Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 61

8/21/2016

ระบบการจ่ายไฟฟ้ า การต่อลงดิน
ระบบไฟฟ้ าในอาคารชุด
กิตติพงษ์ วีระโพธิป
์ ระสิทธิ์
3 กันยายน 2559

ประวัต ิ นายกิตติพงษ์ วีระโพธิป ิ ธิ์


์ ระสท

 การศึกษา
• ป. ตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า (KMUTT)
• ป. โท การจัดการภาครัฐและเอกชน (NIDA)
• Graduate Level programs in Power Engineering in Electrical Power Distribution
;Pennsylvania State University
 สถานที่ทํางาน ผู้อํานวยการไฟฟ้าเขตสมุทรปราการ การไฟฟ้านครหลวง
 ประสบการณ์ทํางาน
• คณะอนุกรรมการและผู้ชํานาญพิเศษในการทดสอบความรู้ความชํานาญผู้ประกอบวิชาชีพ ระดับภาคีพิเศษ
สามัญวิศวกร และวุฒิวิศวกร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ของสภาวิศวกร(2547-ปัจจุบัน)
• คณะกรรมการสาขาไฟฟ้าและคณะอนุกรรมการร่างมาตรฐาน ของ ว.ส.ท.( ตั้งแต่ ปี 2537- ถึงปัจจุบัน)
• วิทยากรบรรยายเรื่อง “มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทยและการออกแบบระบบไฟฟ้า” ของ
ว.ส.ท (ตั้งแต่ปี 2544-ปัจจุบัน)
• ประธานสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ประจําปี พ.ศ.
2557 - 2559
2
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

1
8/21/2016

บทที่ 1 นิยามและข ้อกําหนดทั่วไป

บทที่ 2 มาตรฐานสายไฟฟ้ าและบริภัณฑ์ไฟฟ้ า


บทที่ 3 ตัวนํ าประธาน สายป้ อน วงจรย่อย เป็นมาตรฐานหล ักสําหร ับ
บทที่ 4 การต่อลงดิน งานออกแบบและงาน
ติดตงทางไฟฟ
ั้ ้า
บทที่ 5 การเดินสายและวัสดุ

บทที่ 6 บริภัณฑ์ไฟฟ้ า

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

บทที่ 8 สถานทีเ่ ฉพาะ

บทที่ 9 อาคารชุด อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พเิ ศษ ใช ้เป็ นมาตรฐานเสริมสําหรับงาน


บทที่ 10 บริภัณฑ์เฉพาะงาน ออกแบบและงานติดตัง้ ทางไฟฟ้ าที่
บทที่ 11 มาตรฐานการทนไฟของสายไฟฟ้ า เพิม
่ เติมจากบทที่ 1 ถึง 6
บทที่ 12 วงจรไฟฟ้ าช่วยชีวต

บทที่ 13 อาคารเพือ
่ การสาธารณะใต ้ผิวดิน
บทที่ 14 การติดตัง้ ไฟฟ้ าชัว่ คราว
EIT STANDARD 2001-50

มาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้ าฯ

หัวข ้อการบรรยาย
4

1.ระบบผลิตและจําหน่ายไฟฟ้ าใน
ประเทศไทย

2. การต่อลงดินและระบบสายใต ้ดิน

3.การคํานวณโหลดไฟฟ้ าในอาคารชุด

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

2
8/21/2016

5 ระบบผลิตและจําหน่ายไฟฟ้าไทย

ระบบผลิต...?
ระบบจําหน่าย..?
ระบบรับไฟฟ้ า.. ?

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

โครงสร ้างของระบบไฟฟ้ ากําลังมี 3 สว่ น คือ


6

ระบบผลิต (Generating System)


• * กฟผ. เป็นผูร้ ับผิดชอบดูแล

่ (Transmission System)
ระบบสง
• * กฟผ. เป็นผูร้ ับผิดชอบดูแล

ระบบจําหน่าย (Distribution System)


• * กฟภ. และ กฟน. เป็นผูร้ ับผิดชอบดูแล

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

3
8/21/2016

ระบบผลิตและระบบจําหน่ายไฟฟ้ า:ในประเทศไทย
7

การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

การไฟฟ้านครหลวง

่ นภูมภ
การไฟฟ้าสว ิ าค

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

ระบบผลิตและจําหน่ายไฟฟ้ า :ในประเทศไทย
โรงไฟฟ้า
(13.8kV)

บ้าน
โรงงานฯ
สถานีแปลง

แรงด ันขึน
สายป้อน
สายส่ง แรงตํา่
แรงด ันสูง เมือง
400/230 V
500,230kV
สายส่งแรงด ันสูง 400/230 V
สถานี
สถานีตน
้ ทาง ปานกลาง
ย่อย
115,69kV
สายป้อนแรงสูง
12,24kV โรงงานฯ

22,33kV
โรงงานฯ 8
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

4
8/21/2016

ระบบจําหน่ายไฟฟ้ า(Distribution System)


9

่ แรงสูง
ระบบสายสง
• 69 หรือ 115 kV 3 เฟส 3 สาย

ระบบสายป้อนแรงสูง
• 12 หรือ 24 kV 3 เฟส 3 สาย

ระบบสายแรงตํา

• 400/ 230 V. 3 เฟส 4 สาย
• 230 V. 1 เฟส 2 สาย

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

ตย.ระบบจําหน่ายไฟฟ้ า กฟน.
10 69, 115 k V
รูปจําลองระบบไฟฟ้า กฟน. (บางส่วน)
69, 115 k V
ลูกค้า

สายส่ง

EGAT MEA
สถานีตน
้ ทาง
MEA EGAT
LBS
สถานีตน
้ ทาง

69 ,115 kV/ 12, 24 k V


60 MVA, 40 MVA

สถานียอ
่ ย สถานียอ
่ ย

2x3.6 Mvar
Cap. สวิตช์
สายป้อน

DF Fixed Cap. Switching Cap.


