Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 29

โครงการพัฒนาและฟื้ นฟู พื้นที่ศรีนครินทร์ ภายใต้แนวคิดเมืองพรุนเพื่อ

รองรับการบริหารจัดการน้ำ

นายพงษ์พันธ์ อินทร์เจริญ

วิทยานิพนธ์นี้เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร
สถาปั ตยกรรมศาสตร์บัณฑิต
สาขาสถาปั ตยกรรมผังเมือง ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง
คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปี การศึกษา 2566
บทคัดย่อ
พงษ์พันธ์ อินทร์เจริญ : โครงการพัฒนาและฟื้ นฟู พื้นที่ศรีนครินทร์ ภาย
ใต้แนวคิดเมืองพรุนเพื่อรองรับการบริหารจัดการน้ำ

อาจารย์ที่ปรึกษา :

วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาแนวทางการพัฒนาพื้นที่
กรุงเทพมหานครที่มีความเป็ นพื้นที่ดาดแข็งและมีสิ่งปลูกสร้างทับผิวดิน
ให้พัฒนาเป็ นพื้นที่ซึมน้ำภายใต้แนวคิดเมืองพรุน เพื่อการบริหารจัดการ
น้ำที่ยั่งยืน

โดยศึกษาพื้นที่ศรีนคริทร์ ที่มีระบบโครงข่ายน้ำและระบบแก้มลิงที่คอย
สนับสนุนการระบายน้ำและรับน้ำ จากในพื้นที่ และพื้นที่รอบข้าง ให้
สามารถรองรับปริมานของฝนที่จะมีการเพิ่มขึ้นในอนาคต

วิธีการวิจัย เครื่องมือ ที่ใช้ และวิธีการเก็บข้อมูล จำนวนและลักษณะของ


กลุ่มที่ศึกษา
ผลการวิจัย และระดับนัยสำคัญทางสถิติ

กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
สารบัญภาพ
สารบัญตาราง
สารบัญแผนภูมิ
คำอธิบายสัญลักษณ์และคำย่อ
บทที่ 1 ที่มา และ ความสำคัญ

1.1 ที่มาและความสำคัญ
ในปั จจุบันนั้นพื้นที่ในกรุงเทพมหานครส่วนใหญ่เป็ นพื้นที่ ที่มีสิ่งปลูก
สร้างปกคลุมและเป็ นพื้นที่ดาดแข็งซึ่งน้ำนั้นไม่สามารถซึมผ่านได้ ซึ่ง
ระบบเมืองเป็ นปั จจัยหลักที่เป็ นตัวที่ขัดขวางการระบายน้ำ และระบบ
คลอง ซึ่งตัวระบบคลองนั้นก็ต้องพึ่งพาการสูบน้ำจากเครื่องสูบน้ำ ด้วย
ปั จจัยทางด้านภูมิศาสตร์ของกรุงเทพที่ไม่เอื้อต่อระบบระบายน้ำ ในขณะ
ที่กรุงเทพมหานครมีคลองมากมายแต่ทำไมยังคงมีปั ญหาการระบายน้ำก็
ต้องมาดูที่ตัวระบบระบายน้ำหลักของกรุงเทพมหานครก่อน ซึ่งประกอบ
ด้วย 4 ส่วนหลักคือ คูคลอง ท่อระบายน้ำ สถานีสูบน้ำ และอุโมงค์ยักษ์
ที่ถ้าหากว่าระบบระบายน้ำมีขยะ หรือผักตบชวาขวางการระบายน้ำก็นำ
ไปสู่การเกิดน้ำท่วมและน้ำรอระบายในที่สุด ซ้ำร้ายจากการเปลี่ยนแปลง
สภาวะอากาศที่รวดเร็ว จาก climate change ก็ทำให้ ฝนมีปริมานที่เพิ่ม
มากขึ้น ถ้าหากไม่เร่งแก้ปั ญหาที่กล่าวมา ก็จะทำให้น้ำท่วม และน้ำรอ
ระบายเป็ นปั ญหาเรื้อรังที่ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิต จึงได้
มีการเสนอแนวคิดเมืองพรุน เพื่อการแก้ปั ญหาน้ำในระยะยาวที่ยั่งยืน
การพัฒนาโครงข่ายการระบายน้ำให้มีประสิทธิภาพและการเพิ่มการซึม
น้ำของพื้นที่ผิวเมืองเพื่อ การลดผลกระทบจากปั ญหาน้ำรอระบาย และ
ช่วยให้เกิดการแก้ปั ญหาที่ยั่งยืน

