
ต.บ้านนา จังหวัดนครนายก จ.นครนายก นครนายก
น�้ำตกธารรัตนา
3049 ปราจีนบุรี
น�้ำตกวังม่วง ขญ.12 (เนินหอม)
อ.ปากพลี อ่างเก็บน�้ำวังบอน

1 อ.เมือง
ไปกรุงเทพฯ จ.ปราจีนบุรี
3077

33
สัญลักษณ์
ที่ท�ำการอุทยานแห่งชาติ/ สถานที่กางเต็นท์ บ้านพักนักท่องเที่ยว น�้ำตก
หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ
ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว ร้านอาหาร จุดชมทิวทัศน์ เส้นทางศึกษาธรรมชาติ

เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ ถนน แนวแบ่งเขตจังหวัด จังหวัด อ�ำเภอ

8 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
จังหวัดนครราชสีมา
แผนที่
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ขญ.2 (ผากระดาษ)
ไป อ.ปักธงชัย
ขญ.3 (ตะเคียนงาม) 3052
นครราชสีมา

อ.วังน�้ำเขียว
ขญ.4
(คลองปลากั้ง)

ขญ.5 (กม.80)

อ.ประจัตคาม
จังหวัดปราจีนบุรี
อ.นาดี
ขญ.6
(บุพราหมณ์ใน)
น�้ำตกส้มป่อย

น�้ำตกธารทิพย์ น�้ำตกสลัดได
น�้ำตกตะคร้อ ขญ.7
ขญ.10 (ประจันตคาม) (ล�ำพระยาธาร)
แก่งหินเพิง
ขญ.11 ขญ.8 (ว่านเหลือง)
(คลองเพกา) ขญ.9 (ใสใหญ่)

304

อ.กบินทร์บุรี

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 9
ประวัติความเป็นมา

ก�ำเนิด...
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
หากย้อนอดีตไปจะพบว่า มีผนื ป่าดงดิบกว้าง พ.ศ. 2465 ราษฎรบ้านท่าชัย และบ้านท่าด่าน
ใหญ่ไพศาลคั่นกลางระหว่างที่ราบลุ่มภาคกลางกับ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครนายก ได้อพยพขึน้ ไปถางป่า
ทีร่ าบสูงภาคอีสาน ทีเ่ ต็มไปด้วยภยันตรายนานัปการ บุกเบิกพืน้ ทีท่ ำ� กินบนเขาใหญ่ อันเป็นท�ำเลทีด่ ี มีนำ�้
ทัง้ จากสัตว์ปา่ ไข้ปา่ ตลอดจนอาถรรพณ์ลกึ ลับ ภูตผิ ี อุดมสมบูรณ์ เพื่อท�ำไร่พริก ปลูกข้าวไร่ และไม้ผล
ปิศาจ และเป็นทีเ่ ล่าขานถึงความน่าเกรงขามของการ เมื่อเวลาผ่านไปชาวบ้านได้ชวนญาติพี่น้องและมี
เดินทางผ่านไปยังภาคอีสานอันแสนยากล�ำบาก หลาย ชาวบ้านจังหวัดอืน่ ๆ ขึน้ ไปถางป่าบุกเบิกพืน้ ทีท่ ำ� กิน
คนถึงกับต้องเสียชีวิตด้วยไข้ป่าหรือสัตว์ป่า ผู้คนจึง และสร้างบ้านเรือนมากขึน้ จนกลายเป็นหมูบ่ า้ น ทาง
ขนานนามป่าแห่งนี้ว่า “ดงพญาไฟ” ราชการจึงได้ยกขึน้ เป็นต�ำบลเขาใหญ่ อ�ำเภอปากพลี
เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2443 พระบาท จังหวัดนครนายก
สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้เสด็จพระราชด�ำเนิน พ.ศ. 2475 ด้วยเหตุที่ต�ำบลเขาใหญ่อยู่
ทรงเปิดการเดินรถไฟสายกรุงเทพ-นครราชสีมา ขณะ กลางป่าใหญ่จึงกลายเป็นแหล่งที่ซ่องสุมโจรผู้ร้าย
ทีเ่ สด็จกลับโดยทางรถไฟ ทรงรับสัง่ ว่าป่านีช้ อื่ ฟังดูนา่ ทางราชการจึงได้มอบหมายให้ “ปลัดจ่าง” (นาย
กลัวจึงตรัสว่า ให้เปลี่ยนชื่อ “ดงพญาไฟ” เป็น “ดง จ่าง นิสยั สัตย์) อดีตปลัดกองทัพไทยขึน้ ไปกวาดล้าง
พญาเย็น” เพื่อความเป็นสิริมงคลและความร่มเย็น โจรผู้ร้ายบนเขาใหญ่จนสามารถท�ำได้ส�ำเร็จ หลัง
เป็นสุขของอาณาประชาราษฎร์ จากนั้นทางจังหวัดจึงสั่งให้ชาวบ้านอพยพลงมายัง
พื้นที่ราบ แล้วยกเลิกต�ำบลเขาใหญ่ ปล่อยให้พื้นที่
ท�ำกินบนเขาใหญ่รกร้าง กลายเป็นทุ่งหญ้าคาสลับ
กับป่าที่สมบูรณ์
สมัยของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ในปี
พ.ศ. 2502 ป่าเขาใหญ่ได้ถูกก�ำหนดให้เป็นป่า
1 ใน 14 แห่ง ที่จะถูกจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ

10 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ต่อมาปี พ.ศ. 2503 มีการส�ำรวจพืน้ ทีด่ ว้ ยเฮลิคอปเตอร์ ในท้องที่ จังหวัดนครนายก ปราจีนบุรี นครราชสีมา
และเดินส�ำรวจ บริเวณต�ำบลเขาใหญ่เดิม มีเรื่อง และจังหวัดสระบุรี เป็นอุทยานแห่งชาติ โดยประกาศ
เล่าขานว่า ต้นมะม่วงทีจ่ อมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ และ ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 79 ตอนที่ 86 วันที่ 18
หมอบุญส่ง เลขะกุล นั่งพักผ่อนระหว่างการส�ำรวจ กันยายน 2505 โดยมีเหตุผลว่า “ป่าเขาใหญ่มสี ภาพ
ยังยืนต้นตระหง่าน อยูบ่ ริเวณลานจอดเฮลิคอปเตอร์ ธรรมชาติเป็นจุดเด่น สมควรสงวนไว้ให้เป็นประโยชน์
ริมถนนธนะรัชต์ในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่นั่นเอง แก่การศึกษา และความรืน่ รมย์ของประชาชน กับเพือ่
29 ตุลาคม พ.ศ. 2504 พระบาทสมเด็จ คุม้ ครองรักษาทรัพยากรธรรมชาติทมี่ อี ยู่ เช่น พันธุไ์ ม้
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จ และของป่า สัตว์ปา่ ตลอดจนทิวทัศน์ ป่าและภูเขาให้
พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในพระบาท คงอยู่สภาพเดิม มิให้ถูกท�ำลายหรือเปลี่ยนแปลงไป
สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จ เพื่ออ�ำนวยประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อมแก่รัฐ
ประพาสเขาใหญ่โดยมี นายดุสิต พานิชพัฒน์ รอง และประชาชน”
อธิบดีกรมป่าไม้ นายกริต สามะพุทธิ ผู้เชี่ยวชาญ ต่อมาในปี 2521 ได้มีการกันพื้นที่ออกเพื่อ
ทางผลิตผลป่าไม้ และเจ้าหน้าทีก่ รมป่าไม้หลายท่าน ก่อสร้างสถานีเรดาร์และสถานีถา่ ยทอดโทรคมนาคม
เฝ้ารับเสด็จด้านหน้าส�ำนักงานชัว่ คราวของ “หน่วย ของกองทัพอากาศ เนื้อที่ 0.1149 ตร.กม. และ
ธรรมชาติอุทยานเขาใหญ่” กองบ�ำรุงในขณะนั้น ในปี 2542 ได้กันพื้นที่ออก 3.0807 ตร.กม.
ในวันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2505 สมเด็จพระ เพื่อก่อสร้างเขื่อนคลองท่าด่านอันเนื่องมาจาก
ราชชนนีศรีสังวาลย์ ผู้ส�ำเร็จราชการแทนพระองค์ พระราชด�ำริของกรมชลประทาน เพื่อประโยชน์ใน
ในพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา การจัดการแหล่งกักเก็บน�ำ้ ใช้เพือ่ อุปโภค บริโภค และ
ภูมพิ ลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ เกษตรกรรม ท�ำให้อทุ ยานแห่งชาติเขาใหญ่คงเหลือพืน้ ที่
ประกาศป่าเขาใหญ่เนือ้ ทีป่ ระมาณ 2,168.75 ตร.กม. 2,165.55 ตร.กม.

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 11
บันทึกนักส�ำรวจ... บนเส้นทางดงพญาไฟ
นักเดินทางและนักส�ำรวจมากมายหลายคนเดินทางผ่านผืนป่าดงพญาไฟ ได้บันทึกถึงความ
ยากล�ำบากในการเดินทาง ความชุกชุมของสัตว์ปา่ และวิถชี วี ติ ของผูค้ นระหว่างเดินทาง มีเรือ่ งราวต�ำนาน
เป็นหลักฐานให้เราคนรุ่นหลังได้จินตนาการถึงความยิ่งใหญ่ของผืนป่าแห่งนี้

อองรี มูโอต์
ในปี พ.ศ. 2404 อองรี มูโอต์ (Henri
Mouhot) นักธรรมชาติวิทยาและนักส�ำรวจ
ชาวฝรั่งเศสได้เดินทางจากบางกอก ไปเมือง
หลวงพระบาง ด้วยการลงเรือล่องทวนแม่น�้ำ
เจ้าพระยาจากบางกอก ผ่านอยุธยาเพื่อไป
ขึ้นบก ที่สระบุรี จากนั้นก็เดินเท้าต่อ ขณะที่
เขาเดินทางผ่านดงพญาไฟ คณะของเขาได้ยิน
ทั้งเสียงลิง นกเงือก ไก่ฟ้า นกยูง และเหยี่ยว
ในคืนหนึ่งระหว่างที่ทุกคนก�ำลังหลับอยู่ ได้มี

12 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
บังกะโลของสถานตากอากาศเขาใหญ่บริเวณหนองขิง น�้ำตกมวกเหล็ก
เสือดาวตัวใหญ่ยอ่ งเข้ามาหมายจะกินผูต้ ดิ ตามของเขาทัง้ สองคน จึงได้ใช้ปนื ยิงใส่เสือดาวไป 2 นัด กระสุน
ตัดผ่านหัวใจของเสือดาวตายทันที เสียงปืนนี้ก็ได้ปลุกให้ผู้ติดตามทั้งสองตื่นขึ้นด้วยความดีใจที่ไม่ตาย
เส้นทางเกวียนระหว่างเมืองสระบุรีกับเมืองโคราชจะผ่านหมู่บ้านต่างๆ กลางดงพญาไฟ ได้แก่
มวกเหล็ก บ้านท่าช้าง บ้านขนงพระ และเมืองจันทึก
เฮอร์เบิร์ท วาริงตัน สมิธ
ในปี พ.ศ. 2436 เฮอร์เบิร์ท วาริงตัน สมิธ (Herbert Warington Smyth) นักเดินทาง นักเขียน
และวิศวกรเหมืองแร่ ชาวอังกฤษ เดินทางจากบางกอกไปยังเมืองน่าน เชียงของ หลวงพระบาง หนองคาย
โคราช ผ่านดงพญาไฟสู่เมืองสระบุรี กลับถึงบางกอก ได้บันทึกไว้ว่า “โคราชถูกตัดขาดจากโลกภายนอก
โดยแนวป่าดงพญาไฟ” มีการแลกเปลี่ยนสินค้า จ�ำพวกข้าว เกลือสินเธาว์ วัวควาย ไม้ ไหม เครื่องเทศ
ครั่ง กระวาน ยาสูบ หนังสัตว์ และเขาสัตว์ ระหว่างชาวบ้านด้วยกันเพียงเล็กน้อย หรือขายให้กับพ่อค้า
ชาวจีนเพียงไม่กคี่ นทีก่ ล้าเสีย่ งกับการเดินทางด้วยเกวียนข้ามดงพญาไฟอย่างยากล�ำบากเพือ่ ไปยังสระบุรี
สมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ
สมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ พระองค์
พระราชนิพนธ์เล่าถึงดงพญาไฟ “เทีย่ วตามทางรถไฟ”
ไว้ว่า ดงพญาไฟเป็นช่องทางเล็กๆ ส�ำหรับข้ามไปมา
ระหว่างเมืองสระบุรกี บั มณฑลนครราชสีมาแต่โบราณ
เส้นทางนี้ผ่านไปได้แต่เดินเท้า จะใช้เกวียนหรือใช้โค
หาได้ไม่ ด้วยทางเดินต้องเลียบขึ้นไปตามสันเขาบ้าง
ตามไหล่เขาบ้าง คนเดินตามปกติจาก ต.แก่งคอย ถึง
ต.ปากช่อง นั้น ต้องค้างคืนในป่านี้ถึง 2 คืน จึงจะพ้น สิ่งอ�ำนวยความสะดวกในการขนส่ง
สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 13
14 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
มรดกอาเซียน มรดกโลก

อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ครอบคลุมพืน้ ทีก่ ว่า 11


อ�ำเภอของ 4 จังหวัด ปัจจุบันยังคงความอุดมสมบูรณ์
เป็นแหล่งต้นน�ำ้ ล�ำธารส�ำคัญ เป็นแหล่งอนุรกั ษ์พนั ธุกรรม
ทั้งพืชและสัตว์ เป็นแหล่งเรียนรู้ ค้นคว้าศึกษาวิจัย และ
เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจของประชาชน คุณค่าและความ
ส�ำคัญนีท้ ำ� ให้ได้รบั การยกย่องให้เป็น “อุทยานมรดกแห่ง
อาเซียน” เมื่อ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2527 และได้รับ
การประกาศเป็น พื้นที่มรดกโลกทางธรรมชาติ จากองค์
การยูเนสโก ภายใต้ชื่อผืนป่า “ดงพญาเย็น - เขาใหญ่”
ร่วมกับพื้นที่อนุรักษ์อีก 4 แห่ง คือ อุทยานแห่งชาติ
ทับลาน อุทยานแห่งชาติปางสีดา อุทยานแห่งชาติ
ตาพระยา และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ เมื่อ 14
กรกฎาคม พ.ศ. 2548 เพื่อการอนุรักษ์พื้นที่ให้เป็น
แหล่งรวมความอุดมสมบูรณ์และเป็นทีอ่ าศัยของสัตว์ปา่
และพั น ธุ ์ พื ช ที่ ห ายาก ใกล้ สู ญ พั น ธุ ์ โดยในพื้ น ที่
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ สามารถพบสัตว์ป่าหายากได้
หลายชนิด เช่น นกเงือก 4 ชนิด ได้แก่ นกแก๊ก นกกาฮัง
นกเงือกสีนำ�้ ตาลคอขาว และนกเงือกกรามช้าง นอกจากนี้
ยังเป็นแหล่งที่พบชะนีมงกุฎและชะนีมือขาวอาศัยอยู่
ร่วมกัน ซึ่งมีเพียงไม่กี่แห่งในโลก