0.6 Mvar 1.8 Mvar

หม้อแปลงจําหน่าย
ลูกค้า
สายแรงตํา
่ 230/400 V

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

5
8/21/2016

รูปแบบระบบจ่ายไฟ:สายป้ อนอากาศ ของ กฟน.


11
Cutomer A Cutomer B

S/S 1 CB DS Cutout Fuse S/S 2


LBS
(Bay-1) (Bay-2)

Distribution
Transformer

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

โครงการเปลีย ่ นระบบสายอากาศเป็ นสายใต ้


ดินเพือ ี น
่ รองรับการเป็ นมหานครแห่งอาเซย
12

การดําเนินโครงการเปลีย
่ นระบบสายอากาศเป็ นสายใต ้ดินของ กฟน.

พืน
้ ทีป
่ ระกาศ
พืน
้ ทีป
่ ระกาศ และมีผล
และมีผลบังคับ บังคับใช ้ใน
ใช ้ในวันที่ 2 / วันที่ 10 พค.
พืน
้ ทีป
่ ระกาศ 2559
ถนนสีลม และมีผลบังคับ ก.พ./ 2558
ใช ้ 2/ม.ค./
พืน
้ ทีป
่ ระกาศ 2557
และกําลัง
ดําเนินการ

โครงการที่
ดําเนินการ
แล ้วเสร็จ
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

6
8/21/2016

13

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

รูปแบบการจ่ายไฟ:สายป้อนใต้ดน

Open Loop System (2-lines)
14

้ ํามาใชใ้ นโครงการปทุมว ัน โครงการสล


ระบบนีน ี ม มีอป
ุ กรณ์
ประเภท Ring Main Unit ชว ่ ยให้จา่ ยไฟกล ับคืนได้เร็วขึน ้ และมี
Fault Indicator ชว ่ ยให้การตรวจซอ ่ ม ทําได้งา ้
่ ยขึน

L1
L2

240A 240A
80A 80A 80A 80A 80A 80A

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

7
8/21/2016

รูปแบบระบบจ่ายไฟ:สายป้อนใต้ดน

Open Loop System (3-Lines)
15

L1 L2
240A
240A
80A 80A 80A 80A 80A 80A

L3

240A
80A 80A 80A

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

รูปแบบการจ่ายไฟ:สายป้อนใต้ดน

Special Spare Line
16
เป็ นรูปแบบผสมระหว่าง Open Loop กับ
Primary Selective ซึง่ ใน 1 ชุดของการจ่าย
จะประกอบด ้วยสายป้ อนจํานวน 4 สายป้ อน
L3 L4
โดยจ่ายไฟจริง 3 สายป้ อนและอีก 1 สาย
ป้ อนทีม ่ าจากหม ้อแปลงต่างเบย์หรือต่าง 240A
80A 80A 80A
สถานีจะเป็ นสายป้ อนสํารอง

L2

240A
80A 80A 80A

L1

240A
80A 80A 80A

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

8
8/21/2016

ขนาดโหลดและรูปแบบการจ่ายไฟ
ในระบบสายป้ อนแรงสูงใต ้ดิน
17

Single Loop: 2-Feeders


• โหลดไม่เกิน 4,000 kVA
Two Loop
• โหลดตงแต่
ั้ 4,001- 8,000 kVA.
Three Feeder
• โหลดตงแต่
ั้ 8,001 -15,000 kVA.

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

ระบบรับไฟฟ้ าจากสายแรงสูง

ระบบประธานแรงสูงทีร่ ับไฟจากระบบของ
การไฟฟ้ าฯ
• กฟน. มีระดับแรงดัน 12 kV, 24 kV
• กฟภ. มีระดับแรงดัน 22 kV, 33 kV

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59) 18

9
8/21/2016


วงจรการรับ-จ่ายไฟของผู ้ขอใชไฟฟ้ าทั่วไป
19

kWh
การไฟฟ้าฯ
สายเมนแรงสูง

หม้อแปลงไฟฟ้า
์ รงตํา
เมนสวิตชแ ่
สายเมนแรงตํา่

สายป้อน

วงจรย่อย

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

ระบบรับไฟฟ้ า :สายป้ อนแรงสูง


20

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

10
8/21/2016

ระบบแรงดันในการจ่ายไฟของการไฟฟ้ าฯ
21

ระบบจําหน่าย กฟน.(MEA) กฟภ.(PEA)

< 300kVA < 250kVA


ระบบแรงตํา

400/230V. 3Ph 4W. 400/230V. 3Ph 4W.

≥ 300 - 15,000 kVA. ≥ 250 - 10,000 kVA.


ระบบแรงกลาง
12/24kV. 3Ph 3W 22/33kV. 3Ph 3W

> 15,000 kVA. > 10,000 kVA.


ระบบแรงสูง
69/115kV. 3Ph 3W 115kV. 3Ph 3W

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

รูปแบบรับ-จ่ายไฟฟ้ า:แรงสูง-แรงตํา่
22

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

11
8/21/2016

รูปแบบรับ-จ่ายไฟฟ้ า:แรงสูง-แรงตํา่
23

Secondary Selective Radial System

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

รูปแบบรับ-จ่ายไฟฟ้ า:แรงสูง-แรงตํา่
24
Secondary Selective Parallel System

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

12
8/21/2016

กรณีท ี่ 1
รับไฟฟ้ าด ้วยระบบสายแรงสูงอากาศ
25

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

กรณีท ี่ 2
26
รับไฟฟ้ าด ้วยระบบสายใต ้ดินในพืน
้ ทีส
่ ายอากาศ

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

13
8/21/2016

ตย.รับไฟฟ้ าด ้วยสายแรงสูงใต ้ดิน


ในพืน
้ ทีร่ ะบบจ่ายไฟสายอากาศ
27

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

กรณีท ี่ 3
รับไฟฟ้ าจากพืน
้ ทีร่ ะบบสายแรงสูงใต ้ดิน
28

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

14
8/21/2016

ตย.รูปแบบการจ่ายไฟ:สายป้ อนใต ้ดิน


29

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

อุปกรณ์ป้องกันและอุปกรณ์ เครือ
่ งวัดหน่วย
ไฟฟ้ าแรงสูง
ROW.