1.2 สมมุติฐานงานวิจัย
การพัฒนาพื้นที่ดาดแข็งให้เป็ นพื้นที่ซึมน้ำได้นั้นจะสามารถลดการเกิด
น้ำท่วมและน้ำรอระบายได้ และการพัฒนาระบบโครงข่ายการเชื่อมต่อ
คลองจะพัฒนาคุณภาพชีวิตและการบริหารจัดการน้ำที่ดียิ่งขึ้น

1.3 วัตถุประสงค์งานวิจัย
1. เพื่อรับมือกับภัยน้ำท่วมทั้งในระยะสั้น และในระยะยาว
2. การลดผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจจากอุทกภัย
3. การสร้างความยั่งยืนในการใช้ชีวิตร่วมกับน้ำ
4. การรักษาสิ่งแวดล้อมและการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
1.4 ขอบเขตการศึกษา
1.5 ขั้นตอนและวิธีดำเนินการศึกษา

1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. สร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีให้แก่เมืองเป็ นกรณีศึกษาแก่ผู้ที่ต้องการศึกษา

ด้านการจัดการน้ำในกรุงเทพ

2. ไม่เกิดปั ญหาน้ำท่วมซ้ำซากเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนและระบบนิเวศน์

ในเมืองที่ดียิ่งขึ้น

3. ประชากรมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและยกระดับพื้นที่สีเขียวให้มี

คุณภาพส่งเสริมระบบเศรษฐกิจ
บทที่ 2 แนวความคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องและ กรณีศึกษา
2.1 แนวคิด ทฤษฎี
2.1.1 Sponge city
Sponge city ถูกพัฒนาขึ้นมาในปี 2013 ที่เมืองอู่ฮั่น เพื่อที่จะมี
การพัฒนาการป้ องกันน้ำท่วมโดยเดิมที่ ภายในตัวเมืองเองนั้น ต้อง
ประสบปั ญหาน้ำท่วมอยู่บ่อยครั้งจึงทำให้เกิดการพัฒนา พื้นที่ซึมน้ำ และ
ช่วยสร้างระบบนิเวศน์ที่เมืองนั้น มีการผสานเข้ากับธรรมชาติ ใช้แนวทาง
ของธรรมชาติเพื่อการกักเก็บ หน่วงน้ำ และทำให้น้ำบริสุทธิ์ เพื่อการ
พึ่งพาระบบธรรมชาติให้มากที่สุด โดยที่ แนวคิดของ sponge city นั้น
สามารถแบ่งออกเป็ น แนวคิดการพัฒนาของภาพรวมได้ดังนี้

ลดพื้นที่ดาดแข็ง สร้างพื้นที่ซึมน้ำ
การพัฒนาพื้นที่เมืองสู่พื้นที่ซึมน้ำเพื่อการเพิ่มความสามารถในการ
รับน้ำของพื้นที่เมืองช่วยให้น้ำนั้นซึมผ่านได้ไม่ค้างอยู่บนผิวถนน และช่วย
ส่งเสริมการหน่วงน้ำก่อนการระบายด้วยระบบระบายน้ำ