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 15
ลักษณะ... ภูมิประเทศ
ภูมิประเทศของอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าตั้งอยู่ด้านทิศตะวันตก
ของเทือกเขาพนมดงรัก มีเขาร่มเป็นยอดเขาสูงสุด สูง 1,351 เมตรจากระดับทะเลปานกลาง รองลงมา
เป็นเขาแหลม 1,326 ม. เขาเขียว 1,292 ม. เขาสามยอด 1,142 ม. และเขาฟ้าผ่า 1,078 ม. ภูเขาส่วน
ใหญ่ของอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ เป็นเขาหินทรายที่มีลักษณะยอดตัดที่เรียกว่า Mesa ได้แก่ เขาร่ม
เขาเขียว เขาก�ำแพง และเขาสมอปูน ส่วนทางด้านเหนือและตะวันตกเป็นเขาหินทรายสลับเขาหินปูน
ซึ่งต่อเรื่อยมาจากเขาหินปูนทางอ�ำเภอปากช่องและจังหวัดสระบุรี

16 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ด้วยเป็นเขาสูงอันเป็นส่วนขอบของที่ราบสูงอีสาน จึงท�ำให้อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่เป็น
แนวดักน�ำ้ ฝน ทัง้ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จากทะเลอันดามันและลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจาก
ทะเลจีนใต้ ท�ำให้มฝี นตกชุก เป็นป่าต้นน�ำ้ ล�ำธารทีผ่ ลิตน�ำ้ หล่อเลีย้ งจังหวัดโดยรอบ โดยทางตะวันออก
มีล�ำน�้ำใสใหญ่ ประจันตคาม รวมกันเป็นแม่น�้ำปราจีนบุรี ทางใต้มีคลองสมอปูน ห้วยนางรอง ห้วย
สมพุงใหญ่ ห้วยสาริกา แม่น�้ำนครนายก ซึ่งจะไหลไปรวมกับแม่น�้ำปราจีนบุรีเป็นแม่น�้ำบางปะกง
ต่อไป ทางด้านเหนือมีลำ� ตะคอง ล�ำพระเพลิงซึง่ เป็นต้นน�ำ้ ของแม่นำ�้ มูล หล่อเลีย้ งภาคอีสานตอนล่าง
ก่อนจะไหลลงสู่แม่น�้ำโขง ส่วนทางด้านตะวันตกมีห้วยมวกเหล็กที่ไหลลงสู่แม่น�้ำป่าสัก

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 17
18 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
สภาพ... ภูมิอากาศ
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่มลี กั ษณะเป็น
ป่าดิบรกทึบ และได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม
ท�ำให้เกิดฝนตกชุกตามฤดูกาล อากาศไม่รอ้ นจัด
และหนาวจัดจนเกินไป เหมาะแก่การท่องเทีย่ ว
และประกอบกิจกรรมนันทนาการ อุณหภูมิ
เฉลี่ยตลอดปีประมาณ 23 องศาเซลเซียส
อุณหภูมสิ งู สุดอยูร่ ะหว่างเดือนเมษายนถึงเดือน
พฤษภาคม ในช่วงเดือนธันวาคมและเดือน
มกราคม เป็นวันที่อากาศเย็นที่สุด อุณหภูมิ
อาจลดลงต�่ำกว่า 10 องศาเซลเซียส อากาศ
แห้งและมีลมแรง
• ฤดูรอ้ น แม้วา่ อากาศจะร้อนอบอ้าว
กว่าในทีอ่ นื่ แต่ทเี่ ขาสูงบนเขาใหญ่อากาศเย็น
สบายเหมาะแก่การพักผ่อน
• ฤดูฝน เป็นช่วงทีส่ ภาพธรรมชาติชมุ่
ชื่น ป่าไม้และทุ่งหญ้าเขียวขจี สวยงาม น�้ำตก
ต่างๆจะมีสายน�้ำที่ไหลหลากและเชี่ยวกราก
• ฤดูหนาว ช่วงเดือนตุลาคมถึงเดือน
กุมภาพันธ์ อากาศค่อนข้างเย็น โดยเฉพาะ
บริเวณเขาสูง เป็นช่วงที่มีนักท่องเที่ยวนิยม
มาพักผ่อนเป็นจ�ำนวนมาก

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 19
20 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ป่าเขา...
ล�ำเนาไพร
ป่าไม้ในเขตอุทยานแห่งชาติ
เขาใหญ่ครอบคลุมพื้นที่ 1,967.66
ตร.กม. หรือประมาณร้อยละ 90.86
ของพืน้ ที่ มีความหลากหลายของชนิด
พรรณพืชค่อนข้างสูง สามารถจ�ำแนก
สังคมพืชในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
เขาใหญ่ออกเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 21
ป่าดิบเขาต�่ำ Lower Montane Rain Forest
พบบริเวณเขาเขียว ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มี
อากาศเย็น ความสูงจากระดับทะเล 1,000 ม.
ขึ้นไปบริเวณตอนกลางของอุทยานแห่งชาติ
มีพื้นที่ประมาณ 35.10 ตร.กม. หรือร้อยละ
1.62 ของพื้นที่ป่าทั้งหมด พันธุ์ไม้ที่พบเป็น
ไม้เนื้ออ่อน เช่น พญาไม้ มะขามป้อมดง ขุนไม้
และสามพันปี มีไม้จ�ำพวกก่อขึ้นอยู่ด้วย ได้แก่
ก่อน�ำ้ และก่อด่าง นอกจากนีย้ งั พบ “โมลีสยาม”
พืชถิ่นเดียวของไทย (Reevesia pubescens
var. siamensis) ตามสันเขายังพบพรรณไม้พวก
ก�ำลังเสือโคร่ง ไม้ชั้นรองประกอบด้วย เก็ดส้าน
ส้มแปะ แกนมอ เพลาจังหัน และหว้า พืชชัน้ ล่าง
เป็นพวกไม้พุ่มชนิดต่างๆ เช่น กาลังกาสาตัวผู้
กูด และกล้วยไม้ดินหลายชนิด ตามล�ำต้นและ
กิ่งก้านของต้นไม้ป่าดิบเขาจะถูกปกคลุมด้วย
กล้วยไม้และตะไคร่น�้ำต่างๆ

ป่าดิบชื้น Tropical Rain Forest


อยู่ในระดับความสูง 400 - 1,000 เมตรจาก
ระดับทะเลปานกลาง ครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ 65.92
ของพืน้ ทีป่ า่ ทัง้ หมด บริเวณตามริมล�ำธารจะพบหวาย
และเฟินขึน้ อยูเ่ ป็นกลุม่ ในช่วงฤดูฝนตามก้อนหินทีช่ นื้
ใต้รม่ เงาริมแหล่งน�ำ้ จะเห็นพืชล้มลุกออกดอกสะพรัง่
อย่างเช่น เทียน และดาดตะกั่ว พบไม้วงศ์ยางขึ้นอยู่
จ�ำนวนมาก เช่น ยางกล่อง ยางขน ยางเสียน และ
กระบาก บนพื้นที่สูงขึ้นไปจะพบยางปาย ยางควน
เคี่ยมคะนอง ปรก และก่อชนิดต่างๆ

22 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ป่าดิบแล้ง Dry Evergreen Forest
อยูใ่ นระดับความสูง 200 - 600
เมตรจากระดับทะเลปานกลาง มีพื้นที่
เพียง 1.91 ตร.กม. หรือร้อยละ 0.9
ของพื้นที่ป่าทั้งหมด ไม้ชั้นบน ได้แก่
ยางนา พันจ�ำ เคีย่ มคะนอง ตะเคียนทอง
ตะเคี ย นหิ น ตะแบกใหญ่ สมพง
สองสลึง ปออีเก้ง ไม้ยืนต้นชั้นรอง เช่น
กระเบากลัก กัดลิน้ พืชจ�ำพวกปาล์ม เช่น
หมากลิง ลาน พืชชั้นล่างประกอบด้วย
นกคุ้ม พวกขิงข่า และเตย

ป่าเบญจพรรณ Mixed Deciduous Forest


พบในระดับความสูงตั้งแต่ 400 - 600
เมตรจากระดับทะเลปานกลาง ทางด้านทิศ
ตะวันตกเฉียงเหนือของพื้นที่ มีพื้นที่ประมาณ
296.44 ตร.กม. หรือร้อยละ 13.69 ของพื้นที่
ป่าทั้งหมด ประกอบด้วยไม้ยืนต้นผลัดใบ เช่น
มะค่าโมง ประดู่ เลี่ยน ตะแบกแดง โมก ซ้อ
พืชชั้นล่าง ได้แก่ ไผ่ และหญ้าต่างๆ ตามพื้นป่า
จะมีหินโผล่อยู่ทั่วไป ในฤดูแล้งจะมีไฟป่า
ลุกลามอยู่เสมอ จะสังเกตได้จากมีต้นไผ่ขึ้น
อยู่จ�ำนวนมากตามลาดเขาและกล้วยป่าขึ้น
หนาแน่นตามหุบห้วย

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 23
ป่าเต็งรัง Dry Dipterocarp Forest
พบกระจายอยู่ตามยอดเขาหินทรายทางด้าน
ทิศใต้ของพืน้ ที่ โดยเฉพาะบริเวณเขาสมอปูน มีลกั ษณะ
เป็นทีร่ าบบนสันเขาผสมลานหิน พรรณพืชทีส่ ำ� คัญ ได้แก่
เต็ง รัง เหียง พลวง และยางกราด ซึ่งลักษณะสังคมพืช
เช่นนี้ ในช่วงปลายฝนต้นหนาวจะปรากฏดอกไม้บน
ลานหินหลากหลายสายพันธุ์ เช่น ดุสิตา มณีเทวา
สร้อยสุวรรณา และหญ้าข้าวก�่ำ

ทุ่งหญ้าและป่ารุ่นสอง Grassland and Secondary Vegetation


มีพื้นที่ประมาณ 0.11 และ 206.75 ตร.กม. ตามล�ำดับ สภาพป่าเช่นนี้เป็นผลสืบเนื่องมาจากการ
ท�ำไร่เลือ่ นลอยในอดีตก่อนทีจ่ ะมีการประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติ ตามทุง่ หญ้านัน้ พืชส่วนใหญ่เป็นหญ้าคา
มีหญ้าแขม หญ้าขนตาช้าง และหญ้าโขมงขึ้นแทรก นอกจากนี้ ก็มีผักกูดบางชนิดที่ชอบขึ้นตามบริเวณ
ที่ถูกไฟไหม้เป็นประจ�ำ เป็นที่น่าสังเกตว่า ภายหลังจากประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติเป็นเวลากว่า 50 ปี
ทุ่งหญ้าที่มีการป้องกันไฟ ได้กลับฟื้นเป็นป่าละเมาะซึ่งย่อมจะฟื้นกลับคืนเป็นป่าที่อุดมสมบูรณ์ได้ดังเดิม

24 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
พรรณพฤกษา
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่เป็นผืน
ป่าใหญ่ทอี่ ดุ มไปด้วยสังคมพืชหลากหลาย
ประเภท ส่งผลให้พนื้ ทีแ่ ห่งนีม้ คี วามหลาก
หลายทางชีวภาพของพืชพรรณสูงตามไป
ด้วย พันธุ์ไม้หลายชนิดที่มีความโดดเด่น
น่าสนใจส�ำหรับการเดินทางเข้าไปศึกษา
เรียนรู้ทรัพยากรป่าไม้

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 25
หวายแดง
ชื่อวิทยาศาสตร์ Renanthera coccinea Lour.
วงศ์ Orchidaceae
หวายแดง เป็นกล้วยไม้อิงอาศัยหรือขึ้นตามซอกหิน พบทั่วไปบริเวณที่โล่งของป่าดิบแล้ง ใน
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่พบหวายแดงขึ้นหนาแน่นบริเวณลานหินริมล�ำห้วยล�ำตะคอง ใกล้ๆ กับน�้ำตก
ผากล้วยไม้อันเป็นที่มาของชื่อน�้ำตกแห่งนี้
หวายแดงมีล�ำต้นยาว ใบรูปขอบขนาน กว้าง 1.5-3 ซม. ยาว 7-8 ซม. ปลายใบเว้า ดอกออก
เป็นช่อ แตกแขนงจากซอกใบ ดอกสีแดงเข้ม ขนาดบานเต็มที่กว้าง 3.5 ซม. กลีบปากมีขนาดเล็ก
ปลายกลีบเป็นติ่งแหลม ออกดอกในช่วงฤดูแล้งราวเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน ช่อดอกจ�ำนวนมากของ
หวายแดงท�ำให้ทศั นียภาพของผากล้วยไม้มคี วามสวยงามเป็นพิเศษมากกว่าในฤดูกาลอืน่ ๆ กล้วยไม้ชนิดนี้
มีการกระจายพันธุ์เฉพาะในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออกของประเทศไทยเท่านั้น

26 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
สะเม็กขาว
ชื่อวิทยาศาสตร์ Agapetes bracteata Hook. f. ex C. B. Clarke
วงศ์ Ericaceae
สะเม็กขาวพืชถิน่ เดียวของไทย เป็นไม้พมุ่ อิงอาศัย สูงได้ถงึ 2 ม. ล�ำต้นกลมหรือเป็นเหลีย่ มเล็กน้อย
มีขนตามปลายกิ่ง ก้านใบ ช่อดอก ก้านดอกและใบประดับ ใบเดี่ยวเรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูปขอบขนาน
ยาวประมาณ 5 ซม. ปลายใบแหลมยาวหรือยาวคล้ายหาง แผ่นใบหนา ก้านใบยาว 0.3-0.4 ซม.
ดอกออกเป็นช่อเชิงหลั่นตามซอกใบ ยาว 5-7 ซม. ดอกออกห่างๆ ก้านดอกยาว 0.5-1.5 ซม. ใบประดับ
คล้ายใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 0.6-1.2 ซม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกอย่างละ 5 กลีบ
กลีบเลีย้ งรูปสามเหลีย่ ม ยาว 0.2-0.3 ซม. กลีบดอกยาว 0.8-1.5 ซม. ติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็นกลีบ
ลึกประมาณกึ่งกลางกลีบ กลีบรูปใบหอก ปลายม้วนงอออก เกสรเพศผู้ 10 อัน ยื่นพ้นหลอดกลีบ
อับเรณูติดกันล้อมรอบเกสรเพศเมีย ด้านหลังอับเรณูมีเดือย 2 เดือย ผลแบบมีเนื้อหลายเมล็ดกลม
ในประเทศไทยพบสะเม็กขาวขึน้ อยูต่ ามคาคบไม้ในป่าดิบเขาทีค่ วามสูงตัง้ แต่ 1,200 เมตรจาก
ระดับทะเลปานกลาง บริเวณเขาร่ม เขาแหลม และเขาเขียวในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่เท่านั้น
สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 27
โมลีสยาม
ชื่อวิทยาศาสตร์ Reevesia pubescens var. siamensis (Craib) Anthony
วงศ์ Sterculiaceae
โมลีสยามเป็นไม้ตน้ เล็กสูง 5–12 ม. มีกงิ่ อ่อน ใบอ่อนและช่อดอกทีป่ กคลุมด้วยขนนุม่ ใบเดีย่ วเรียงสลับ
แผ่นใบรูปไข่หรือรูปรี ขนาดกว้าง 2–3 ซม. ยาว 6–20 ซม. ปลายใบแหลมหรือเรียวแหลม โคนใบมน
ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ขอบใบเรียบ เส้นแขนงใบเชื่อมประสานกันก่อนถึงขอบใบ ก้านใบยาว 1–2 ซม.
ดอกของโมลีสยามเป็นรูปทรงระฆังสีขาวอมชมพู กว้างประมาณ 0.5 ซม. ยาว 0.5–0.8 ซม.
ด้านนอกของดอกมีขนประปราย ผลเป็นรูปไข่กลับกว้าง 1.2–1.5 ซม. ยาว 2–4 ซม. เป็นพูตามยาว 5 พู
สีเขียวอ่อนมีขนปกคลุม เนื้อผลแข็ง เมื่อแก่แตกระหว่างพู เมล็ดเล็กมีปีก
โมลีสยามเป็นไม้ถิ่นเดียวของประเทศไทย มีทรงต้นที่สวยงาม ดอกมีกลิ่นหอม โดยออกดอกตลอด
ทั้งปี แต่จะออกดอกมากในฤดูฝน พบได้เฉพาะในบริเวณภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ
ประเทศไทยมีการกระจายพันธุ์ในบริเวณป่าดิบชื้นและป่าดิบเขา ที่มีความสูงจากระดับทะเลปานกลาง
800-1,500 ม. ส�ำหรับในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่สามารถพบได้บริเวณเขาเขียว