RMU. &
Metering

MH.MEA

ห ้อง RMU&Meter
ของลูกค ้า
MH.1 MH.2
(ลูกค ้า) (ลูกค ้า) 30
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

15
8/21/2016

ระบบจําหน่ายสายอากาศของการไฟฟ้ าฯ
31

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

ระบบจําหน่ายระดับแรงดัน 230/400 V. (แรงตํา่ )


Supply Pillar
32
230V. โหลดแสงสว่าง
Unit Sub. PDC สาธารณะ
24 kV. 230/400 V.
230/400 V.

SPDC
โหลด
หรือ 230/400 V. สาธารณะ
RMU with TR.

LMC

230/400 V.
ผูใ้ ชไ้ ฟฟ้า

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

16
8/21/2016

ระบบจําหน่ายแรงตํา่ ในทีด
่ น
ิ จัดสรร
33

ระบบจําหน่ายแรงตํา่ สายใต ้ดินของการ


ไฟฟ้ าฯ
• กฟน.+ กฟภ. มีระดับแรงดัน
400/230V. 3Ph.

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

ระบบจําหน่ายแรงตํา่ ในทีด
่ น
ิ จัดสรร
34

Meter
Submersible
Connector

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

17
8/21/2016

การร ับไฟฟ้าแรงตํา
่ ทีอ
่ ยูอ ั
่ าศยฯ
35

วงจรสายป้ อ น

บริภ ณ
ั ฑ์ ป ระธาน(เมนสวิต ช์ )

วงจรย่ อ ย
ตัวนําประธาน(สายเมน)
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

หัวข ้อการบรรยาย
36

1.ระบบผลิตและจําหน่ายไฟฟ้ าใน
ประเทศไทย

2. การต่อลงดินและระบบสายใต ้ดิน

3.การคํานวณโหลดไฟฟ้ าในอาคารชุด

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

18
8/21/2016

การต่อระบบจ่ายไฟฟ้ าลงดินของการ
ไฟฟ้ าฯ

ทีน
่ วิ ทรัล(N) ของหม ้อแปลงการ
ไฟฟ้ าฯ จะถูกต่อลงดิน สายนิวทรัล(N) จะถูกต่อลง
ดินทุกๆ 200 เมตร
37
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

การต่อลงดินทีห
่ ม ้อแปลงจําหน่ายไฟฟ้ าแรงกลาง
12 kV หรือ 24 kV 3 เฟส 3 สาย ของ กฟน.

24kV

24kV 24kV

24kV

ทีข
่ วสายนิ
ั้ วทร ัล(N) ของหม้อแปลงในจําหน่ายแรงกลางของ กฟน.
จะถูกต่อลงดินโดยตรง( Solidly Grounded System)

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03- 38


08-59)

19
8/21/2016

การต่อลงดินทีห
่ ม ้อแปลงจําหน่ายไฟฟ้ าแรงตํา่
400/230V 3 เฟส 4 สาย ของ กฟน.

416 V
12 kV หรือ 24 kV 240 V
B
416 V 416 V
240 V
C
240 V
N

ทีข
่ วสายนิ
ั้ วทร ัล(N) ของหม้อแปลงในจําหน่ายแรงตํา่ ของ กฟน.
จะถูกต่อลงดินโดยตรง( Solidly Grounded System)

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03- 39


08-59)

การต่อลงดินทีห
่ ม ้อแปลงจําหน่ายไฟฟ้ าแรงกลาง
22 kV หรือ 33 kV 3 เฟส 3 สาย ของ กฟภ.
Overhead Ground Wire N

33 kV 3 เฟส 4 สาย
B
33 kV 33kV
C
19 kV

1 เฟส 2 สาย
สายนิวทร ัล(N) ของหม้อแปลงในจําหน่ายแรงกลางของ กฟภ.
จะถูกต่อลงดินโดยตรง( Solidly Grounded System)

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03- 40


08-59)

20
8/21/2016

การต่อลงดินทีห
่ ม ้อแปลงจําหน่ายไฟฟ้ าแรงตํา่
400/230V 3 เฟส 4 สาย ของ กฟภ.

400 V
230 V
B
แรงตํา่ 3 เฟส 4 สาย
22 kV หม้อแปลงระบบ 400 V 400 V
หรือ จําหน่าย 3 เฟส แรงสูง
230 V
33 kV C
230 V
N

ทีข
่ วสายนิ
ั้ วทร ัล(N) ของหม้อแปลงในจําหน่ายแรงตํา่ ของ กฟภ.
จะถูกต่อลงดินโดยตรง( Solidly Grounded System)

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59) 41

การต่
1. อลงดิ
กรณี ี นายดิ
ไม่มส เพือ
่ ต่
น ความปลอดภ
อทีอ
่ ป
ุ กรณ์ ัย
เพือ
่ ให้อป
ุ กรณ์ป้องก ันทํางานอย่างถูกต้อง

กรณีอป
ุ กรณ์ไม่ตอ
่ ลงดิน จะเกิดอันตรายต่อ
บุคคลกรณีเกิดไฟรั่ว

กิตวีติรพะโพธิ
(กิ ต ติ พงษ์ งษ์ ์ ปวีระสิ ทธิ์ ์ปมาตรฐาน
ระโพธิ ระสิทธิ์ ว.ส.ท.
ระบบสายดิ น อาคารชุ
2556 บทที ่ 4 ) ด(03-08-59) 42