ส่งเสริมระบบนิเวศน์
การพัฒนาพื้นที่สีเขียวภายในเมืองให้มีระบบนิเวศน์ในการพัฒนา
จัดการน้ำให้มีประสิทธิภาพ มีระบบการหน่วงกักเก็บและทำน้ำให้เกิด
ความบริสิทธิ เพื่อสุขภาวะภายในเมืองและการจัดการน้ำที่ยั่งยืน

ผสานพื้นที่เมืองกับระบบธรรมชาติ
การพัฒนาพื้นที่สีเขียวให้เป็ นแนวรับน้ำกับระบบคลองให้สามารถมี
ประสิทธิภาพในการระบายน้ำและส่งเสริมความซึมน้ำของพื้นที่เมือง ช่วย
ผสานเมืองให้เป็ นเป็ นที่ซึมน้ำและช่วยลดน้ำท่วม

โดยที่ sponge city นั้นจะสามารถสร้างประโยชน์ในการซึมน้ำได้


อย่างมากทำให้เมืองนั้น พื้นที่หน่วงน้ำ และช่วยในการซับน้ำ ลดภาระ
การระบายน้ำจากตัวระบบโครงการหลักได้ อีกทั้งยังมีการพัฒนาในรูป
แบบของการปรับประยุคใช้ให้เข้ากับพื้นที่ คือ

ภาพที่1 sponge city ที่มา:ผู้จัดทำ

มีการปรับรูปแบบของ sponge city ให้เข้ากับบริบทของพื้นที่คือ

CANEL RESTORATION
การพัฒนาฟื้ นฟูคลองเพื่อช่วยในการรักษาคุณภาพน้ำ และช่วยในกร
ระบายน้ำในฤดูฝนที่มีน้ำจำนวนมาก

RETENTION LAWN
พื้นที่กักเก็บน้ำช่วยในการลดและดูดซับมลภาวะ และยังช่วยกระจาย
ความเย็น สามารถออกแบบไว้ในพื้นที่ อยู่อาศัยได้

PARK
มีผลในการช่วยยกระดับสุขภาพจิตของคนเมือง และช่วยในการดูดซับ
มลภาวะ

RETENTION POND
บ่อเก็บน้ำที่ช่วยเก็บน้ำจากพายุ และฝน ช่วยป้ องกันน้ำท่วม และมักปลูก
พืชเพื่อช่วยบำบัดน้ำ

RAIN GARDEN
ช่วยในการควบคุมน้ำฝนไม่ให้ไหลไป สะสมบนพื้นผิวถนน ที่จะทำให้เกิด
การปนเปื่ อนของน้ำได้

GREEN LINKED
เป็ นการพัฒนาความเชื่อมต่อ พื้นที่สีเขียวและ แหล่งน้ำ ให้มีความเชื่อม
ต่อ และมีการพัฒนาคุณภาพน้ำ และการเชื่อมต่อ ระบบคลองภายในซอย
ย่อย

DETENTION POND
พื้นที่บ่อน้ำที่ทำหน้าที่ในการกักเก็บน้ำที่อยู่บนพื้นถนน ช่วยลดปั ญหาน้ำ
รอระบายและช่วยบรรเทาการจราจร

POCKET PARK
สร้างกิจกรรมที่ช่วยสร้างเสริมการมีปฎิสัมพันธ์ ของคนในพื้นที่ และ
เป็ นการช่วยในการลดใช้รถยนต์

2.2 กรณีศึกษา

ภาพที่2 เมืองอู่ฮั่น sponge city ที่มา: the guardian

เมืองอู่ฮัน ประเทศจีน

เมืองอู่ฮั่น เมืองที่มีการต่อสู้กับน้ำท่วม และ การป้ องกันน้ำท่วมตลอดมา


และมีจุดเปลี่ยนแนวคิดสำคัญในการปรับตัวเข้าหาน้ำ จนนำไปสู่
ต้นแบบ sponge city โดยมีการจัดการน้ำที่เป็ นแบบแผนและอย่างเป็ น
ระบบเพื่อรับมือกับปั ญหาน้ำท่วม. นอกจากนี้ยังมีการใช้เทคโนโลยีที่ทัน
สมัยเพื่อลดผลกระทบจากน้ำท่วมในเมือง

sponge city อู่ฮั่น ได้นำแนวคิดของ sponge city มาใช้ในการจัดการ


น้ำ. sponge city เป็ นแนวคิดที่ลดสิ่งกีดขวางน้ำและระบบ
สาธารณูปโภคที่ทำให้น้ำฝนสามารถซึมผ่านได้เพื่อลดปั ญหาน้ำท่วม