28 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
เครือพูเงิน
ชื่อวิทยาศาสตร์ Argyreia obtecta (Choisy) C. B. Clarke
วงศ์ Convolvulaceae
เครือพูเงินเป็นไม้เลื้อยเนื้อแข็ง ไม่มีมือเกาะอย่างไม้เถาวัลย์ทั่วไป ล�ำต้นสามารถเลื้อยได้ไกลถึง
10 ม. กิ่งอ่อนมีขนสีขาวเงินปนสีน�้ำตาลอ่อน เส้นยาวราบหนาแน่น ใบรูปรีแกมขอบขนานปลายแหลม
ผิวใบด้านบนมีขนประปราย ใต้ใบมีขนสีขาวเงินนุ่มคล้ายเส้นไหมหนาแน่น ออกดอกเป็นช่อตามซอกใบ
1-5 ดอก สีม่วงอ่อนหรือสีชมพู โคนกลีบสีขาว ปลายแผ่ติดกัน ด้านนอกของโคนดอกมีขนเป็นแฉก
ขนาดดอก 3.5-4 ซม. ออกดอกเดือนตุลาคม-ธันวาคม ผลค่อนข้างกลม สีส้มอมแดง เมล็ดสีด�ำ มี 4 เมล็ด
พรรณไม้ชนิดนี้ มักพบขึ้นตามป่ารุ่น ป่าละเมาะ ป่าเบญจพรรณ และตามสองข้างทางทั่วไป
ในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ตั้งแต่ระดับพื้นล่างไปจนถึงความสูง 1,000 เมตรจากระดับทะเลปานกลาง
เครือพูเงิน เป็นพันธ์ุไม้ที่มีสรรพคุณทางสมุนไพรหลายด้าน สามารถน�ำทั้งต้นมาคั้นเอาน�้ำใช้ท�ำ
เป็นยาหยอดตารักษาอาการอักเสบ น�ำรากมาใช้ต้มกับน�้ำดื่มเป็นยาแก้ไอ แก้หอบ และเป็นยาบ�ำรุงสตรี
ส่วนใบใช้เป็นยาพอกรักษาฝีได้อีกด้วย

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 29
สรรพสัตว์...
ในพงไพร
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมใน
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่มีการ
ส�ำรวจพบประมาณ 71 ชนิด ที่
พบเห็นได้บอ่ ยและเป็นทีด่ งึ ดูดใจ
ผู้มาเยือน ได้แก่ ช้างป่า กระทิง
หมาใน เก้ง กวางป่า ชะนีมือขาว
และลิงกัง นอกจากนี้ ยังพบเห็น
สัตว์ป่าที่มีความส�ำคัญอีกหลาย
ชนิด เช่น แมวลายหินอ่อน เสือ
ลายเมฆ หมีควาย และเลียงผา
ความหลากชนิดของสัตว์เลีย้ งลูก
ด้วยนมเหล่านี้ เป็นตัวชีว้ ดั หนึง่ ที่
บ่งบอกถึงความอุดมสมบูรณ์ของ
ผืนป่าในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ได้เป็นอย่างดี

30 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ช้างป่า (Asian Elephant)
เป็นสัตว์กินพืชขนาดใหญ่ สูงประมาณ 2 - 4 ม. และหนักประมาณ 3,000 - 5,000 กก. อยู่รวม
กันเป็นฝูงตั้งแต่ 5 - 7 ตัว ไปจนถึง 30 ตัว มีช้างพังอายุมาก (แม่แปรก) เป็นผู้น�ำฝูง เมื่อโตเต็มที่ช้างกิน
อาหารประมาณ 200 กก. ต่อวัน ปรับตัวเข้ากับสิง่ แวดล้อมได้ดี พบได้ในป่าแทบทุกประเภท มีอาณาเขตที่
กว้างขวาง อาจถึง 400 ตร.กม. โดยฝูงช้างจะเคลื่อนย้ายเพื่อออกหากิน แต่ละวันใช้เวลา 16 - 18 ชั่วโมง
อาหารทีโ่ ปรดปราน ได้แก่ ไผ่ ขิง กล้วยป่า และหญ้า นอกจากพืชต่างๆ แล้ว ช้างยังต้องการแร่ธาตุเพิม่ เติม
ซึ่งจะได้จากการกินขี้เถ้าหรือดินโป่งด้วย
ช้างป่าเป็นสัตว์ที่ให้ร่มเงาแก่สิ่งมีชีวิตอื่นๆ (Umbrella species) ทั้งช่วยกระจายพันธุ์พืช
มูลเป็นอาหารแก่แมลงและเป็นปุ๋ยชั้นดี การหักไม้สูงๆ มากินก็เอื้อประโยชน์ให้แก่สัตว์ขนาดเล็กกว่า
เส้นทางเดินกลายเป็นทางด่านให้สตั ว์ปา่ และผูค้ นได้ใช้ประโยชน์ นอกจากนี้ มนุษย์ยงั น�ำช้างมาใช้ประโยชน์
อื่นๆ อีกมาก ทั้งเป็นก�ำลังในการท�ำไม้ เป็นทูตสันถวไมตรีระหว่างประเทศ และเป็นพาหนะ ปัจจุบัน
ช้างในประเทศไทยมีประมาณ 3,500 ตัว ซึ่งในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่เชื่อว่ามีอยู่ราวๆ 140 - 200 ตัว
สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 31
กระทิง (Gaur)
เป็นสัตว์กีบคู่ ความสูงถึงไหล่ประมาณ
170 - 185 ซม. หนัก 650 - 900 กก. โดยตัวผู้มัก
หนักกว่าตัวเมีย มีขนยาวสีด�ำหรือด�ำแกมน�้ำตาล
หน้าผากหรือหน้าโพ และขาทั้ง 4 ข้าง ตั้งแต่เหนือ
เข่าลงไปถึงกีบตีนมีสีขาวเทาหรือเหลืองทอง ท�ำให้
เหมือนก�ำลังสวมถุงเท้า คอสั้นและมีพืม (เหนียง
คอ) ห้อยยาว ลูกกระทิงมีสีน�้ำตาลแดงคล้ายวัวแดง
กระทิงจะอยู่รวมกันเป็นฝูง ซึ่งจะประกอบ
ด้วยตัวเมียและลูก พบได้ตั้งแต่ฝูงละไม่เกิน 10 ตัว
ไปจนถึง 60 - 80 ตัว บางพื้นที่มากกว่า 100 ตัว
ส�ำหรับตัวผู้มักพบอยู่ตามล�ำพัง จะเข้ารวมฝูงเมื่อ
ถึงฤดูผสมพันธุ์ อาศัยอยูไ่ ด้ในสภาพป่าทีห่ ลากหลาย
โดยเฉพาะป่าดงดิบแล้งและป่าดงดิบเขา อาหารเป็น
ใบไม้ หญ้า และดินโป่ง ฝูงกระทิงจะเดินหากินสลับ
กับนอนหลับพักผ่อนตลอดทัง้ วัน ในอุทยานแห่งชาติ
เขาใหญ่พบกระจายอยู่ทั่วทั้งพื้นที่ พบมากบริเวณ
ด้านตะวันออกของอุทยานแห่งชาติ

32 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
หมาใน (Dhole)
เป็นหมาป่าหนึ่งในสองชนิดที่พบในประเทศไทย มีขนาดใหญ่กว่าหมาจิ้งจอก ขนาดและรูปร่าง
คล้ายสุนัข หนักประมาณ 10 - 21 กก. ตัวเมียจะเล็กกว่า หนักประมาณ 13 กก. จมูกสั้น ใบหูกลมใหญ่
ขนสัน้ สีนำ�้ ตาลแดงโดยสีบริเวณท้องจะอ่อนกว่าบริเวณหลัง หางยาวเป็นพวงปลายหางมีสเี ทาเข้มหรือด�ำ
อยู่รวมกันเป็นฝูง โดยปกติจะพบ 6 - 12 ตัว บางครั้งพบมากกว่า 20 ตัว มีระบบประสาทหู ตา และ
การดมกลิ่นดีเยี่ยม บวกกับมีสมาชิกจ�ำนวนมากท�ำให้สามารถล่าเหยื่อที่มีขนาดใหญ่กว่าได้ดังเช่น
กวางป่า และกระทิง ก็ล้วนเป็นเหยื่อของพวกมันทั้งสิ้น โดยในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่มีโอกาสมาก
ที่จะได้พบเห็นฉากการไล่ล่าระหว่างฝูงกับเหยื่อ ตามทุ่งหญ้าริมแหล่งน�้ำต่างๆ เช่น หนองผักชี
อ่างเก็บน�้ำสายศร และหนองขิง
สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 33
กวางป่า (Sambar)
เป็นกวางทีม่ ขี นาดใหญ่ทสี่ ดุ ในภูมภิ าค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ความสูงจากพื้นถึงหัว
ไหล่ประมาณ 140 - 160 ซม. หนักประมาณ
185 - 220 กก. ขนสั้นหยาบสีน�้ำตาลเข้ม พบ
ตามป่าดงดิบทุกภาค ทั้งในป่าระดับต�่ำ ป่าสูง
หากินตามทุ่งโล่ง ชายป่า ในตอนเช้าตรู่และ
พลบค�่ำ กลางวันจะหลับนอนตามพุ่มไม้ กินใบ
และยอดของพืช และเสริมธาตุอาหารด้วยดินโป่ง
พบออกหากินล�ำพังหรือกลุ่มๆ เล็กกับลูกกวาง
ในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จัดเป็น
แหล่งดูกวางป่าทีด่ มี ากแห่งหนึง่ ของประเทศไทย
สามารถพบเห็นได้ง่ายทั้งในเวลากลางวันและ
กลางคืน ในช่วงทีพ่ วกมันพากันออกจากป่าทึบ
เพื่อหากินตามทุ่งหญ้าโล่งชายป่า

เกร็ดความรู้ :
โป่ง (Saltlick) แหล่งแร่ธรรมชาติของสัตว์ป่า
โป่ง คือ สถานที่อันเป็นแหล่งสะสมรวมตัว
กันของแร่ธาตุหลายชนิดซึ่งมีความจ�ำเป็นต่อการใช้
ในร่างกายของสัตว์ป่าโดยเฉพาะอย่างยิ่งสัตว์ป่าพวก
กินพืช (Herbivore) เพือ่ ทดแทนแร่ธาตุทขี่ าดไป โดย
มีทั้งโป่งดิน และโป่งน�้ำ

34 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ปักษา... พาเพลิน
ประเทศไทยตั้งอยู่ในคาบสมุทรอินโดจีน จัดอยู่ในเขตสัตวภูมิศาสตร์ Oreintal อันเป็นเขตที่
พบสัตว์หนาแน่นและหลากหลายชนิด รวมทัง้ นกชนิดต่างๆด้วย เขาใหญ่เป็นผืนป่าขนาดใหญ่และอุดม
สมบูรณ์ที่พบนกได้มากมายกว่า 300 ชนิด จึงเหมาะอย่างยิ่งส�ำหรับการดูนกในธรรมชาติ แหล่งดูนกที่
เป็นทีน่ ยิ มรูจ้ กั กันในชือ่ “ค่ายหมอบุญส่ง” อยูไ่ ม่ไกลจากศูนย์บริการนักท่องเทีย่ วเขาใหญ่และเส้นทาง
ศึกษาธรรมชาติกองแก้ว บริเวณค่ายร่มรืน่ ไปด้วยพรรณไม้ตา่ งๆ เมื่ออยูใ่ นความเงียบและพยายามมอง
หาจะพบนกได้หลากหลายชนิด นอกจากนี้เขาใหญ่ยังมีแหล่งดูนกอีกหลายแห่ง เช่น เส้นทางดงติ้ว-มอ
สิงโต ระยะทาง 2 กม. เส้นทางสายดงติ้ว-หนองผักชี ระยะทาง 4 กม. เส้นทางผากล้วยไม้-เหวสุวัต
ระยะทาง 3 กม. และเส้นทาง กม.33-หนองผักชี ระยะทาง 2.5 กม.