21
8/21/2016

มาตรฐานการต่อลงดิน

 ว.ส.ท. 2001-51 บทที่ 4 “ การต่อลงดิน ”

 NEC Article 250 “ Grounding ”


 IEC 60364-5-54 “ Earthing Arrangement
and Protective Conductors ”

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59) 43

จุดประสงค์ของการต่อลงดิน

1) เพือ
่ ความปลอดภัย

2) เพือ
่ ให ้ระบบไฟฟ้ ามีคณ
ุ ภาพ

3) เพือ
่ ให ้อุปกรณ์ป้องกันทํางานเมือ
่ เกิด
ลัดวงจรลงดิน

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59) 44

22
8/21/2016

ถ ้าไม่มรี ะบบสายดิน...ทําไมไม่ปลอดภัย?

G
N

กรณีไม่มส
ี ายดินต่อทีอ
่ ป
ุ กรณ์คน
N จะไม่ปลอดภัยกรณีเกิดไฟฟ้ ารั่ว
และอุปกรณ์ป้องกันอาจไม่ทํางาน

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด


(03-08-59) 45

มีระบบสายดิน...แต่ทา
ํ ไม่ถก
ู ต้องก็ไม่ปลอดภ ัย?
กรณีมก ี ารต่อหลักดินทีอ
่ ป
ุ กรณ์ อาจ
G เกิดอันตรายต่อบุคคลกรณีเกิดไฟรั่ว
โดยเฉพาะกรณี R ดินมีคา่ สูง
N

คตท.(R) ดินอาจสูง
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด
(03-08-59) 46

23
8/21/2016

มีระบบสายดิน...แต่ทา
ํ ไม่ถก
ู ต้องก็ไม่ปลอดภ ัย?
กรณีใชส ้ ายนิวทร ัลเป็นสายดิน
หากสาย N ขาด อาจเกิดอันตรายต่อ
G บุคคล เพราะทีเ่ ปลือกอุปกรณ์จะมี
N แรงดัน

N
ดังนัน ้
้ จึงห ้ามใชสาย N แทนสายดิน

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59) 47

สายดินได้มาตรฐาน...ระบบป้องก ันทํางาน
การต่อลงดินตามมาตรฐาน วสท. คน
ปลอดภ ัย เพราะอุปกรณ์ถก ู ต่อลงดิน จึง
G ไม่เกิดอ ันตรายต่อบุคคลกรณีเกิดไฟรว่ ั
และอุปกรณ์ป้องก ันทํางาน
N

N G

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59) 48

24
8/21/2016

มีสายดินและเสริมด้วย RCD...คนปลอดภ ัย

คนจะปลอดภ ัยและทร ัพย์สน ิ ไม่


G
เสยี หาย!!
N อุปกรณ์ป้องก ันกระแสเกิน
ต้องทํางาน !

N ถ้ามี RCD เสริม คนจะปลอดภ ัย


เพราะอุปกรณ์ป้องก ันทํางานขณะไฟ
ดูดหรือรว่ ั

สงิ่ สําค ัญ... การต่อสายดินทีแ


่ ผนเมนสวิตช ์ ต้องถูกต้อง!!
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59) 49

Earth Fault Loop Impedance


Earth fault loop impedance คือค่า ?
= Ztr + Zph +Zg (สายดิน)
G = ทางเดินของกระแสลัดวงจรจาก
แหล่งจ่ายไหลกลับไปทีห
่ ม ้อแปลง
N
Ztr Zph

Zg

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59) 50

25
8/21/2016

Earthing Arrangement
IEC 60364-5-54

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59) 51

Earthing Arrangement
IEC 60364-5-54

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59) 52

26
8/21/2016

IEC 60364-5-54;TN-C-S system


TN-C สายนิ ว ทรัล TN-S สายนิ ว ทรัล
และสายดิ น ป้ อ งกัน และสายดิ น ป้ อ งกัน
ร่ว มกัน แยกกัน

MDB

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59) 53

การต่อลงดินเพือ
่ คุณภาพไฟฟ้ าทีด
่ ี
การต่อลงดินระบบแรงตํา่ (N ลงดิน)
เพื
54

่ ลดแรงดันเกิน,แรงดันตกกรณีโหลดไม่สมดุลย์

กรณีจดุ N ไม่ได้ ถกู ต่อกับ G หากโหลดไม่สมดุลแรงดันแต่ละเฟสจะไม่เท่ากันเพราะจุด N


ไม่ได้ ถกู อ้ างอิงไว้ ที่ G
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

27
8/21/2016

กรณีหม ้อแปลงติดตัง้ อยูน


่ อกอาคาร

ภายนอกอาคาร
หม ้อแปลงทีต ่ ด
ิ ตัง้ ภายในอาคาร
ภายนอกอาคาร
- ทีข
่ วั ้ N ต ้องถูกต่อ
ลงดินเพิม ่ ด ้วย

สาย N จากหม้อแปลง

MDB
Neutral

Ground

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59) 55

กรณีท1
ี่ การต่อลงดิน
ของบริภณั ฑ์ประธานฯ ตัง้ แต่ 2 หลังขึน
้ ไป

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59) 56

28
8/21/2016

กรณีท1
ี่ การต่อลงดินของบริภณ ั ฑ์ประธาน
มีอาคาร ตัง้ แต่ 2 หลังขึน
้ ไป
สายเฟสและสาย N (ไม่ต้องเดิ นสายดิ นมาด้วย)
หมายเหตุ ต้องไม่มีการต่อถึงกันทางไฟฟ้ า