Green open space การสร้างพื้นที่เปิ ดสีเขียว เช่น สวนสาธารณะ,


สวนสาธารณะแห่งชาติ, และพื้นที่สีเขียวในแบบต่างๆ เพื่อลดการกักเก็บ
น้ำ บนผิวเมือง และซึมซับลงผิวดินได้

บ่อกักเก็บน้ำ การสร้างบ่อกักเก็บน้ำที่สามารถรองรับปริมาณน้ำที่มาก
ขึ้นในช่วงฤดูฝน เพื่อลดภาระของระบบระบายน้ำในเมือง

การใช้วัสดุที่ทำให้น้ำฝนสามารถไหลผ่านการนำเข้าวัสดุที่ทำให้น้ำฝน
สามารถไหลผ่านได้ดี, เช่น ทางน้ำหลาย layer, ทางน้ำที่ทำจากวัสดุที่
ผสานเข้ากับธรรมชาติ

การใช้เทคโนโลยีดิจิตอล การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการน้ำ เช่น


การใช้ระบบเซ็นเซอร์สำหรับตรวจจับระดับน้ำ การควบคุมระบบน้ำ
อัตโนมัติ และการใช้ข้อมูลทางดิจิทัลเพื่อการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ.
ภาพที่3 เมืองเบอร์ลิน sponge city ที่มา: citymonitor

เมืองเบอร์ลิน ประเทศเยอรมัน

มีการใช้ระบบสีเขียวเบอร์ลินใช้แนวคิดของ Green Infrastructure เพื่อ


ลดผลกระทบจากน้ำท่วม. การสร้างพื้นที่green open, สวนสาธารณะ,
และพื้นที่อื่น ๆ ที่สามารถรักษาน้ำฝนได้, ช่วยลดการสะสมของน้ำฝนที่
ทำให้เกิดน้ำท่วมได้
การประยุคใช้เทคโนโลยีดิจิตอล: เมืองเบอร์ลินมีการนำเทคโนโลยี
ดิจิทัลมาใช้ในการควบคุมระบบน้ำ, การคาดการณ์สถานการณ์อันตราย
จากน้ำท่วม, และการจัดการฉุกเฉิน การใช้ข้อมูลทางดิจิตอลทำให้เมือง
สามารถตอบสนองต่อสถานการณ์ฉุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพ

การรับมือกับการนำข้อมูลไปใช้: เมืองเบอร์ลินมีการใช้ข้อมูลที่ได้รับ
จากตัวตรวจวัด, ระบบเซ็นเซอร์, และข้อมูลที่สะสมจากประชาชนเพื่อ
วางแผนและปรับปรุงระบบการจัดการน้ำ

การปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ: วิธีที่เบอร์ลิน
กำลังรับมือเพื่อการปรับตัวกับจากการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ คือ
การเพิ่มสีเขียวในเมือง, การปลูกพืชที่ช่วยในการดูแลรักษาน้ำ, หรือ
มาตรการป้ องกันที่ทำให้เมืองทนทานต่อภัยน้ำท่วมที่อาจเพิ่มขึ้น

มิติทางสังคม: บทความอาจเน้นถึงมิติทางสังคม, เช่น การ


ประชาสัมพันธ์กับประชาชนในการจัดการน้ำ, การส่งเสริมการมีส่วนร่วม
ของชุมชนในกระบวนการตัดสินใจ, หรือมิติทางสังคมที่สำคัญในการทำให้
ระบบจัดการน้ำเป็ นประสบการณ์ที่เป็ นที่ยอมรับในชุมชน
ภาพที่4 delta works ที่มา: urbancreature