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 35
นกเงือกกรามช้าง
Wreathed hornbill
(Rhyticeros undulatus)

นกเงือก (Hornbill)
เป็นนกขนาดใหญ่ อยู่ในวงศ์
Bucerotidae ทัว่ โลกพบทัง้ หมดมี 52 ชนิด
มีการแพร่กระจายในป่าเขตร้อนของทวีป
แอฟริกาและเอเชียเท่านัน้ ในประเทศไทยมี
นกเงือก 13 ชนิด อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
และบริเวณผืนป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่
สามารถพบนกเงือกได้ถึง 4 ชนิด ได้แก่
นกกกหรือนกกาฮัง นกเงือกกรามช้าง
นกเงือกสีน�้ำตาลคอขาว และนกแก๊กหรือ
นกแกง

36 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
นกพญาปากกว้างหางยาว (Long-tailed Broadbill)
หัวด�ำคล้ายใส่หมวกกันน็อกดูน่ารัก มีแต้มเหลืองข้างท้ายทอย หน้าและคอเหลือง ปากเหลือง
แกมเขียว ขนล�ำตัวเขียว ขนปีกบินแกมสีฟ้า มีแถบกลมสีขาวที่ปีกเห็นชัดขณะบิน หางสีฟ้าสด เป็นนก
ประจ�ำถิ่นที่พบได้ค่อนข้างบ่อยบริเวณลานกางเต็นท์ผากล้วยไม้ และตามเส้นทางศึกษาธรรมชาติใน
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 37
นกสาลิกาเขียว (Green Magpie)
นกสาลิกาเขียว เป็นนกในวงศ์นกกา
(Corvidae) มีปากหนาสีแดงสด วงรอบตาสีแดงและ
มีแถบสีด�ำคาดเหมือนหน้ากาก บริเวณกระหม่อม
สีเขียวอมเหลือง ล�ำตัวด้านบนสีเขียวสด ใต้ท้อง
สีเขียวอ่อน ช่วงปีกตรงหัวไหล่เป็นสีเขียว ปลายปีก
เป็นสีแดงเข้ม และตอนในของขนกลางปีกมีแถบสีดำ�
สลับขาว ขาสีแดงสด ใต้หางมีสดี ำ� สลับขาว และส่วน
ปลายหางจะเป็นสีขาว พบได้บอ่ ยทีค่ า่ ยหมอบุญส่ง
และทั่วไปในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่

38 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
นกขุนแผนอกส้ม (Orange-breasted Trogon)
ลักษณะเด่นคือ อกสีส้ม ไล่ลงไปเป็นสีเหลืองที่ก้น หัวสีเขียวไพล หลังและขนคลุมบนหางสี
น�้ำตาลแดง เพศผู้มีลายขาวสลับด�ำที่ปีก ส่วนเพศเมียมีลายสีด�ำสลับน�้ำตาลอ่อน และมีหัวสีเขียวอม
น�้ำตาลมากกว่าเพศผู้ นกขุนแผนอกสีส้มเป็นนกขุนแผนที่พบมากที่สุดในประเทศไทย มักเกาะสูง และ
พบได้บ่อยที่ค่ายหมอบุญส่ง

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 39
ดินแดนแห่ง สายพันธุ์พิเศษ
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ เป็นอุทยานแห่งชาติที่มียอดเขาสูงที่สุดในภาคกลาง มีพื้นที่ตั้งอยู่
ทางด้านทิศตะวันตกของเทือกเขาพนมดงรัก มีที่ราบภาคกลางเป็นแนวเชื่อมต่อกับที่ราบสูงโคราช
มีความงดงามทางธรรมชาติทงั้ ป่าไม้และภูเขา ด้วยปัจจัยทัง้ ทางกายภาพและชีวภาพ กอปรกับสภาพแวดล้อม
และอิทธิพลของสภาพภูมิอากาศ ภูมิประเทศอันส่งผลให้ดินแดนแห่งนี้ ปรากฏสายพันธุ์พืชและสัตว์
ที่น่าสนใจหลายชนิด ที่เป็นสายพันธุ์พิเศษพบได้เฉพาะแห่งเดียวของภูมิภาค

พืชชนิดใหม่ของโลก
“ว่านแผ่นดินเย็นเขาใหญ่”
ว่านแผ่นดินเย็นเขาใหญ่
Nervilia khaoyaica Suddee (Watthana & S.W. Gale)
ว่านแผ่นดินเย็นเขาใหญ่ หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ว่านพระฉิม เป็นกล้วยไม้ดินในสกุล Nervilia
ขึ้นอยู่บนเขาที่มีความสูงจากระดับทะเลปานกลาง 733 เมตร ความสูงของต้นตั้งแต่หัวใต้ดินถึงช่อดอก
ประมาณ 9 ซม. ดอกมีกลีบเลี้ยงสีน�้ำตาลอ่อนแกมเขียวไปจนถึงน�้ำตาลเข้มหรือน�้ำตาลแดง 5 กลีบ
กลีบปากมีแถบสีเขียวหรือบางดอกมีสเี หลืองตรงกลางกลีบและมีเส้นและจุดสีมว่ ง กระจายอยูร่ อบๆ กลีบ
ดอกใบมีลักษณะพิเศษคือเป็นรูปหัวใจ ทรงเหลี่ยม ยาว 4.8-6.7 ซม. กว้าง 5.5-6.8 ซม. บางต้นออกใบ
เป็นสีม่วง บางต้นใบเป็นสีเขียว พบขึ้นประปรายบริเวณป่าดิบชื้น ระหว่างเส้นทางไปน�้ำตกผากล้วยไม้
ออกดอกประมาณเดือนมีนาคม ออกใบประมาณเดือนมีนาคม–กันยายน
40 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
5 มม. 1 ซม.
5 มม. 1 มม.

ดอก ผล

หญ้าคางเลือยเขาใหญ่
Scutellaria khaoyaiensis A. J. Paton
(Lamiaceae)
เป็นไม้พืชล้มลุกชนิดใหม่ของโลก พบบริเวณเขาเขียว อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ มักพบขึ้นตาม
ที่ชื้นบนก้อนหินตามล�ำธาร สูงประมาณ 20-40 ซม. ช่อดอกออกที่ปลายยอด ดอกออกตรงข้ามกัน
กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 3 มม. มีขนต่อม กลีบดอกโคนเชื่อมกันเป็นหลอดโค้งสีน�้ำเงินเข้ม กลีบล่างมี
แต้มสีขาวตรงกลาง ยาวได้ถึง 1.2 ซม. ออกดอกและเป็นผล เดือนตุลาคม-กุมภาพันธ์
ใบรูปรีหรือมีด ขนาด 4-6x2-3 ซม. ขอบใบหยักฟันเลื่อย ปลายใบแหลม ฐานใบรูปลิ่ม ใบเกลี้ยง
และมีขนบ้างประปรายที่เส้นใบ ไม่มีต่อม ก้านใบยาว 2-4 ซม. เมล็ดสีน�้ำตาล

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 41
พบถิ่นเดียวในโลก “ด้วงคีมละมั่งด�ำเขาใหญ่”

ด้วงคีมละมั่งด�ำเขาใหญ่
Hexarthrius nigritus Lacroix, 1990
Lucanidae
ด้วงคีมละมั่งด�ำเขาใหญ่ มีสีด�ำสนิททั้งสองเพศ เพศผู้มีกรามปากที่แข็งแรง ตรงปลายแตกออก
เป็นแฉกเหมือนไม้ง่าม ปีกเรียบมันไม่มีร่อง หนวดเป็นแบบหักข้อศอก (geniculate) ตรงปลายเป็นแผ่น
แบนมี 5 ปล้อง เพศเมียมีลกั ษณะคล้ายตัวผู้ แต่กรามปากมีขนาดเล็ก แผ่นแข็งข้างตายืน่ ลงมาถึงกึง่ กลาง
ของตา เพศผู้มีขนาด 48-80 มม. เพศเมียมีขนาด 38-41 มม.
ด้วงคีมละมัง่ ด�ำเขาใหญ่ เป็นด้วงทีพ่ บถิน่ เดียวใน
โลกคือ ที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ เรามีโอกาสพบเห็นด้วง
คีมละมัง่ เขาใหญ่ได้ในช่วงฤดูฝน โดยการสังเกตบริเวณทีม่ ี
แสงไฟในเวลากลางคืนซึง่ แมลงจะมาเล่นไฟ หากโชคดีเรา
จะได้พบเห็นด้วงถิ่นเดียวชนิดนี้อย่างแน่นอน

42 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ดอกไม้หิน
Polypleurum ubonense
Podostemaceae
ดอกไม้หนิ มีลกั ษณะโดดเด่นอยูท่ ชี่ พี ลักษณ์ของมันซึง่ ขึน้
อยูบ่ นหินทีม่ นี ำ�้ ไหลเชีย่ ว เช่น ล�ำธาร น�ำ้ ตก โดยทัว่ ไปดอกไม้หนิ
จะจมอยู่ใต้น�้ำ มีชีวิตอยู่ใต้สายน�้ำในยามฝน แต่เมื่อหน้าแล้ง
มาถึงระดับน�้ำลดลงจะมีบางส่วนโผล่พ้นน�้ำขึ้นมา แต่เนื่องจาก
มีขนาดเล็กมากก็มักจะถูกมองข้ามไป
ดอกไม้หนิ ทีพ่ บในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ เป็นพืชชนิด
ใหม่ของโลกที่มีรายงาน เป็นพืชล้มลุกอายุหลายปี มีรากเป็น
แผ่นแข็งเปราะและมีใบเป็นเกล็ดเล็ก ดอกสมบูรณ์เพศเล็กมาก
ออกเดี่ยวๆ ที่ปลายยอด มีก้านดอกสั้น และอยู่ในกาบเล็กก่อน
ที่จะบาน ดอกมีเพียงกลีบรวม 2 กลีบ เกสรเพศผู้ 2 อัน รังไข่
ติดเหนือวงกลีบ มี 2 ช่อง เจริญเป็นผลแบบแก่แตกมี 2 เสี่ยง
บริเวณที่พบดอกไม้หินกระจายพันธุ์อยู่คือ บริเวณแก่ง
หินเพิง ซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่

รอยตีนไดโนเสาร์ (Footprint)
ร่องรอยดึกด�ำบรรพ์ทพี่ บได้บริเวณ
ล�ำน�้ำใสใหญ่ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
เป็นที่อยู่ของไดโนเสาร์ซึ่งพบหลักฐาน
เป็นรอยตีนไดโนเสาร์กินเนื้อเทอร์โรพอด
อายุประมาณ 140 ล้านปี ซึ่งเดิน 2 เท้า
ขนาดใหญ่ ได้ ตั้ ง ชื่ อ ไดโนเสาร์ จ าก
รอยตี น โดยให้ เ กี ย รติ แ ก่ แ หล่ ง ที่ พ บ
ร่องรอยของซากดึกด�ำบรรพ์น้ีครั้งแรก
ว่า “สยามโมโพตัส เขาใหญ่เอนซิส
(Siamopodus khaoyaiensis)” รวมถึง
พวกออร์นิโธพอด และซีลูโรซอร์ ซึ่งเป็น
ไดโนเสาร์ขนาดเล็ก

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 43
แหล่งท่องเที่ยว
ในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่

44 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 45
ศาลเจ้าพ่อเขาใหญ่
ศาลเจ้าพ่อเขาใหญ่ เป็นทีเ่ คารพของคนใน หลังจากได้มีการส�ำรวจจัดตั้งป่าเขาใหญ่
พืน้ ทีแ่ ละจังหวัดใกล้เคียง เจ้าพ่อเขาใหญ่เดิมท่าน เป็นอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ฯพณฯ จอมพลสฤษดิ์
ชือ่ นายจ่าง นิสยั สัตย์ บ้านเกิดอยูจ่ งั หวัดนครนายก ธนะรัชต์ ได้เกิดนิมติ ฝันถึงเจ้าผูค้ มุ้ ครองเหล่าสรรพ
รับราชการเป็นปลัดกองทัพไทย สัตว์และป่าบนเขาใหญ่ จึงได้สั่งการให้มีการจัดตั้ง
ครัง้ หนึง่ ท่านทราบว่า ลูกน้องเก่าของท่าน ศาลเจ้าพ่อขึ้นที่บริเวณ กม. 23 ถนนธนะรัชต์ และ
ได้ตงั้ ตัวเป็นโจรบนเขาใหญ่ และเห็นลูกน้องถางป่า ได้อนั เชิญดวงวิญญาณของท่านมาสถิตไว้ ณ ศาลเจ้า
บนเขาใหญ่จนเตียนโล่งก็เสียใจมาก ท่านจึงขอให้ พ่อ และขนานนามว่า “ศาลเจ้าพ่อเขาใหญ่” และ
ลูกน้องเลิกและอพยพกันลงไปอยูข่ า้ งล่าง แต่มโี จร ในวันที่ 26 มกราคมของทุกปี จะมีการบวงสรวง
กลุม่ หนึง่ ไม่ยอมเชือ่ จึงมีการนัดพบกันแต่ตกลงกัน ระลึกถึงพระคุณท่าน
ไม่ได้ เกิดการต่อสูก้ นั ขึน้ ปรากฏว่าหัวหน้าโจรกลุม่
นั้นถูกยิงเสียชีวิต
ในยุคนัน้ ท่านเป็นบุคคลทีช่ าวบ้านให้ความ
เคารพย�ำเกรงเป็นอย่างมาก เพราะท่านมีน�้ำใจ
โอบอ้อมอารี ให้ความช่วยเหลือต่อชาวบ้านใน
ทุกๆ ด้าน ท่านเสียชีวิตลงด้วยไข้ป่าเมื่อวัย 75 ปี
ชาวบ้านต่างพร้อมใจกันตั้งศาลเพียงตาไว้ให้ที่ใต้
ต้นกระบากใหญ่ บริเวณวัดหนองเคี่ยม จังหวัด
นครนายก เรียกศาลนั้นว่า “ศาลเจ้าพ่อปลัดจ่าง”
46 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
รื่นรมย์ไพรไปในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
จากความยิง่ ใหญ่ของพืน้ ทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติเขาใหญ่ ทีค่ ลอบคลุมุ ถึง 4 จังหวัด จนถึงความงดงาม
ทางธรรมชาติ ทั้งป่าไม้ ภูเขา น�้ำตก และสัตว์ป่า กอปรกับเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ อันน�ำมาซึ่ง
การจัดตัง้ อุทยานแห่งชาติแห่งแรกของประเทศไทย ตลอดจนการได้มาซึง่ ผืนป่ามรดกโลกทางธรรมชาติ
ดินแดนแห่งนี้จึงมากมายไปด้วยสถานที่ท่องเที่ยวและแหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติ ที่น่าหลงไหลส�ำหรับ
ท่านที่เดินทางเข้าสู่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 47
48 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
จุดชมทิวทัศน์ผาเดียวดาย
จุดชมทิวทัศน์ทสี่ วยงามอีกจุดหนึง่
บนเขาใหญ่สามารถมองเห็นทิวทัศน์ได้ 180
องศา ทางเข้าอยู่ริมถนนเส้นทางขึ้นเขา
เขียว จากนั้นเดินตามเส้นศึกษาธรรมชาติ
อีก 300 ม. ตลอดเส้นทางปกคลุมด้วยป่าดิบ
เขาที่สมบูรณ์ในระดับ 1,200 เมตรจาก
ระดับทะเลปานกลางส่งผลให้มอี ากาศหนาว
เย็นเกือบทั้งปี พันธุ์ไม้เป็นชนิดที่พบเห็นได้
เฉพาะป่าดิบเขาเท่านั้น เช่น พญาไม้ สาม
พันปี ก่อชนิดต่างๆ ซึง่ แต่ละต้นมีมอสส์และ
ไลเคนปกคลุมราวกับต้นไม้ใส่เสือ้ และหาก
สังเกตดีๆ ก็จะพบไม้อิงอาศัยอื่นๆ ปะปน
อยู่ด้วย เช่น กล้วยไม้ ว่านไก่แดง ส่วนพืช
พื้นล่างก็พบ ดอกหงส์เหินสีเหลืองสด และ
ดอกนางสนม เป็นต้น
บริเวณจุดชมทิวทัศน์สามารถมอง
เห็นความสวยงามของธรรมชาติกบั เรือนยอด
ของป่าดิบเขาทีเ่ บียดเสียดกันแน่นขนัด มอง
ตรงไปก็พบกับยอดเขาร่มซึ่งเป็นจุดสูงสุด
ของอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 49
50 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
น�้ำตกเหวนรก
ความสวยงามที่แฝงด้วยอันตราย
เป็นค�ำกล่าวขานของน�้ำตกแห่งนี้ เพราะ
ความสูงชันและกระแสน�ำ้ ทีไ่ หลเชีย่ ว จึงเกิด
โศกนาฏกรรมกลางดึกของคืนวันที่ 2 สิงหาคม
2535 ครอบครัวช้างป่าแม่ลูกรวม 8 ตัว ตก
เหวตายขณะก�ำลังเดินข้ามธารน�ำ้ เหนือน�ำ้ ตก
เหวนรก กลางป่าเขาใหญ่ กลายเป็นต�ำนาน
สุสานช้าง แม้กระนัน้ ความสวยงามก็ยงั ดึงดูด
ผูค้ นจากทัว่ สารทิศมาเยีย่ มชมกันไม่ขาดสาย
น�้ำตกเหวนรก เป็นน�้ำตกที่เกิด
จากหินตะกอนภูเขาไฟทีถ่ กู ทับด้วยกลุม่ หิน
โคราช เมื่อสายน�้ำจากคลองท่าด่านไหลมา
ถึงก็กัดกร่อนหินโคราชจนแตกหักหลุดร่วง
ลงไปเรื่อยๆ เกิดเป็นหน้าผาสูงชันมีสายน�้ำ
ตกลงสูเ่ บือ้ งล่างในแนวดิง่ ขนานไปกับความ
เขียวชอุ่มของป่าดิบแล้งซึ่งมีเรือนยอดหนา
แน่น หากมาในช่วงปลายฤดูฝนน�้ำตกจะมี
ความสวยงามมาก