อาคารที่ 1 อาคารที่ 2

แผงประธาน 1 แผงประธาน 2
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59) 57

กรณีท ี่ 2 การต่อลงดินของบริภณ ั ฑ์ประธาน


มีอาคาร ตัง้ แต่ 2 หลังขึน
้ ไป
สายเฟส + N + G ไม่จา
ํ เป็นต้องมีหล ักดินก็ได้
(G ต้องเดินสายดินมาด้วย) หากมีหล ักดิน
ห ้ามต่อระบบไฟฟ้ าลงดิน(ห ้ามต่อ
ระหว่าง G-N)

อาคารที่ 1 อาคารที่ 2

แผงประธาน 1 แผงประธาน 2
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59) 58

29
8/21/2016

ต่อฝาก N และ G ลงดินเฉพาะทีบ


่ ริภัณฑ์ประธานเท่านั น

LP2

N G

ไม่ มีการต่ อถึง


กันระหว่ าง N
และ G N G
LP1

ต่อ ระหว่าง N
MDB
และ G
N G

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59) 59

ห ้ามต่อฝากลงดินทีจ
่ ด
ุ อืน
่ อีก ??

LP2

N G
ห้ามมีก ารต่อ
ถึงกัน ระหว่าง
N และ G LP1
N G

ต่อ ระหว่าง N
และ G MDB
N G

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-


08-59) 60

30
8/21/2016

ทําไมต ้องต่อลงดินเฉพาะทีบ
่ ริภณ
ั ฑ์ประธาน ????
LP2

ไม่ม ีก ารต่อ ถึง


กัน ระหว่าง N
G
N และ G
LP1
N G
ภาวะปกติ
ต้อ งไม่ม ี
กระแสไหลใน MDB
G
สาย G N

ดังนั้นจึงห้ามต่อฝากลงดินที่จุดอื่นอีก!!!
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59) 61

มาตรฐานการกําหนดขนาดสายดิน วสท.
สายต่อฝากหล ัก(System Main
Bonding Jumper) 4.15.6 (ก-ค)
้ าม T 4-1
• ขนาดใชต
• กรณีสายประธานใหญ่กว่าทีก
่ า
ํ หนดใน T
N 4-1 ต้อง ≥ 12.5% ของสายประธาน

สายนิวทรัล(N)
 ขนาด ≥ ทีค
่ ํานวณ
ตามข ้อ 3.2.4
สายต่อฝากด้านไฟออก
ของบริภ ัณฑ์ประธาน
4.15.6(ง)
สายต่อฝากของบริภ ัณฑ์
• ขนาดใช้ตาม T 4-2
(Bonding Jumper)
4.15.6(ค)
• ขนาดใช้ตาม T 4-1
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59) 62

31
8/21/2016

ตารางที่ 4-1 ขนาดตํา


่ สุดของสายต่อหล ักดินของ
ระบบไฟฟ้ากระแสสล ับ
63

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

ตารางที่ 4-2 ขนาดตํา่ สุดของสายดินของบริภัณฑ์ไฟฟ้ า


64

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

32
8/21/2016

ตย. ขนาดสายดินบริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ า
400A 400
LP2 1-25
N G

200A 200
1-16
LP1
N G

LP1 200
LP2 400 MDB
N G พิจารณาจากตารางที่ 4-2
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-
59) 65

ตย. ขนาดสายดินบริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ า(ต่อ)
150AT
20AT 1-2.5

LP2
N G 40AT
1-4

100AT
LP1
N G 1-16

3-240, 1-150

MDB
200 1-10
400
ตารางที่ 4-1 N G
1-50
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-
59) 66

33
8/21/2016

การต่อลงดินตามมาตรฐาน วสท.
67 หม้ อแปลง อาคาร
MDB

ต่อถึงกันระหว่าง N
สายศูนย์และสายดิน G

มีการต่อลงดินที่
แผงเมนไฟฟ้าเท่านั้น
N
ไม่มีการต่อถึงกันระหว่าง G
สายศูนย์และสายดิน
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

หัวข ้อการบรรยาย
68

1.ระบบผลิตและจําหน่ายไฟฟ้ าใน
ประเทศไทย

2. การต่อลงดินและระบบสายใต ้ดิน

3.การคํานวณโหลดไฟฟ้ าในอาคารชุด

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

34
8/21/2016

ระบบจ่า ยไฟฟ้ า ในอาคารชุด


69

เครื่องวัดหน่วยไฟฟ้ารวม
หม้อแปลงไฟฟ้า

แผงสวิตช์รวมแรงต่ํา(MDB)
สายป้อน

ไฟฟ้าส่วนกลาง
เครื่องวัดหน่วยไฟฟ้ารอง

แผงเมนสวิตช์ในห้องชุด
ตัวนําประธานเข้าห้องชุด
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

การคํา นวณโหลดในอาคารชุด
70

1) โหลดไฟฟ้าส่วนกลาง

2) โหลดห้องชุด
 ประเภทอยู่อาศัย
 ประเภทสํานักงาน หรือร้านค้าทั่วไป
 ประเภทอุสาหกรรม

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

35
8/21/2016

ระบบเครื่อ งวัด ไฟฟ้ า ในอาคารชุด


71

เครื่ องวัดหน่ วยไฟฟ้ารวม


 ติดตั้งเพื่อแบ่ งแยกทรัพย์สิน
 เพื่อวัดค่ ากระแสไฟฟ้ าส่ วนกลาง

เครื่ องวัดหน่ วยไฟฟ้ารอง


 ติดตั้งสํ าหรับคิดค่ ากระแสไฟฟ้ า
ของแต่ ละห้ องชุด
 เป็ นได้ ท้ งั เครื่ องวัดฯ รอง แรงสู ง
และ แรงตํา่
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

พืน้ ที่ส ่ว นที่ใ ช้ค าํ นวณโหลดห้อ งชุด


72

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

36
8/21/2016

โหลดห้อ งชุด ประเภทอยู่อ าศัย (ต่อ )


73

่ นกลาง
มีระบบทําความเย็นจากสว
 ้ ทีไ่ ม่เกิน 55 ตร.ม.
ขนาดพืน
Ls ≥ 20 x A + 1,500 VA.
 ้ ทีม
ขนาดพืน ่ ากกว่า 55 แต่ไม่เกิน 180 ตร.ม.
Ls ≥ 20 x A + 3,000 VA.
 ้ ทีม
ขนาดพืน ่ ากกว่า 180 ตร.ม.
Ls ≥ 20 x A + 6,000 VA.