Delta Works หรือ Delta Project คือ โครงการในประเทศ


เนเธอร์แลนด์ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อป้ องกันจากน้ำทะเลและน้ำแม่น้ำที่สูง
ขึ้น ประเทศเนเธอร์แลนด์ได้พัฒนาระบบการควบคุมน้ำขนาดใหญ่ ที่มีชื่อ
ว่า Delta Works ซึ่งประกอบด้วยแนวคิดทางวิศวกรรมที่สร้างสรรค์และ
ทันสมัย.

กลไกของโครงการ

ซีลกั้นน้ำและการปรับปรุงดิน: การสร้างที่กั้นน้ำทะเลที่มีขนาดใหญ่เพื่อ
ป้ องกันการท่วมของน้ำทะเล นอกจากนี้มีการปรับปรุงดินน้ำและทำประตู
น้ำเพื่อควบคุมการไหลของน้ำ.
ระบบส่งน้ำออก: มีระบบส่งน้ำออกที่ทันสมัยเพื่อลดแรงดันจากน้ำทะเล
และน้ำแม่น้ำ.

ซ่อมแซมท่าเรือและทางเดินน้ำ: โครงการนี้มีการปรับปรุงท่าเรือและทาง
เดินน้ำเพื่อให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ.

การใช้เทคโนโลยีทันสมัย: การนำเข้าเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อตอบสนองต่อ


สภาพภูมิอากาศที่กำลังเปลี่ยนแปลง.

Delta Works คือกลุ่มโครงการระบบป้ องกันน้ำที่ใหญ่ที่สุดในโลกและมี


ผลกระทบที่สำคัญต่อการป้ องกันน้ำท่วมในประเทศเนเธอร์แลนด์ การ
ผสมผสานระบบทางวิศวกรรมและการใช้เทคโนโลยีทันสมัยทำให้ Delta
Works เป็ นตัวอย่างที่ดีในการจัดการทรัพยากรน้ำ

2.3 นโยบายและแผนการพัฒนาที่เกี่ยวข้อง
FAR (Floor to Area Ratio) คือ อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อ
พื้นที่ดิน เป็ นตัวกำหนดว่าจะสามารถสร้างอาคารได้ขนาดเท่าไหร่ โดยมี
วิธีคำนวณคือ

พื้นที่อาคารสูงสุดที่สร้างได้ = ค่า FAR X ขนาดพื้นที่ดิน

แต่ละโซนสี ค่า FAR จะแตกต่างกัน ตามเป้ าหมายการควบคุมความหนา


แน่นของประชากรที่เหมาะสม

โดยที่ ค่า FAR นั้น จะมีการที่ส่งเสริมจากมาตรการทางผังเมืองเพื่อ


ที่จะสนับสนุน การพัฒนา เพื่อส่วนร่วมคือ FAR BONUS ในที่นี้มี
มาตร FAR BONUS ที่ส่งเสริมการพัฒนาพื้นที่ ซึมน้ำ และหน่วงน้ำคือ
FAR BONUS พื้นที่หน่วงน้ำ

พื้นที่สำหรับการกักเก็บน้ำฝนในอาคารหรือแปลงที่ดิน - อย่างเช่น
การทำ roof top garden หรือการทำที่ระบายน้ำฝน โดยเงื่อนไขคือ การกัก
เก็บน้ำฝน 1 ลบ.ม. ต่อพื้นที่ดิน 50 ตร.ม. สามารถเพิ่ม FAR ในอัตราส่วนร้อย
ละ โดยมาตรการนี้จะส่งเสริมให้ภาคเอกชนนั้น มามีส่วนร่วมในการ
พัฒนาพื้นที่หน่วงน้ำโดยมีแรงจูงใจคือ FAR BONUS เพื่อให้เกิดการพัฒนา