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 51
น�้ำตกผากล้วยไม้
เป็นน�ำ้ ตกขนาดกลางทีไ่ ม่ใหญ่มาก
มีต้นน�้ำมาจากห้วยล�ำตะคอง ไหลผ่าน
หน้าผาลดหลั่นกันลงมา สูงประมาณ 10
เมตร ตัวน�ำ้ ตกผากล้วยไม้อยูห่ า่ งจากศูนย์
บริการนักท่องเที่ยวเขาใหญ่ ประมาณ 7
กิโลเมตร สามารถเข้าถึงได้โดยทางรถยนต์
และทางเดินเท้า ทางเดินเริ่มจากจุดกาง
เต็นท์ผากล้วยไม้ไปประมาณ 1 กิโลเมตร
โดยเดินเท้าเลียบไปตามห้วยล�ำตะคองที่
ผ่านป่าดงดิบ ระหว่างทางมีโอกาสพบนก
ได้หลายชนิด อาทิ นกกางเขนน�้ำหลังเทา
นกกะรางคอด�ำ นกปรอดโอ่งเมืองเหนือ
และเมือ่ ถึงน�ำ้ ตก จะพบกับกล้วยไม้หลาย
ชนิดทีข่ นึ้ อยู่ โดยเฉพาะกล้วยไม้หวายแดง
อันเป็นที่มาของชื่อน�้ำตกแห่งนี้

52 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 53
54 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
น�้ำตกเหวสุวัต
ในอดีตได้เกิดเหตุการณ์ภูเขาไฟ
ระเบิดขึ้นที่นี่ ท�ำให้ชั้นหินพุ่งตัวขึ้นสูง
ปะปนกับลาวาและตกลงกระทบกับพืน้ หิน
กลายเป็น “หินกรวดเหลีย่ มภูเขาไฟ” ทีท่ บั ถม
กันอยูท่ นี่ นี่ านนับล้านๆ ปี เมือ่ สายน�ำ้ จาก
ล�ำตะคองไหลมาถึงได้พัดพาเอาหินกรวด
เหล่านีก้ ดั เซาะชัน้ ดินและหินด้านล่างเกิด
เป็นโพรงและทลายกลายเป็นหน้าผาในทีส่ ดุ
ปัจจุบันบริเวณนี้ไม่เหลือความระอุร้อน
ของภูเขาไฟอีกแล้ว คงเหลือแต่สายน�้ำที่
ไหลจากหน้าผาลงสู่แอ่งน�ำ้ เบื้องล่างผ่าน
ร่มไม้อันสดชื่นและร่องรอยทางธรณีให้
ผู้คนที่แวะเวียนมาได้พักผ่อนหย่อนใจไป
พร้อมๆ กับการศึกษาทางธรณี

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 55
56 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
น�้ำตกธารรัตนา
จากด่านเนินหอม เดินทางบนถนน
เส้นธนะรัชต์ประมาณ 10 กม. ฝัง่ ตรงข้าม
กับเส้นทางเดินขึน้ สูย่ อดสมอปูน ทางด้าน
ซ้ายมือมีเส้นทางเดินระยะทางสั้นๆ เพื่อ
ลงไปยังน�้ำตกธารรัตนา
น�ำ้ ตกธารรัตนาเป็นน�ำ้ ตกขนาดเล็ก
มีต้นน�้ำจากเขาสมอปูน ในเขตจังหวัด
ปราจีนบุรี ไปสูอ่ า่ งเก็บน�ำ้ วังบอนในพืน้ ที่
จังหวัดนครนายก เมือ่ เดินลงไปตามเส้นทาง
จะพบแก่งน�้ำตกที่ไหลผ่านลานหินกว้าง
ตัวน�ำ้ ตกกว้างประมาณ 8-10 ม. มีความสูง
ประมาณ 2-3 ม. บริเวณโดยรอบเป็น
ผืนป่าดิบแล้งที่ชุ่มชื้นเหมาะส�ำหรับเป็น
แหล่งพักผ่อนหย่อนใจระหว่างเส้นทางขึน้
สูบ่ ริเวณทีท่ ำ� การอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่

เขาสมอปูน

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 57
58 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
จุดชมทิวทัศน์ กม.30
กิโลเมตรที่ 30 ของถนนธนะรัชต์ เป็นจุดชมทัศนียภาพทางด้านทิศเหนือที่สวยงามแห่งหนึ่ง
ของอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ สามารถชมทิวทัศน์ของทะเลหมอกในยามเช้ากับแนวภูเขาที่สลับซับซ้อน
ส่วนยามเย็นช่วงโพล้เพล้อาจจะเห็นฝูงค้างค้าวบินออกหากินจากถ�ำ้ บนเขาลูกช้าง ส�ำหรับแนวทิวเขาที่
ไกลสุดสายตานั้น คือ เขาแผงม้า ที่อยู่ห่างไปอีกหลายสิบกิโลเมตร

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 59
60 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
สายศร สามเวลา
บนเขาใหญ่มีแหล่งน�้ำที่ส�ำคัญอยู่ใจกลางพื้นที่
เดิมเรียกว่า อ่างเก็บน�้ำมอสิงโต ตามลักษณะภูเขาด้าน
หลัง แต่ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น “อ่างเก็บน�้ำสายศร” เพื่อ
เป็นเกียรติแก่ นายบุญเรือง สายศร หัวหน้าอุทยานแห่ง
ชาติเขาใหญ่คนแรก ผู้ด�ำเนินการสร้างอ่างเก็บน�้ำ เพื่อ
เป็นแหล่งน�้ำส�ำหรับใช้อุปโภคบริโภคภายในอุทยาน
แห่งชาติเขาใหญ่ และเพื่อเป็นแหล่งน�้ำให้สัตว์ป่าได้
หากิน บริเวณรอบอ่างเก็บน�้ำมีทัศนียภาพที่สวยงาม
เหมาะส�ำหรับพักผ่อนหย่อนใจ ชมดวงอาทิตย์ขึ้นยาม
เช้า เฝ้าดูสัตว์ป่าค่อยๆ ออกหากิน ตั้งแต่นกที่บินไปมา
บนท้องฟ้า ลิงและชะนีหาลูกไม้กนิ บนต้นไม้ เก้ง กวางป่า
หมาใน ถ้าโชคดีกอ็ าจจะเจอช้างป่าลงมากินหญ้า ดินโป่ง
หรือกินน�้ำ ไปจนถึงในน�้ำที่มีปลานานาพันธุ์แหวกว่าย
ไปมาให้ชื่นชม ในช่วงกลางวันสามารถเดินเล่นจาก
อ่างเก็บน�้ำไปตามถนนผ่านโป่งทุ่งกวางที่มีลักษณะเป็น
ทุ่งหญ้าอันเกิดจากการถางป่าเพื่อท�ำการเกษตรของ
ชาวบ้านต�ำบลเขาใหญ่ แต่เมือ่ ทางราชการอพยพชาวบ้าน
ลงไปอยูใ่ นทีล่ มุ่ ทีร่ าบทีถ่ กู ถางไว้จงึ กลายเป็นทุง่ หญ้าที่
มีความสวยงาม และเป็นแหล่งอาหารของสัตว์ป่าน้อย
ใหญ่ หากมาเฝ้าดูสตั ว์ทนี่ ี่ ถ้าโชคดีอาจจะเจอโขลงช้างป่า
พากันมาหากิน เมือ่ ดวงอาทิตย์ลบั ขอบฟ้าปราศจากแสง
รบกวนจากตัวเมือง ท้องฟ้าเหนืออ่างเก็บน�ำ้ และทุง่ หญ้า
จะเต็มไปด้วยดวงดาวนับล้านส่องแสงระยิบระยับให้
แหงนมองได้ไม่มีเบื่อ

หากท่านพบเห็นทุ่งหญ้าสองข้างทางด�ำไหม้
เกรียม ดูแล้วมีลักษณะเหมือนโดนไฟไหม้ นั่นคือ การ
เผาหญ้าโดยเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติ เป็นการชิงเผา
เพือ่ ป้องกันไม่ให้เกิดไฟป่ารุนแรง และเพือ่ ให้หญ้าระบัด
ใหม่เพิ่มแหล่งอาหารให้สัตว์กินพืชชนิดต่างๆ
สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 61
ลัดเลาะ...
ขอบอุทยานแห่งชาติ
สถานที่ท่องเที่ยวของอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่นั้นมิได้มี
เฉพาะบนเขาใหญ่ในบริเวณของที่ท�ำการอุทยานแห่งชาติเท่านั้น
แต่ยงั มีสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทีน่ า่ สนใจและธรรมชาติทสี่ วยงามอีกมาก อาทิ
น�ำ้ ตกโกรกอีดก น�ำ้ ตกสาริกา คลองปลากัง้ แก่งหินเพิง น�ำ้ ตกส้มป่อย
น�้ำตกสลัดได น�้ำตกตะคร้อ น�้ำตกผาตะแบก น�้ำตกเหวประทุน
น�้ำตกเหวไทร และน�้ำตกกองแก้ว
แก่งหินเพิง
แก่งหินเพิง เป็นแก่งหินตอนปลายสุดของแม่นำ�้ ใสใหญ่ ตัง้ อยู่
ที่หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ขญ. 9 (ใสใหญ่) อ�ำเภอนาดี
จังหวัดปราจีนบุรี ก่อนจะถึงบริเวณตัวแก่งจะต้องเดินผ่านป่าไผ่ไปยัง
ต้นน�้ำ ระยะทางประมาณ 2.5 กม. ใช้เวลาประมาณ 45 นาที จากนั้น
ล่องเรือยางลงมาผ่านแก่งวังบอน แก่งลูกเสือ ไปยังแก่งวังไทร และ
แก่งงูเห่าเป็นอันดับสุดท้าย รวมระยะทางประมาณ 2 กม. ใช้เวลา
ประมาณ 2 ชั่วโมง ช่วงเวลาที่เหมาะแก่การล่องแก่ง คือ ฤดูฝน ตั้งแต่
เดือนกรกฎาคมถึงเดือนตุลาคม เพราะกระแสน�้ำจะไหลเชี่ยวกราก
มีความเหมาะสมอย่างยิ่งส�ำหรับผู้ที่ชอบความท้าทายกับสายน�้ำ
จุดเริ่มต้น 4.5 กม.
แก่งหินเพิง
ล่องแก่งหินเพิง
แก่งวังหนามล้อม

7 กม.
แก่งวังบอน
จุดเริ่มต้น 2.5 กม.
แก่งลูกเสือ
ถนน

กองอ�ำนวยการ แพข้าม
N หน่วยปลูกป่า ห้วยใสใหญ่
แก่งวังไทร
W E จุดเริ่มต้น 7 กม.
แก่งงูเห่า
S
7 กม.
62 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
นอกจากจะเป็นแหล่งท่องเที่ยวผจญภัยทางน�้ำแล้ว ในยามที่นำ�้ ลดลงแก่งหินเพิงยัง
เป็นแหล่งศึกษาทางธรณีได้ด้วย แก่งหินเพิงคือ ประจักษ์พยานแห่งพลังอ�ำนาจของสายน�้ำ
ซึ่งสามารถตกแต่งหินให้มีลวดลายสวยงาม ทั้งสะพานหินโค้ง บางแห่งเป็นหลุมยุบที่เกิดจาก
ตะกอนกรวดทรายถูกน�้ำพัดพาให้ไหลวนกัดกร่อนหินแข็งให้กลายเป็นหลุมลึกลงไปเรียกว่า
“กุมภลักษณ์” (Pothole)

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 63
คลองปลากั้ง
คลองปลากัง้ เป็นทีต่ งั้ ของหน่วยพิทกั ษ์อทุ ยานแห่งชาติที่ ขญ.4 (คลองปลากัง้ ) สถานทีแ่ ห่งนีถ้ อื
เป็นแหล่งดูกระทิงที่โดดเด่นที่สุดในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ตั้งอยู่ในท้องที่อ�ำเภอวังน�้ำเขียว ทาง
ด้านทิศตะวันออกของอุทยานแห่งชาติ ในอดีตพื้นที่คลองปลากั้งมีการปรากฏตัวของกระทิงมานานนับ
สิบปีแล้วแต่ทางอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่เพิ่งเปิดให้มีการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและชมกระทิงเมื่อไม่กี่ปีที่
ผ่านมานี้ โดยมีการจัดท�ำหอดูสตั ว์ให้นกั ท่องเทีย่ วเข้ามาซุม่ รอชมกระทิงในช่วงเย็นถึงหัวค�ำ่ และกิจกรรม
การส่องกระทิงในเวลากลางคืน ซึง่ ทางอุทยานแห่งชาติจะท�ำหน้าทีจ่ ดั หารถและมัคคุเทศก์ทอ้ งถิน่ น�ำทาง
การชมกระทิงในธรรมชาติ จ�ำเป็นต้องปฏิบัติตัวตามค�ำแนะน�ำของเจ้าหน้าที่อย่างเคร่งครัด
เนื่องจากกระทิงเป็นสัตว์ป่าที่มีสัญชาตญาณการระวังไพรสูง โอกาสพบเจอจึงไม่แน่นอน ดังนั้น การ
ปฏิบัติตัวตามค�ำแนะน�ำของเจ้าหน้าที่ก็จะเพิ่มโอกาสในการได้เห็นกระทิงมากยิ่งขึ้นนั่นเอง
นอกจากนี้ หากท่านต้องการท่องเทีย่ วแบบเดินเท้า ท่านสามารถติดต่อมัคคุเทศก์นำ� ทาง พาเข้า
เที่ยวชมธรรมชาติบนเส้นทางศึกษาธรรมชาติที่ทางอุทยานแห่งชาติได้จัดท�ำขึ้นอีกด้วย