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

ตย.การคํา นวณโหลดห้อ งชุด ประเภทอยู่อ าศัย


74

ตัวอย่ างที่ 1 ห้ องชุ ดทีอ่ ยูอาศัยขนาด 350 ตร.ม.


มีระบบทําความเย็น จากส่ วนกลาง จงหาขนาด
โหลดของห้ องชุ ด ?
Ls = 20 x A + 6,000 VA.

Ls = 20 x 350 + 6,000 VA.

Ls = 13,000 VA.

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

37
8/21/2016

โหลดห้อ งชุด ประเภทอยู่อ าศัย (ต่อ )


75

่ นกลาง
ไม่มรี ะบบทําความเย็นจากสว
 ้ ทีไ่ ม่เกิน 55 ตร.ม.
ขนาดพืน
Ls ≥ 90 x A + 1,500 VA.
 ้ ทีม
ขนาดพืน ่ ากกว่า 55 แต่ไม่เกิน 180 ตร.ม.
Ls ≥ 90 x A + 3,000 VA.
 ้ ทีม
ขนาดพืน ่ ากกว่า 180 ตร.ม.

Ls ≥ 90 x A + 6,000 VA.

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

ตย.การคํา นวณโหลดห้อ งชุด ประเภทอยู่อ าศัย


76

ตัวอย่ างที่ 2 ห้ องชุ ดทีอ่ ยูอาศัยขนาด 100 ตร.ม.


ไม่ มีระบบทําความเย็น จากส่ วนกลาง จงหาขนาด
โหลดของห้ องชุ ด ?
Ls = 90 x A + 3,000 VA.
จาก
Ls = 90 x 100 + 3,000 VA.

Ls = 12,000 VA.

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

38
8/21/2016

โหลดห้องชุด
77
ํ น ักงานหรือร้านค้าทว่ ั ไป
ประเภทสา

 ่ นกลาง
ประเภทมีระบบทําความเย็นจากสว
Ls ≥ 85 x A (VA.)
 ่ นกลาง
ประเภทไม่มรี ะบบทําความเย็นจากสว
Ls ≥ 155 x A (VA.)

 ห้องชุดทีใ่ ชไ้ ฟฟ้ามากเป็นพิเศษ


คํานวณโหลดตามทีค
่ าดว่าจะติดตงจริ
ั้ ง

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

ตย.การคํา นวณโหลดห้อ งชุด ประเภทสํา นัก งาน


78

ตัวอย่างที่ 3 ห้ องชุดสํ านักงานขนาด 500 ตร.ม. มี


ระบบทําความเย็นจากส่ วนกลาง จงหาขนาดโหลด
ของห้ องชุด ?

จาก Ls = 85 x A VA.

Ls = 85 x 500 VA.

Ls = 42,500 VA.

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

39
8/21/2016

ตย.การคํา นวณโหลดห้อ งชุด ประเภทร้า นค้า


79

ตัวอย่างที่ 4 ห้ องชุ ดร้ านค้ าขนาด 300 ตร.ม. ไม่ มี


ระบบทําความเย็นจากส่ วนกลาง จงหาขนาดโหลด
ของห้ องชุด ?

จาก Ls = 155 x A VA.

Ls = 155 x 300 VA.

Ls = 46,500 VA.

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

ขนาดเครื่อ งวัด หน่ ว ยไฟฟ้ า แรงตํา่


80

 การหาขนาดเครื่อ งวัด หน่ วยไฟฟ้ า

1-Ph; Im = Ls / 230 A.

3-Ph ; Im = Ls / ( 3 x 400) A.

 ขนาดเครื่ อ งวัด ฯ ต้ อ งไม่ เ ล็ก กว่ าตาราง


ที่ 9-1- 9-5

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

40
8/21/2016

ตารางที่ 9-1 ขนาดเครือ ่ งว ัดหน่วยไฟฟ้าแรงตํา่


สําหร ับห้องชุดอยูอ ั ( กฟน.)
่ าศย
81
(สํ าหรั บการไฟฟ้ านครหลวง)
ลําดับที่ ประเภท พื้นที่ห้อง โหลดสู งสุ ดของ ขนาดเครื่ องวัดฯ
ตารางเมตร เครื่ องวัดฯ (A)
1 ไม่ มี ร ะบบทํา ความเย็ น 55 30 15 (45) A 1P
จากส่ วนกลาง 150 75 30 (100) A 1P
180 100 50 (150) A 1P
180 30 15 (45) A 3P
483 75 30 (100) A 3P
666 100 50 (150) A 3P
1,400 200 200 A 3P
2,866 400 400 A 3P

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

ตารางที่ 9-1(ต่อ) ขนาดเครือ ่ งว ัดหน่วย


่ สําหร ับห้องชุดอยูอ
ไฟฟ้าแรงตํา ่ าศย ั ( กฟน.)
82
(สําหรั บการไฟฟ้ านครหลวง)
ลําดับที่ ประเภท พื้นที่ห้อง โหลดสู งสุ ดของ ขนาดเครื่ องวัดฯ
ตารางเมตร เครื่ องวัดฯ (A)
35 10 5 (15) A 1P
2 มี ร ะบบทํา ความเย็ น จาก 180 30 15 (45) A 1P
ส่ วนกลาง 525 75 30 (100) A 1P
800 100 50 (150) A 1P
690 30 15 (45) A 3P
2,475 75 30 (100) A 3P
3,000 100 50 (150) A 3P
6,300 200 200 A 3P
12,900 400 400 A 3P