อย่างเต็มศักยภาพและช่วยในการพัฒนา พื้นที่ให้มีคุณภาพส่งเสริมความ
เป็ นอยู่ของประชากร

OSR (Open Space Ratio) คือ อัตราส่วนของพื้นที่ว่างต่อพื้นที่อาคาร


รวม เป็ นตัวกำหนดว่าต้องเหลือพื้นที่ว่างบนพื้นดินเท่าไหร่ ส่งผลต่อขนาด
อาคารเช่นเดียวกัน โดยมีวิธีการคำนวณ คือ

พื้นที่เปิ ดโล่งบนที่ดิน = ค่า OSR x พื้นที่อาคาร

เป็ นหลักการของการสร้างเมืองที่โปร่ง โล่ง สบาย และมีลมเพื่อระบาย


อากาศที่ดี

BAF ย่อมาจาก Biotope Area Factor หรืออัตราส่วนพื้นที่น้ำซึมผ่าน


ได้

อัตราส่วนพื้นที่น้ำซึมผ่านได้ = ค่า OSR x พื้นที่อาคาร x 50%


เพื่อปลูกต้นไม้ เป็ นแนวคิดการลดโลกร้อน การป้ องกันน้ำท่วม และการ
เพิ่มพื้นที่สีเขียวของเมือง โดยจะกำหนดให้มีอัตราส่วนไม่น้อยกว่าครึ่ง
หนึ่ง หรือร้อยละ 50 ของพื้นที่ OSR

TDR

หลักการของแนวคิด TDR นี้ คือการซื้อขาย “สิทธิ” ในด้านพัฒนา


บนที่ดิน ระหว่าง พื้นที่ที่ต้องการจะควบคุมการพัฒนาหรืออนุรักษ์
(Sending Areas) และ พื้นที่ที่มีการเจริญเติบโตและได้รับการสนับสนุน
การพัฒนา (Receiving Areas) โดย TDR ที่ได้รับ จะเป็ นในรูปแบบของ
การพัฒนาอาคาร ที่สามารถเพิ่มชั้นความสูงอาคาร, จำนวนอาคาร, ความ
หนาแน่นของอาคารได้มากขึ้น โดยเจ้าของสิทธิหรือ Sending Areas ก็
จะสามารถได้ประโยชน์ในด้านการควบคุมการหนาแน่นในพื้นที่ให้ลดลง
เพื่อการอนุรักษ์รักษาสิ่งแวดล้อม, รักษาพื้นที่เกษตรกรรม, รักษาพื้นที่
ทางประวัติศาสตร์หรือพื้นที่รองรับน้ำได้ โดยมีข้อจำกัดคือ ถึงแม้จะมีการ
ซื้อขายหรือโอนสิทธิในการพัฒนา แต่โฉนดยังคงเป็ นของเจ้าของที่ดินหรือ
เจ้าของ Sending Areas
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นที่ศึกษา
3.1 ข้อมูลด้านประวัติศาสตร์
3.2 ข้อมูลด้านกายภาพ
3.2.1 ที่ตั้งอาณาเขต และสภาพทั่วไปของพื้นที่ศึกษา
3.2.2 ข้อมูลกายภาพอาคารในพื้นที่ศึกษา และพื้นที่ข้างเคียง
3.2.3 โครงข่ายการสัฐจรและระบบถนน

3.3 ข้อมูลประชากร สถิติ และการใช้งานพื้นที่

บทที่ 4 วิเคราะห์พื้นที่โครงการ
4.1 การวิเคราะห์กายภาพ
4.1.1 ปั ญหาและอุปสรรค์
4.1.2 จุดแข็งและโอกาสของพื้นที่
4.1.3 ความท้าทาย

4.2 การวิเคราะห์โปรแกรมการพัฒนา
4.2.1 (นำเสนอตารางการให้คะแนน โปรแกรม จำนวน สัดส่วนจาก case