64 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 65
66 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
น�้ำตกโกรกอีดก
น�้ำตกโกรกอีดก ตั้งอยู่ใน ต.หินตั้ง
ห่างจากตัวเมืองนครนายก ประมาณ 20 กม.
เป็นน�้ำตกขนาดกลาง ตัวน�้ำตกมีลักษณะ
ไหลลดหลัน่ กันเป็นชัน้ ๆ มีความสูงไม่มากนัก
แต่ละชั้นจะเหมือนกับเป็นอ่างเก็บน�้ำมีท้ัง
ขนาดใหญ่และเล็กส�ำหรับรองรับน�้ำตกที่
ไหลลงมา เหมาะส�ำหรับลงเล่นน�ำ้ ซึง่ สามารถ
เลือกลงเล่นได้หลายจุด เที่ยวได้ทุกฤดูกาล
มีน�้ำไหลตลอดปี

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 67
68 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
น�้ำตกสาริกา
น�้ำตกสาริกา ตั้งอยู่ที่ ต.สาริกา อ.เมือง จ.นครนายก เป็นน�้ำตกขนาดใหญ่สายน�้ำไหล
ตกจากหน้าผาเป็นทอดๆ ถึง 9 ชั้น ผาที่สูงที่สุดประมาณ 100 ม. แต่ละชั้นมีอ่างรับน�้ำขนาดย่อม
เหมาะแก่การลงเล่นน�้ำ บริเวณน�้ำตกชั้นล่างมีแอ่งน�้ำให้เล่นน�้ำได้ และมีทางเดินต่อไปตามธารน�้ำที่ไหล
ตกลงมาเป็นชั้นๆ จนไปถึงแอ่งน�้ำกว้างและโขดหินก้อนใหญ่ มองขึ้นไปจะเห็นน�้ำตกชั้นสูงที่สุด น�้ำตก
สาริกามีน�้ำไหลเกือบตลอดปี และในฤดูฝนจะมีปริมาณน�้ำมาก
สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 69
กิจกรรม
ที่น่าสนใจ

ด้วยความอุดมสมบูรณ์ของผืนป่าที่มีความหลากหลายทางชีวภาพทั้งพืชและสัตว์ ตลอด
จนทัศนียภาพที่งดงาม อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่จึงมีกิจกรรมนันทนาการหลากหลายรองรับนัก
ท่องเที่ยว เช่น เดินป่าศึกษาธรรมชาติ เดินป่าระยะไกล ดูนก ดูผีเสื้อ ส่องสัตว์ ถ่ายภาพ ล่องแก่ง
ปั่นจักรยาน และดูดาว

70 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 71
เส้นทางเดินป่า ศึกษาธรรมชาติ
เนื่องจากอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่มีอาณาบริเวณกว้างขวางและมีความสมบูรณ์ของธรรมชาติ
มาก การท่องเที่ยวชมธรรมชาติจึงมีหลายเส้นทางให้เลือก ดังนี้

เดินป่า
ศึกษาธรรมชาติ
ระยะไกล้

กม.33-หนองผักชี
ระยะทางประมาณ 2.5 กม. ใช้เวลาเดิน 1.5 - 2 ชม. จุดเริม่ ต้นอยูร่ มิ ถนนบริเวณกิโลเมตรที่ 33
ด้านหน้ามีลานจอดรถเล็กๆ เส้นทางในช่วงแรกจะผ่านป่าดิบแล้งทีม่ คี วามสมบูรณ์ มีไม้ใหญ่ให้รม่ เงาตลอด
ทาง สามารถพบเห็นสัตว์ปา่ ได้งา่ ย บางครัง้ อาจได้พบนกเงือกจับคูท่ ำ� รังอยูใ่ นโพรงไม้ หากเดินด้วยความ
ระมัดระวังคอยเงีย่ หูฟงั เสียง และสังเกตสิง่ รอบตัวจะได้พบความสวยงามทีธ่ รรมชาติสร้างสรรค์ไว้ เมือ่
ผ่านป่าดิบแล้งจะเจอทุง่ หญ้าและทางถนนลูกรังไปยังหอดูสตั ว์หนองผักชี ทีน่ สี่ ามารถเฝ้าดูสตั ว์นอ้ ยใหญ่
ออกหากินตามแหล่งน�ำ้ ในทุง่ หญ้า และอาจได้พบช้างป่า กระทิง ชะนี นกเงือก และสัตว์อนื่ ๆ มากมาย
72 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ดงติ้ว-หนองผักชี
ระยะทาง 5.4 กม. ใช้เวลาเดิน 2.5 - 3 ชม.
จุดเริ่มต้นอยู่ริมถนนฝั่งตรงข้ามศูนย์บริการนักท่อง
เทีย่ วเขาใหญ่เยือ้ งโรงอาหารขึน้ เนินไปทางทิศใต้ หลัง
จากเดินไปประมาณ 2.5 กม. จะพบทุง่ หญ้าและป่า
รุน่ สองทีก่ ำ� ลังฟืน้ ตัว ต้นไม้ในบริเวณนีจ้ ะมีขนาดใกล้
เคียงกัน ส่วนใหญ่เป็นต้นติว้ ขนทีข่ นึ้ โดดเด่น จากนัน้
จึงเข้าสูป่ า่ ดิบแล้งทีส่ มบูรณ์มตี น้ ไม้ใหญ่ขนึ้ อย่างหนา
แน่น เช่น สมพง ไทร พืชพืน้ ล่างก็เขียวชอุม่ ไปด้วย
ไม้ในกลุม่ หวายและปาล์ม ทีแ่ ข่งกันสูงเพือ่ หาแสง
จากป่าดิบแล้งในเส้นทางช่วงสุดท้ายของทาง
เดินจะตัดออกสูท่ งุ่ หญ้าโล่งบริเวณหอดูสตั ว์หนองผักชี
บริเวณนี้เป็นทุ่งหญ้าที่เกิดจากการท�ำการเกษตรใน
อดีต ปัจจุบนั มีการจัดการเพือ่ เป็นแหล่งอาหารส�ำหรับ
สัตว์ปา่ เช่น กวางป่า ช้าง เก้ง เป็นต้น

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 73
ดงติ้ว–อ่างเก็บน�้ำสายศร
จุดเริม่ ต้นเส้นทางอยูบ่ ริเวณริมถนนฝัง่ ตรงข้ามศูนย์บริการนักท่องเทีย่ ว ระยะทาง 2.7 กม. ใช้
เวลาเดิน 1.5-2 ชัว่ โมง ในช่วงแรกของเส้นทางจะพบกับป่าดิบทีเ่ ป็นสังคมป่าทีพ่ งึ่ ฟืน้ ตัวขึน้ เป็นหย่อมๆ
และยังคงมีไม้ใหญ่ให้เห็นอยู่ ระหว่างเส้นทางเดินทีต่ ดั สลับกับเนินเขามีหนิ ทรายทีถ่ กู ปกคลุมด้วยมอสส์
เฟิน ในฤดูฝนจะพบดอกไม้หลากหลายชนิด เช่น หงส์เหิน บีโกเนีย และชาฤาษี จากนัน้ เส้นทางจะน�ำสู่
ป่ารุน่ สองบริเวณนีพ้ บนกหลายชนิดเนือ่ งจากพืน้ ทีค่ อ่ นข้างโล่ง เช่น นกโพระดกหน้าผากด�ำ นกปรอดคอลาย
ปรอดเหลืองหัวจุก นกบัง้ รอกใหญ่ จนกระทัง่ ถึงอ่างเก็บน�ำ้ สายศร

74 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ลานกางเต็นท์ผากล้วยไม้–น�้ำตกเหวสุวัต
จุดเริม่ ต้นเส้นทางอยูบ่ ริเวณลานกางเต็นท์ผากล้วยไม้ไป
สิน้ สุดทีน่ ำ�้ ตกเหวสุวตั ระยะทางประมาณ 3.9 กม. ใช้เวลาประมาณ
1.5 - 2 ชม. เส้นทางเลียบล�ำน�ำ้ ผ่านน�ำ้ ตกผากล้วยไม้ ตลอดเส้น
ทางปกคลุมด้วยป่าดิบแล้งมีไม้ในวงศ์ยางเป็นไม้เด่น พืชพื้นล่าง
ปกคลุมด้วยเฟิน พืชวงศ์ขงิ ข่า และหวายจ�ำนวนมาก

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 75
เส้นทางศึกษาธรรมชาติกองแก้ว
จุดเริม่ ต้นเส้นทางอยูบ่ ริเวณข้างศูนย์บริการ
นักท่องเทีย่ วเขาใหญ่ ระยะทางประมาณ 1,200 เมตร
ใช้เวลาประมาณ 45 นาที เป็นทางลาดยางแอสฟัลต์
มีปา้ ยสือ่ ความหมายตลอดเส้นทางสามารถเดินศึกษา
ธรรมชาติได้ดว้ ยตนเอง เส้นทางลัดเลาะในป่าดิบแล้ง
ผ่านจุดศึกษาธรรมชาติตา่ งๆ และน�ำ้ ตกกองแก้ว ก่อน
ข้ามสะพานแขวนมาบรรจบบริเวณด้านหลังของศูนย์
บริการนักท่องเทีย่ ว
76 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ร่องรอยสัตว์
ในระหว่างการเดินป่าตามเส้นทาง การแกะรอยสัตว์ปา่ ต้องสังเกตร่องรอย ดังนี้
ศึกษาธรรมชาติ สิง่ หนึง่ ทีไ่ ม่ควรพลาดคือ รอยตีน เราสามารถจ�ำแนกชนิดสัตว์ปา่ จากรอยตีนที่
การแกะรอยสัตว์ปา่ ทีอ่ าศัยอยูใ่ นบริเวณนัน้ ปรากฏบนพืน้ ดินได้ เช่น เป็นสัตว์กบี หรือสัตว์ผลู้ า่ ทัง้ นี้ ควรมี
บ่อยครั้งที่รู้สึกว่าการเดินป่าของ คูม่ อื การจ�ำแนกรอยตีนสัตว์ปา่ ติดตัวไปด้วย จะท�ำให้การจ�ำแนก
เราไม่พบสัตว์ป่าเลยจะมีก็แต่สัตว์เล็กๆ ชนิดสัตว์ปา่ ง่ายยิง่ ขึน้
อย่างนกหรือกระรอก การจะพบสัตว์ใหญ่ กองมูล สัตว์ปา่ แต่ละชนิดมีลกั ษณะของกองมูลแตก
มีโอกาสน้อยมาก เพราะทีจ่ ริงแล้วเราเอง ต่างกันออกไป เพียงกองมูลทีถ่ กู ถ่ายทิง้ อยูก่ ลางป่า ก็บอกให้เรา
เป็นสิ่งแปลกปลอมในความรู้สึกของสัตว์ รูไ้ ด้วา่ บริเวณนัน้ มีสตั ว์ปา่ ชนิดใดหากินอยู่
ป่าซึ่งมีสัญชาตญานการระแวดระวังสูง ร่องรอยการหากิน สัตว์ป่ามีพฤติกรรมการหากินที่
พวกมันจึงหลบหนีหรือซ่อนตัวไม่ปรากฏ แตกต่างกัน และร่องรอยทีห่ ลงเหลืออยูใ่ นป่าก็มคี วามแตกต่าง
ให้เห็น แต่ความสนุกสนานของการเดินป่า กันด้วย เช่น รอยดุนพืน้ ดินของหมูปา่ รอยฟันแทะบนลูกไม้ที่
ศึกษาธรรมชาติก็เกิดขึ้นจากการหลบหนี ร่วงหล่นบนพืน้ ป่าโดยสัตว์ฟนั แทะจ�ำพวกกระรอก และรอยเล็บ
หรือซ่อนตัวของสัตว์ป่านี่เอง เพราะสัตว์ ของหมีทปี่ นี ขึน้ ต้นไม้
ป่ายังทิ้งร่อยรอยต่างๆ ไว้ให้เราได้ค้นหา ร่องรอยอืน่ ๆ เช่น การหมายอาณาเขต ด้วยการตะกุย
และถอดรหัสจากร่องรอยต่างๆ พืน้ ดินของสัตว์ผลู้ า่ ในกลุม่ เสือ การลับเขาของสัตว์กบี คูใ่ นกลุม่
กวาง การหักกิง่ ไม้สร้างทีพ่ กั บนต้นไม้ของพวกหมี
ร่องรอยทีป่ รากฏตามธรรมชาติในป่าเช่นนี้ ล้วนมีเรือ่ ง
ราวและความน่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง การเรียนรู้การแกะรอย
พฤติกรรมสัตว์ป่า บนเส้นทางศึกษาธรรมชาติในอุทยานแห่ง
ชาติเขาใหญ่ จึงเป็นอีกกิจกรรมเสริมหนึ่งที่ท�ำให้ ทุกครั้งของ
การเดินป่ามีเรื่องราวที่ชวนให้เราได้ค้นหาอยู่เสมอๆ แม้ว่าเรา
จะไม่ได้พบเห็นสัตว์ปา่ นัน้ โดยตรงก็ตาม
สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 77
เดินป่า
ศึกษาธรรมชาติ
ระยะไกล