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

41
8/21/2016

ตารางที่ 9-3 ขนาดเครือ ่ งว ัดหน่วยไฟฟ้าแรง


่ สําหร ับห้องชุดสําน ักงานหรือร้านค้า ( กฟน.)
ตํา
83
(สํ าหรับการไฟฟ้านครหลวง)
ลําดับที่ ประเภท พืน้ ทีห่ ้อง โหลดสูงสุดของ ขนาดเครื่องวัดฯ
ตารางเมตร เครื่ องวัดฯ (A)
1 ไม่ มรี ะบบทําความเย็นจาก 40 30 15 (45) A 1P
ส่ วนกลาง 105 75 30 (100) A 1P
140 100 50 (150) A 1P
125 30 15 (45) A 3P
320 75 30 (100) A 3P
425 100 50 (150) A 3P
850 200 200 A 3P
1,700 400 400 A 3P

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

ตารางที่ 9-3(ต่อ) ขนาดเครือ ่ งว ัดหน่วยไฟฟ้าแรง


่ สําหร ับห้องชุดสา
ตํา ํ น ักงานหรือร้านค้า ( กฟน.)
84
(สํ าหรับการไฟฟ้ านครหลวง)
ลําดับที่ ประเภท พื้นทีห่ ้ อง โหลดสู งสุ ดของ ขนาดเครื่ องวัดฯ
ตารางเมตร เครื่ องวัดฯ (A)
2 มี ร ะบบทํา ความเย็น 80 30 15 (45) A 1P
จากส่ วนกลาง 190 75 30 (100) A 1P
260 100 50 (150) A 1P
230 30 15 (45) A 3P
580 75 30 (100) A 3P
770 100 50 (150) A 3P
1,550 200 200 A 3P
3,100 400 400 A 3P

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

42
8/21/2016

ตย. การกํา หนดเครื่อ งวัด ฯของห้อ งชุด


85

Ls = 12,000 VA.

Im = 12,000 / 230 A.

Im = 52.17A.
M = 30(100) A. 1 Ph, 2W.

100 ตร.ม. ไม่มีระบบทําความเย็น จากส่วนกลาง


กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

การติ ด ตัง้ เครื่อ งวัด หน่ ว ยไฟฟ้ า แรงตํา่


86

 การติดตั้งเครื่ องวัดฯ แรงตํ่า


 ต้องติดตั้งเป็ นกลุ่ม(Group Meter)
 บริ เวณที่ควรติดตั้ง คือ
 บริ เวณชั้นล่าง
 หรื อบริ เวณส่ วนกลางในแต่ละชั้น

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

43
8/21/2016

การป้องก ันกระแสเกิน
ของเครือ
่ งว ัดหน่วยไฟฟ้าแรงตํา

87

การป้องกันกระแสเกิน
 ต้ องติดตั้ง CB. หน้ าเครื่ องวัดฯ ทุกเครื่ อง
 พิกดั กระแสต้ อง ≥ 1.25 x ( Ls)
 ขนาดพิกดั สู งสุ ดกระแสต้ องไม่ เกิน
 ตารางที่ 3-4 ( กฟน.)
 ตารางที่ 3-5 ( กฟภ.)
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

พิกัดสูงสุดของเครื่องป้องกันกระแสเกินและโหลด
สูงสุดของเครื่องวัดฯ กฟน.(ตร.3-4)
(สํ า หรั บ การไฟฟ้ านครหลวง)
ขนาดเครื่ อ งวั ด หน่ ว ยไฟฟ้ า พิ กัด สู ง สุ ด ของเครื่ อ งป้ อ งกั น กระแสเกิน โหลดสู ง สุ ด
(แอมแปร์ ) (แอมแปร์ ) (แอมแปร์ )
5 (15) 16 10
15 (45) 50 30
30 (100) 100 75
50 (150) 125 100
200 200 150
250 200
400 300 250
400 300
500 400
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59) 88

44
8/21/2016

พิกดั สู งสุ ดของเครื่ องป้องกันกระแสเกินและโหลด


สู งสุ ดของเครื่ องวัดฯ กฟภ.(ตร. 3-5)
89

(สํ าหรับการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค)


ขนาด ขนาดของ ขนาดตัวนําประธาน เซอร์กติ เบรกเกอร์
เครื่องวัดหน่วยไฟฟ้า โหลด เล็กทีส่ ดุ ทีย่ อมให้ใช้ได้ ขนาดปรับตังสู
้ งสุด
(แอมแปร์ (แอมแปร์) (ตร. มม.) (แอมแปร์
5 (15) 12 4 15-16
15 (45) 36 10 40-50
30 (100) 80 35 100

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

ตย. การกํา หนดขนาด CBs ของห้อ งชุด


90

Ls = 12,000 VA.
In = 1.25 x ( Ls / 230 )
100AT
In = 1.25 x 52.17 A.
CBs = 65.22 A
100 ตร.ม. ไม่ ม ีร ะบบทําความเย็น จากส่ วนกลาง
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

45
8/21/2016

บริภ ณ
ั ฑ์ ป ระธานในห้ อ งชุด
91

บริภณ
ั ฑ์ ประธาน(ห้ องชุด)
 พิกดั กระแส(AT) ต้ องไม่ เกินขนาด CB.
ตัวหน้ าเครื่ องวัดฯ ของแต่ ละห้ องชุ ด
 ขนาดพิกดั กระแสของบริภณ ั ฑ์ ประธาน
ต้ องไม่ น้อยกว่ า 1.25 x Ls