และสถิติ วิธีเลือกยุทธศาสตร์)
4.2.2 การวิเคราะห์ผู้ใช้งานในอนาคต
บทที่ 5 แนวคิดและรายละเอียดโครงการ

บรรนานุกรม

สันติ ภัยหลบลี้(2021).วัฎจักรอุทกวิทยา.สืบค้นเมื่อ 11 กันยายน 2566 ,สืบค้นได้


จาก: http//:www.mitrearth.org/9-5-water-cycle/
ณิชากร เรียงรุ่งโรจน์ ชยากรณ์ กำโชค(2021).เมืองฟองน้ำ: แนวคิดที่ทำให้เมืองกับ
น้ำเป็ นมิตรของกันและกัน.สืบค้นเมื่อ 11 กันยายน 2566 ,สืบค้นได้
จาก:https://theurbanis.com/environment/01/09/2021/5343

CPUD (n.d.). การวางและจัดทำผังเมืองรวมครั้งที่ 4. Google Drive. Retrieved


November 1, 2566, from
https://drive.google.com/file/d/1QUAHRznO1FMkU4GzjVnnR-
N0oi7kIc5B/view

REALIST BLOG (n.d.). รถไฟฟ้ าสายสีน้ำตาล. Thelist. Retrieved November


14, 2566, from https://thelist.group/realist/blog/brown-line/

LAD Consultant (n.d.). ทำความเข้าใจ “TDR” มาตรการผังเมืองเรื่องใกล้ตัว.


Lad. Retrieved November 16, 2566, from
https://www.lad.co.th/th/post/ทำความเข้าใจ-tdr-มาตรการผังเมืองเรื่องใกล้
ตัว-1

สยามรัฐ (n.d.). ทำความเข้าใจ “TDR” มาตรการผังเมืองเรื่องใกล้ตัว. Siamrath.


Retrieved November 11, 2566, from https://siamrath.co.th/n/279746

ไทยพับลิก้า (n.d.). “อรรถเศรษฐ์ เพชรมีศรี” ที่ปรึกษาผู้ว่ากทม. ชวนแกะรอย


ปั ญหา “น้ำท่วมกรุงเทพฯ” จาก “ท่อระบายน้ำ” ถึง “แม่น้ำเจ้าพระยา”.
Thaipublica. Retrieved November 19, 2566, from
https://thaipublica.org/2019/06/atthaseth-petmeesri-bangkok-flood-
problem/
porouscity network (n.d.). THAILAND REMADE. Porouscity. Retrieved
November 2, 2566, from http://www.porouscity.org

terra bkk (n.d.). วิธีเพิ่ม FAR ตามข้อกำหนดผังเมืองรวม. Retrieved October


27, 2566, from https://www.terrabkk.com/articles/159130/วิธีเพิ่ม-far-
ตามข้อกำหนดผังเมืองรวม

urbancreature (n.d.). ท่อรอระบายนํ้า. Retrieved November 17, 2566,


from https://urbancreature.co/bangkok-sewer-rainy/

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (n.d.). คลองในกรุงเทพ. Digital.car.Chula. Retrieved


November 1, 2566, from
https://digital.car.chula.ac.th/cgi/viewcontent.cgi?
article=1071&context=jdm

“Delta Works วิศวกรรมป้ องกันน้ำท่วมที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก” .2017. รวิสรา เมฆ


ะสุวรรณโรจน์

, Accessed25 December . https://urbancreature.co/delta-works/


“Berlin offers a model for how cities can cope with increasingly regular
extreme floods
” .2023. Jack May

, Accessed25 December . https://citymonitor.ai/sustainability/berlin-


offers-model-how-cities-can-cope-increasingly-regular-extreme-floods-
3355

“Inside China's leading 'sponge city': Wuhan's war with water” .2019.
Marina Hyde, Accessed25 December .
https://www.theguardian.com/cities/2019/jan/23/inside-chinas-leading-
sponge-city-wuhans-war-with-water

You might also like