เส้นทางสู่น�้ำตกโกรกอีดก
กิจกรรมการเดินป่าระยะไกลในอุทยานแห่งชาติ น�ำ้ ตกโกรกอีดกมีทงั้ หมด 8 ชัน้ แต่ละชัน้ มีความ
เขาใหญ่มหี ลายเส้นทางให้ทา่ นเลือก หนึง่ ในเส้นทางที่ สวยงามเป็นเอกลักษณ์แตกต่างกันออกไป และ
น่าสนใจ คือ การเดินทางบนเส้นทางสูน่ ำ�้ ตกโกรกอีดก ชัน้ ที่ 8 มีความงดงามทีส่ ดุ มีความสูงมากกว่า 300 ม.
น�ำ้ ตกโกรกอีดกจัดเป็นน�ำ้ ตกขนาดใหญ่ทอี่ ยู่ ไหลลงมาจากหน้าผาสูงจนได้รบั การยอมรับว่า เป็น
ใกล้เมืองหลวงมาก อยูใ่ นเขตจังหวัดสระบุรใี นความดูแล 1 ใน 10 ของน�ำ้ ตกสูงในภาคกลาง และหลายคน
ของหน่วยพิทกั ษ์อทุ ยานแห่งชาติที่ ขญ.18 (เจ็ดคต) ขนานนามว่าเป็น ทีลอซูภาคกลาง
น�้ำตกแห่งนี้ถูกพบโดยบังเอิญขณะที่ นายปองพล การเดินทางเข้าสู่น�้ำตกโกรกอีดกจ�ำเป็น
อดิเรกสาร นั่งเฮลิคอปเตอร์ผ่านจังหวัดสระบุรี ได้ ต้องติดต่อเจ้าหน้าที่น�ำทางจากหน่วยพิทักษ์
สังเกตเห็นน�ำ้ ตกขนาดใหญ่อยูล่ กึ เข้าไปในป่า น�ำ้ ตก อุทยานแห่งชาติให้เรียบร้อยก่อน โดยการท่องเทีย่ วมี
โกรกอีดก มาจากภาษาชาวบ้านทีเ่ รียกตามภูมศิ าสตร์ 2 รูปแบบ คือ เดินขึน้ น�ำ้ ตกในช่วงเช้าแล้วออกจาก
ของภูเขาโดยรอบทีม่ มี ากมายหลายเทือกเขา ซึง่ ค�ำว่า ตัวน�ำ้ ตกในช่วงบ่าย ส่วนแบบทีส่ องคือ พักค้างแรม
“โกรก” มาจาก “ภูเขา” และ “ดก” มาจาก “มาก” กลางป่า ใช้เวลา 2 วัน 1 คืน ซึง่ สามารถติดต่อ
78 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ประสานงานเจ้าหน้าที่และจ้างลูกหาบ ซึ่งจะ
มีเวลาในการเล่นน�้ำตกและชื่นชมธรรมชาติใน
ระหว่างเส้นทางได้อย่างจุใจ
ระยะทางจากจุดเริม่ ต้นเดินเท้าขึน้ ไปยัง
จุดชมน�ำ้ ตกชัน้ ที่ 8 มีระยะทางไปกลับรวม 8 กม.
หากใช้เวลากับการชมธรรมชาติระหว่างเส้นทาง
และหยุดพักเล่นน�ำ้ ตามชัน้ ต่างๆ ด้วย จะใช้เวลา
ประมาณ 6-8 ชั่วโมง หรือตลอดทั้งวัน ดังนั้น
ผู้เดินทางจึงควรเริ่มต้นเดินเท้าเข้าสู่น�้ำตก
ในช่วงเช้าไม่เกินเที่ยงวัน สิ่งที่ห้ามลืมและต้อง
น�ำติดตัวมาเองนัน่ ก็คอื “เสบียง” มือ้ กลางวันที่
ต้องรับประทานกันในระหว่างทาง
เส้นทางในช่วงแรกไม่ยากล�ำบากนัก เป็น
เส้นทางซึ่งแต่เดิมเป็นทางเข้าไปหาของป่าของ
ชาวบ้าน แต่มบี างช่วงทีต่ อ้ งข้ามล�ำธารซึง่ จ�ำเป็น เห็ดแชมเปญสีสดใสขึน้ กระจายอยูท่ วั่ ผืนป่า เห็ดชนิดนี้
ต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ หลังจากผ่าน ถือเป็นจุดเด่นของเส้นทางเดินป่าน�ำ้ ตกโกรกอีดกเลยที
ช่วงแรกจนถึงบริเวณน�ำ้ ตกชัน้ ที่ 4 สภาพเส้นทาง เดียว นอกจากนี้ ยังมีพนั ธ์ไุ ม้ในป่าดิบแล้งให้เรียนรูอ้ กี
เริม่ สูงชันและเดินยากล�ำบากขึน้ หลายเท่า จึงควร เป็นจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะต้นสมพงไม้ยืนต้นขนาด
แต่งกายให้รดั กุมโดยเฉพาะรองเท้าต้องเป็นรองเท้า หลายคนโอบทีย่ นื ต้นเด่นอยูบ่ นเส้นทาง
หุม้ ส้นทีส่ ามารถใช้เดินป่าได้อย่างปลอดภัย ระยะทางสุดท้ายจากน�้ำตกชั้นที่ 7 ขึ้นสู่
ตลอดสองข้างทางตั้งแต่เริ่มต้นเดินเท้า จุดชมทิวทัศน์ของน�ำ้ ตกชัน้ ที่ 8 นัน้ เส้นทางสูงชันมาก
เข้าสู่ผืนป่าดงดิบแล้ง เราสามารถพบเห็น ทางอุทยานแห่งชาติได้จดั ท�ำราวเชือกให้ยดึ จับและไต่ขนึ้
ไป แต่อย่างไรก็ดตี อ้ งอาศัยความระมัดระวังกับเส้นทาง
ในช่วงนีอ้ ย่างมากและเมือ่ ขึน้ ไปถึงลานด้านบนท่านจะ
ได้ชนื่ ชมกับความยิง่ ใหญ่อลังการของน�ำ้ ตกโกรกอีดกที่
มีความสูงกว่า 300 ม. จนลืมความเหน็ดเหนือ่ ยไปเลย
ฤดูกาลที่เหมาะสมส�ำหรับการเดินทางเข้าสู่
น�ำ้ ตกโกรกอีดกคือช่วงปลายฝนต้นหนาว แม้วา่ น�ำ้ ตก
แห่งนีจ้ ะมีนำ�้ ไหลตลอดทัง้ ปี แต่ในช่วงหน้าแล้งปริมาณ
น�ำ้ ค่อนข้างน้อย ส่วนในฤดูฝนจะมีนำ�้ มากและน�ำ้ ตกจะ
มีความสวยงามมากกว่าฤดูกาลอืน่ ๆ
สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 79
ส่องสัตว์ ยามค�่ำคืน
สัตว์ปา่ หลายชนิดมีพฤติกรรมการหากิน
ในเวลากลางคืน เช่น กวางป่า เม่นใหญ่แผงคอยาว
ชะมดแผงหางปล้อง อีเห็นธรรมดา กิจกรรมส่อง
สัตว์ จึงเป็นอีกกิจกรรมที่น่าสนใจ ที่เปิดโอกาส
ให้ได้สังเกตเรียนรู้ชีวิตสัตว์ป่าในเวลากลางคืน
ผู้ที่สนใจกิจกรรมส่องสัตว์ต้องติดต่อที่
ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวเขาใหญ่หรือที่ท�ำการ
อุทยานแห่งชาติ ก่อนเวลา 18.00 น. ทางเจ้า
หน้าที่จะจัดรถกระบะส่องสัตว์พร้อมไกด์ที่ถือ
ไฟฉายแรงสูงน�ำชมสัตว์ป่า โดยมีสองรอบ คือ
รอบ 1 ทุ่ม และรอบ 2 ทุ่ม ทั้งนี้ ไม่อนุญาตให้
น�ำรถส่วนตัวออกส่องสัตว์ปา่ เพือ่ ความปลอดภัย
และความเป็นระเบียบเรียบร้อยภายในอุทยาน
แห่งชาติ

ข้อปฏิบัติ เมื่อส่องสัตว์
เฝ้าดูสัตว์อย่างเงียบๆ ศึกษา
พฤติกรรมสัตว์โดยไม่รบกวนสัตว์และ
ผู้ส่องสัตว์คนอื่น
ปฏิบัติตามกฏ ระเบียบ และ
ค�ำแนะน�ำของเจ้าหน้าที่โดยเคร่งครัด
ห้ามให้อาหารสัตว์เพราะจะ
ท�ำให้พฤติกรรมตามธรรมชาติเปลี่ยนไป
ห้ามใช้แฟลชถ่ายภาพเพราะจะ
ท�ำให้เกิดอันตรายกับสัตว์หรืออาจท�ำให้
สัตว์ตื่นตกใจเข้ามาท�ำร้าย

80 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ปั่น จักรยาน
นอกจากการศึกษาธรรมชาติโดยการเดินแล้ว อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ยังมี
เส้นทางศึกษาธรรมชาติด้วยการขี่จักรยานส�ำหรับผู้นิยมท่องเที่ยวธรรมชาติ
และรักสุขภาพ โดยเส้นทางปั่นจักรยานจะวนเป็นวงรอบ เริ่มต้นจากบริเวณ
สามแยกป้อม ฮ. ผ่านอ่างเก็บน�้ำสายศร ทุ่งหญ้า โป่งทุ่งกวาง ลานกางเต็นท์
ล�ำตะคอง เลี้ยวซ้ายเข้าสนามกอฟล์เขาใหญ่ ค่ายเยาวชนสุรัสวดีแล้วกลับมา
ที่อ่างเก็บน�้ำสายศรอีกครั้ง รวมระยะทาง 9 กม. โดยเส้นทางนี้มีระบบ
สื่อความหมายผ่านแอพพลิเคชั่น “ปั่นสองน่องท่องเขาใหญ่”
ที่มีข้อมูลรายละเอียด ภาพ และเสียงบรรยายตลอด
เส้นทาง
นอกจากนี้ ทางอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ยังมีบริการให้เช่ารถจักรยาน โดยติดต่อ
สอบถามรายละเอียดได้ทศี่ นู ย์บริการนักท่อง
เที่ยวเขาใหญ่

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 81
ปฏิทิน อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ สามารถแบ่งฤดูกาลท่องเทีย่ ว
ท่องเที่ยว ได้ 3 ฤดู คือ ฤดูฝน และฤดูแล้ง ในแต่ละฤดูกาลจะมีสภาพ
ธรรมชาติและความโดดเด่นแตกต่างกันออกไป

เดือน สภาพอากาศ
น้�ำ ตก ทิวทัศน์
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่สามารถเข้าไป
ต.ค. น�้ำตกทุกแห่ง ท่องเทีย่ วได้ตลอดปี ทิวทัศน์ทกุ จุด
สามารถเข้าไป สวยงามตามฤดูกาล จุดชมทิวทัศน์
พ.ย. ท่องเที่ยวได้ ทีน่ า่ สนใจ ได้แก่ จุดชมทิวทัศน์ กม.
ทุกฤดูกาล 30 จุดชมทิวทัศน์ผาเดียวดาย และ
จุดชมทิวทัศน์เขาเขียว
ธ.ค.
ม.ค.
น�ำ้ ตกเหวสุวตั
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค. จุดชมทิวทัศน์ผาเดียวดาย

มิ.ย. น�ำ้ ตกเหวนรก


1 มิ.ย. ถึง 30 ก.ย. ปิดเส้นทาง
ก.ค. ศึกษาธรรมชาติผาเดียวดาย และ
จุดชมทิวทัศน์ผาเดียวดาย
ส.ค.
ก.ย. ก.ค. - ส.ค. ล่องแก่งหินเพิง

82 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
อากาศร้อน ฝนตกหนัก ฝนตก อากาศหนาวเย็น

กิจกรรม
พืชพรรณ สัตว์ปา่ ศึกษาธรรมชาติ

สะเม็กขาว

มี.ค. - เม.ย. หวายแดงในเส้นทาง


ผากล้วยไม้ออกดอก

โมลีสยาม เส้นทางศึกษาธรรมชาติที่ส�ำคัญ ได้แก่


เส้นทางศึกษาธรรมชาติกองแก้ว
เส้นทางดงติ้ว-หนองผักชี
เส้นทางผากล้วยไม้-น�้ำตกเหวสุวัต
เข้าสู่หน้าฝน เส้นทางศึกษาธรรมชาติ กม.33-หนองผักชี
นกเงือกจะรวมฝูง เส้นทางดงติ้ว-มอสิงโต
เครือพูเงิน นับร้อยตัว

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 83
สิ่งอ�ำนวยความสะดวก
ในอุทยานแห่งชาติ

ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว
อุทยานแห่งขาติเขาใหญ่ได้จัดให้มีศูนย์บริการนักท่องเที่ยวส�ำหรับอ�ำนวยความสะดวกในการให้ข้อมูล
แหล่งท่องเทีย่ ว ทีพ่ กั และเป็นแหล่งเพิม่ พูนความรูใ้ นด้านทรัพยากรธรรมชาติของอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ส�ำหรับ
ผู้มาเยือน สามารถสอบถามรายละเอียดได้ที่

ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวเนินหอม
ตัง้ อยูบ่ ริเวณด่านทางขึน้ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ดา้ นอ�ำเภอเนินหอม จังหวัดปราจีนบุรี ให้บริการติดต่อ
สอบถามข้อมูลการท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวศาลเจ้าพ่อ
ตั้งอยู่บริเวณด่านทางขึ้นอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ด้านอ�ำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ให้บริการ
ติดต่อสอบถามข้อมูลการท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
84 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวเขาใหญ่
ตั้งอยู่บนโซนที่ท�ำการด้านบนอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ มีการจัดแสดงนิทรรศการกึ่งถาวรที่เข้าใจง่าย
ในรูปแบบ Interactive โดยน�ำภาพวิดีโอต่างๆ มาประกอบให้ผู้มาเยือนได้สัมผัสถึงความอุดมสมบูรณ์ของ
ทรัพยากรธรรมชาติในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกแก่ผู้มาเยือนและนักท่องเที่ยว เช่น
ร้านขายของที่ระลึก ร้านกาแฟ และห้องน�้ำ ที่สามารถรองรับผู้ที่ต้องการการดูแลเป็นพิเศษรวมถึงการติดต่อ
เรื่องที่พักบริการติดต่อสอบถามกิจกรรมต่างๆ เช่น เดินป่า ส่องสัตว์ป่า เป็นต้น นอกจากนี้ ยังอยู่ไม่ไกลจาก
ศูนย์อาหารและเส้นทางศึกษาธรรมชาติกองแก้ว

ค่ายเยาวชน
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่นอกเหนือจากที่มีบ้านพักเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวเยือนแล้ว ส�ำหรับ
ลานกิจกรรมยังมีศักยภาพของพื้นที่ที่สามารถรองรับการจัดกิจกรรมค่ายพักแรมเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ โดย
มีอยู่ 2 แห่ง คือ ค่ายหมอบุญส่ง ตั้งอยู่ใกล้บริเวณบ้านพักโซน 1 มีเรือนพักแรมไม้ห้องแถวยาวจ�ำนวน 2 หลัง
กับลานกิจกรรมส�ำหรับกิจกรรมรอบกองไฟในยามค�ำ่ คืน ส่วนอีกค่ายนัน้ คือ ค่ายสุรสั วดี ตัง้ อยูใ่ กล้บริเวณบ้านพัก
โซน 3 ประกอบด้วยอาคารเรือนแถว มีลานกิจกรรม และห้องประชุมขนาดใหญ่ ให้บริการ
สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 85
ที่พักแรม
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่มบี า้ นพักให้บริการส�ำหรับ
นักท่องเทีย่ ว 4 โซน ด้วยกัน ได้แก่ โซน 1 บริเวณค่ายกองแก้ว
ใกล้ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว โซน 2 บริเวณโซนทิวทัศน์ บน
เนินเขา โซน 3 บริเวณค่ายสุรัสวดีและค่ายเยาวชน โซน 4
บริเวณบ้านพักธนะรัชต์ และลานกางเต็นท์ 2 แห่ง ได้แก่
ลานกางเต็นท์ล�ำตะคอง และลานกางเต็นท์ผากล้วยไม้ โดย
บ้านพักทัง้ 4 โซนนีม้ อี ยูห่ ลายลักษณะตัง้ แต่บา้ นพักหลังเดีย่ ว
ขนาดใหญ่ส�ำหรับครอบครัว บ้านแฝด และแบบเรือนแถว
ภายในบ้านพัก โซนที่ 1-3 มีสงิ่ อ�ำนวยความสะดวกไว้ให้บริการ
ดังนี้ พัดลม เครื่องท�ำน�้ำอุ่น และกระติกน�้ำร้อน แต่ส�ำหรับ
โซนที่ 4 จะมีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกเพิ่มเติม คือ โทรทัศน์
และตู้เย็น ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.dnp.go.th
ผูท้ จี่ องทีพ่ กั -บริการไว้แล้ว ควรติดต่อ
ทีเ่ จ้าหน้าทีง่ านบ้านพักและบริการของอุทยาน
แห่งชาติที่ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวเขาใหญ่
ก่อน เพื่อเจ้าหน้าที่จะได้มอบกุญแจที่พัก
แนะน�ำเส้นทางเข้าที่พัก และค�ำแนะน�ำอื่นๆ
ทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ การท่องเทีย่ วในเขตอุทยาน
แห่งชาติเขาใหญ่

86 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ไป อ.ปากช่อง
แผนผัง แสดงบริเวณที่พัก
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
N
น�้ำตกกองแก้ว
W E
103 104 S
101 102 105 106 911 201
Zone 1 912 202
107 กลุ่มบ้านกองแก้ว 203
108 204
109 302/1-10 301/1-10 205
206 Zone 2
933/1-2 932/1-2 931/1-2 Zone 3 กลุ่มบ้านทิวทัศน์
กลุ่มบ้านสุรัสวดี

ที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่

ศูนย์วจิ ยั และพัฒนานวัตกรรม สถานที่กางเต็นท์ลำ�ตะคอง


อุทยานแห่งชาติ
จังหวัดนครราชสีมา
ศูนย์อบรมการป่าไม้เขาใหญ่ สถานที่กางเต็นท์ผากล้วยไม้
ทางเข้า
เขาเขียว
ผาเดียวดาย ป้ายทางเข้าบ้านธนะรัชต์ น�้ำตกเหวสุวัต

สัญลักษณ์ในแผนที่
401 405/1 ถนน บ้านพักเจ้าหน้าที่
404 405/2
407/1-9
402 แม่น�้ำ สถานที่กางเต็นท์
406/1
403 406/2 ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว หอดูสัตว์
ไป เขาเขียว บริการอาหาร น�้ำตก
Zone 4
กลุ่มบ้านธนะรัชต์ ที่จอดรถ ห้องสุขา
ที่ทำ�การอุทยานฯ/ที่ทำ�การหน่วยพิทักษ์อุทยานฯ
ไป จ.ปราจีนบุรี

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 87
ลานกางเต็นท์
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่มีลานกางเต็นท์ให้กับผู้ที่ชอบ
สัมผัสธรรมชาติอย่างใกล้ชิด 2 แห่ง คือ บริเวณลานกางเต็นท์ล�ำ
ตะคอง รองรับผูม้ าเยือนได้ 600 คน และลานกางเต็นท์ผากล้วยไม้
รองรับได้ 800 คน
หากน�ำเต็นท์มาเองสามารถติดต่อขอกางเต็นท์และช�ำระ
ค่าบริการที่ท�ำการอุทยานแห่งชาติ โดยบริเวณลานกางเต็นท์ทั้ง
2 จุด มีให้บริการเช่า-ยืม เครื่องนอน เตาถ่าน รวมถึงร้านอาหาร
ห้องน�้ำ–ห้องสุขาไว้บริการ

88 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ศูนย์กู้ภัย
ภายในบริเวณที่ท�ำการอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ได้
มีหน่วยงานไว้คอยให้บริการและดูแลช่วยเหลือนักท่องเทีย่ ว
ที่เข้ามาใช้บริการในพื้นที่ของอุทยานแห่งชาติ ในเรื่องความ
ปลอดภัยทั้งการค้นหาและกู้ภัยกรณีเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน
โดยที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่มีทั้งหน่วยกู้ภัยของอุทยาน
แห่งชาติเขาใหญ่ และศูนย์กู้ภัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ที่คอยให้บริการ อาทิ
ภัยจากการท่องเที่ยวในป่า เช่น การหลงป่า
ภัยที่เกิดจากสัตว์และพืชป่า เช่น การได้รับพิษ
จากแมลงสัตว์กัดต่อยหรือการแพ้ละอองเกสรตลอดจนพืช
มีพษิ บางชนิด สามารถมาขอรับการปฐมพยาบาลเบือ้ งต้นได้
ภัยจากอุบัติเหตุ เช่น รถยนต์ รถจักรยานยนต์
รถจักรยาน
ภัยจากน�้ำ เช่น น�้ำป่าไหลหลาก
สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 89
ข้อควรปฏิบัติ
ในอุทยานแห่งชาติ

เตรียมตัว เตรียมพร้อม ก่อนเดินป่า


อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ได้จัดท�ำเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติไว้บริการนักท่องเที่ยวผู้ที่สนใจการเดินป่า
อยูห่ ลายเส้นทางด้วยกันมีทงั้ ระยะสัน้ และระยะไกล ฉะนัน้ ก่อนเดินป่าทุกครัง้ ท่านควรเตรียมความพร้อมทัง้ เสือ้ ผ้า
รองเท้า อาหาร น�ำ้ ดืม่ เป้สะพายหลังหรือกระเป๋าใบถนัด ไว้พกติดตัวเพือ่ ใส่ของใช้ยามจ�ำเป็นและเพิม่ ความคล่อง
ตัวในการเดินป่า เพราะถ้าเมือ่ เราเดินเข้าไปในป่าแล้วเกิดลืมสิง่ ใดสิง่ หนึง่ ขึน้ มา เช่น เสือ้ กันฝน เมือ่ ฝนตกเทลงมา
เราจะหันหลังกลับวิง่ มาเอาก็คงจะไม่ทันการเสียแล้ว และทีส่ ำ� คัญทีข่ าดเสียไม่ได้ในการเตรียมก็คอื การเตรียมให้
พร้อมอยู่เสมอเพื่อเผชิญกับเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด
90 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ข้อควรระวัง :
หากเข้าป่าในช่วงฤดูแล้ง ไม่ควรนั่ง
พักตามขอนไม้แห้งหรือบริเวณที่เศษซากพืช
เนื่องจากตรงนั้นจะเป็นรังอาศัยของเห็บ

สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 91
เมื่อเจอช้างป่า บนถนนเขาใหญ่
ป่า คือ บ้านของสัตว์ปา่ จึงไม่แปลกทีเ่ ราไปท่องเทีย่ วตามอุทยานแห่งชาติตา่ งๆ โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่นั้น มีโอกาสสูงมากที่มักพบกับสัตว์ป่าไม่ว่าจะเป็น ลิง เม่น หรือกวางป่า และ
ทีม่ กั พบเจอบนท้องถนนและท�ำให้ตนื่ เต้นตกใจก็คอื พีใ่ หญ่...เจ้าช้างป่า ทีก่ ำ� ลังใช้เส้นทางในบ้านของตัว
เองเดินหากินตามธรรมชาติ นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่เมื่อเจอช้างป่าอยู่บนท้องถนนก็มักจะตกใจ ประหม่า
ไม่รู้ว่าควรท�ำอย่างไรต่อไปดี
ท�ำไมช้างป่าถึงออกมาเดินบนถนน
ก่อนอืน่ เราควรทราบว่าก่อนทีจ่ ะเป็นถนนส�ำหรับพวกเรา ช้างป่าได้ใช้เส้นทางนีเ้ ดินหากิน เรียกว่า
“ด่านช้าง” เพราะฉะนัน้ จึงไม่เรียกว่าช้างออกมาเดินบนถนน แต่เรียกว่า ถนนตัดทับเส้นทางเดินของช้าง
ท�ำอย่างไรเมื่อเจอช้าป่าบนถนน
หยุดรถให้ห่างจากช้างอย่างน้อย 30 ม. หากช้างเดินเข้าหา ให้ค่อยๆ เคลื่อนรถถอยหลังอย่าง
มีสติ รอจนกว่าช้างจะหลบจากถนน จึงเคลื่อนรถผ่านไป
ไม่ควรจอดรถดูช้าง เพราะเสี่ยงที่จะเกิดอันตราย หากช้างมีอาการหงุดหงิด

92 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
อย่าท�ำอะไรให้เป็นที่สนใจของช้าง เช่น
ใช้แตรรถ ใช้แฟลชถ่ายรูป เพราะอาจท�ำให้ชา้ งหงุดหงิด
และตรงเข้ามาหาเราได้
ติดเครื่องรถยนต์ไว้เสมอ เพราะเสียงเครื่องยนต์ดังทุ้มๆ
จะท�ำให้ช้างคุ้นไม่ตกใจ และควรอยู่บนรถตลอดเวลา ไม่ลงมาถ่ายรูปช้างในระยะใกล้ เพราะจะเคลื่อน
รถหนีไม่ทันหากช้างตกใจวิ่งเข้าใส่

วิธีสังเกตุอารมณ์ของช้างอย่างง่ายๆ
เมื่ออารมณ์ดี หูจะสะบัดไปมา หางจะแกว่งและใช้งวงสะบัดไปมา หรือเกี่ยวดึงต้นไม้กิน ไม่
ค่อยสนใจเรา
เมือ่ อารมณ์ไม่ดี หูจะตัง้ กาง ไม่สะบัดหาง หางชี้ งวงจะนิง่ แข็ง แตะอยูท่ พี่ นื้ หรือใช้งวงตีพนื้ และ
อยู่นิ่งจ้องมองมาทางเรา ดังนั้น จึงอาจไม่ใช่โชคดีหากเจอช้างป่าที่มีอาการเหล่านี้บนถนน
อย่าลืมว่า เขาใหญ่ เป็นบ้านของช้างและสัตว์ปา่ อืน่ ๆ เราเป็นเพียงคนนอกทีเ่ ข้าไปเยีย่ มชม ท่อง
เที่ยว พักผ่อน และศึกษาหาความรู้ ดังนั้น จงปฏิบัติตัวเป็นแขกที่ดี ไม่รบกวนหรือรังแกเจ้าของบ้าน
สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 93
การเดินทาง
และติดต่อสอบถาม
การเดินทาง
การเดินทางไปอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่นั้นสามารถไปได้ 3 วิธีการ คือ
รถส่วนตัว จากกรุงเทพฯ สามารถเดินทางไปอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ที่สะดวกได้
2 เส้นทาง คือ
เส้นทางที่ 1 เริ่มจากถนนพหลโยธิน ผ่านรังสิตประตูน�้ำพระอินทร์
สระบุรี แล้วเลี้ยวขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 2 หรือถนนมิตรภาพ ก่อนถึง
อ�ำเภอปากช่อง บริเวณ กม. 56 ชิดซ้ายขึ้นสะพานลอยไปตามถนนธนะรัชต์
ทางหลวงหมายเลข 2090 ถึง กม. 23 จะพบด่านตรวจศาลเจ้าพ่อ เดินทาง
ต่อไปอีก 15 กม. ก็จะถึงทีท่ ำ� การอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่รวมระยะทางประมาณ 205 กม.
เส้นทางที่ 2 เริ่มจากถนนพหลโยธิน เลี้ยวขวาบริเวณรังสิต เข้าทางหลวง
หมายเลข 305 สู่ตัวเมืองนครนายก แล้วเข้าทางหลวงหมายเลข 33 (ถนนสุวรรณ
ศร) ถึงสี่แยกศาลนเรศวรเลี้ยวซ้ายตามเส้นทางปราจีนบุรี – เขาใหญ่ ผ่านด่านตรวจ
เนินหอมแล้วเดินทางต่อจนถึงสามแยก เลีย้ วซ้ายเพือ่ ไปทีท่ ำ� การอุทยานแห่งชาติ รวม
ระยะทางประมาณ 190 กม.
รถโดยสารประจ�ำทาง
เส้นทางที่ 1 รถโดยสารประจ�ำทางกรุงเทพฯ - นครราชสีมา หรือมาจากที่
อืน่ ให้ลงทีแ่ ยกเข้า อ.ปากช่อง (กรณีทรี่ ถโดยสารไม่เข้าตัว อ.ปากช่อง) จะมีรถโดยสาร
ประจ�ำทางจากปากช่องมาถึงที่ด่านตรวจศาลเจ้าพ่อเขาใหญ่ เที่ยวแรกจากปากช่อง
เวลา 06.00 น. และเที่ยวสุดท้าย เวลา 17.20 น. ซึ่งรถโดยสารประจ�ำทางจะออก
ทุกครึง่ ชัว่ โมง หมดระยะทีด่ า่ นตรวจ จากนัน้ โบกรถต่อขึน้ ไปทีท่ ำ� การอุทยานแห่งชาติ
เส้นทางที่ 2 ขึ้นโดยสารรถประจ�ำทางกรุงเทพฯ-ปราจีนบุรี มาลงที่แยกวง
เวียนนเรศวร (แยกเข้า จ.ปราจีนบุรี) ยืนรอโบกรถหรือเหมารถมอเตอร์ไซต์ที่แยกนี้
ลงที่ด่านเนินหอมแล้วโบกรถต่อขึ้นอุทยานแห่งชาติ
รถไฟ
ขึ้นรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือลงที่สถานีปากช่อง จ.นครราชสีมา แล้ว
ต่อรถสองแถวที่ตลาด อ.ปากช่อง - อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ลงที่ด่านตรวจศาลเจ้า
พ่อเขาใหญ่ แล้วโบกรถต่อขึ้นไปที่ท�ำการอุทยานแห่งชาติ
การเดินทางขึ้นที่ท�ำการอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ด่านตรวจทั้งสองฝั่ง เปิด
ท�ำการเวลา 06.00 - 18.00 น.
94 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
สำ�นักอุทยานแห่งชาติ 95
ติดต่อสอบถาม
ติดต่อฝ่ายที่พักและบริการ ส่วนจัดการท่องเที่ยวและนันทนาการ
โทร. 02-562-0760 หรือ 02-561-0777 ต่อ 1743, 1744
หรือค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ http://nps.dnp.go.th

อุยานแห่งชาติเขาใหญ่
ตู้ ปณ.9 ปท.ปากช่อง อ�ำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา 30130
โทรศัพท์ : ที่ท�ำการ 08 6092 6527
à¢ÒãËÞ‹ ¾ÔÈä¾Ã à¾ÅÔ¹¾§ ´§ÅÖ¡
¾Ø‹Á¾Ä¡É Ἃ¹¼Ò Ōǹ¾Ò½˜¹
·Ø‹§ËÞŒÒäËÇ ÅŒÍÅÁ à¡ÅÕÂÇ¡ÅÁ¡Ñ¹
¸ÒÃÒäËŠôÃÔ¹ ËÔ¹ÈÔÅÒ

ªÐ¹Õ ªŒÒ§ ¡ÇÒ§ ¡ÃÐÃÍ¡ ËÂÍ¡½Ù§¹¡


ÊÃÒÞÍ¡ ËÍÁ¡ÅÔè¹´Í¡ ¾Ãó¾Ä¡ÉÒ
¤×ͺŒÒ¹¢Í§ ¼Í§¾Ñ¹¸Ø ÊÃ䏪ÕÇÒ
»†Òà¢ÒãËÞ‹ µÃÖ§µÃÒ ¤‹Ò͹ѹµ

You might also like