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

ตัวนําประธานเข้ าห้ อ งชุด


92

ตัว นําประธานเข้าห้อ งชุด


 ตัว นํา ต้อ งมีข นาดกระแสไม่ต าํ่ กว่า CB.
 ตัว นํา ต้อ งไม่เล็ก กว่า 6 ตร.มม.
 ต้อ งเดิ น ในช่อ งเดิ น สายโลหะ !!!
 เดิ น สายในช่อ งอโลหะ?
 ไม่อ นุญ าตให้เดิ น สายบนผิว
 แต่ล ะห้อ งชุด ห้า มใช้ต วั นํา นิ ว ทรัล ร่ว มกัน

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

46
8/21/2016

ตย. การกําหนดเครื่ องป้ องกัน(CB)


93
ของห้ องชุด

Ls = 12,000 VA.

In = 65.21 A
100AT เลือก CBs = 100 AT
สาย = 2 x 35 Sqmm.IEC01

100 ตร.ม. ไม่ มีระบบทําความเย็น จากส่ วนกลาง


กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

94
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

47
8/21/2016

การคํานวณโหลดสายป้อน
สําหร ับห้องชุด
95

โหลดสายป้ อนหัองชุด
ให ้คํานวณจากผลรวมโหลดใน
ห ้องชุด
ให ้ใช ้ Co-incidence Factor
คํานวณ ลดขนาดสายป้ อนได ้
สายป้ อนต ้องมีพก ิ ด
ั กระแสไม่ตํา่
กว่าเครือ
่ งป้ องกันกระแสเกิน

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

การคํานวณโหลดสายป้ อนห้องชุด

1) โหลดห้องชุดอยูอ ั
่ าศย
100 ตร.ม. 50 ห้อง

2) โหลดห้องชุดร้านค้า
300 ตร.ม. 20 ห้อง
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59) 96

48
8/21/2016

การคํานวณโหลดห้องชุด
97

1. คํานวณโหลดห้องชุดอยูอ่ าศัยจากพืน้ ทีห่ อ้ งชุด


 ห้องชุดขนาด 100 ตร.ม. = ( 90x100 ) +3,000 VA.
= 12,000 VA.
= 52.17 A, 1Ph.
 ห้องชุดขนาด 300 ตร.ม. = ( 155x300 ) VA.
= 46,500 VA.
= 67.12 A 3Ph.

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

ค่า Co-incidence Factor


สํา หรับ ห้อ งชุด อยู่อ าศัย
98
ตารางที่ 9-5
ค่ าโคอินซิเดนตท์ แฟกเตอร์ สําหรับห้ องชุ ดอยู่อาศัย
ลําดับห้ องชุ ด ค่ าโคอินซิเดนตท์ แฟกเตอร์
(Co-incidence Factor)
1-10 0.9
11-20 0.8
21-30 0.7
31-40 0.6
41 ขึน้ ไป 0.5

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

49
8/21/2016

คํานวณโหลดห้องชุดอยู่อาศัย
99
โดยใช้ Co-incidence factor
การคํานวณเพือ่ หา Co-incidence Load ( ตาราง 9-5)

ลําดับ ห้ อ งชุด โหลด (VA) Co-incidence รวมโหลด


factor (VA)
1-10 10 x 12,000 0.9 108,000
11-20 10x 12,000 0.8 96,000
21-30 10x 12,000 0.7 84,000
31-40 10x 12,000 0.6 72,000
41-50 10x 12,000 0.5 60,000

รวมโหลดห้ อ งชุด อยู่อ าศัย 420,000

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

ค่า Co-incidence Factor


100
สํา หรับ ห้อ งชุด สํา นัก งานหรือ ร้า นค้า
ตารางที่ 9-6
ค่ าโคอินซิเดนตท์ แฟกเตอร์ สําหรับห้ องชุ ดประเภทสํ านักงานหรื อร้ านค้ าทั่วไป

ลําดับห้ องชุ ด ค่ าโคอินซิเดนตท์ แฟกเตอร์


(Co-incidence Factor)
1-10 1
11 ขึน้ ไป 0.85

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

50
8/21/2016

คํานวณโหลดห้องชุดร้านค้า
101
กรณี ใช้ Co-incidence factor
การคํานวณเพือ่ หา Co-incidence Load (ตร. 9-6)

ลําดับ ห้ อ งชุด โหลด (VA) Co-incidence รวมโหลด


factor (VA)
1-10 10 x 46,500 1 465,000
11-20 10x 46,500 0.85 395,250

รวมโหลดห้ อ งชุด ร้ านค้ า 860,250

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

การคํา นวณโหลดหม้อ แปลง


102

โหลดหม ้อแปลงสําหรับ
อาคารชุด
 ให ้คํานวณจากผลรวมโหลดใน
ห ้องชุด และโหลดไฟฟ้ าสว่ นกลาง
ใช ้ Co-incidence Factor คํานวณ
ขนาดหม ้อแปลงได ้
 ขนาดหม ้อแปลง
ต ้องมีพก
ิ ด
ั ≥ ของโหลด

( EIT. Standard 2001-56 : บทที่ 9 ) กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์

51
8/21/2016

103
ระบบต่อ ลงดิ น ที่แ ผงสวิ ต ช์

ให้ต ่อ ฝากสายดิ น กับ ตัว นํา นิ ว ทรัล


เฉพาะที่แ ผงสวิ ต ช์ร วม(MDB)

ห้ามต่อ ฝากสายดิ น กับ ตัว นํานิ ว ทรัล


ที่แ ผงสวิ ต ช์ใ ดๆ อีก

( EIT. Standard 2001-56 : บทที่ 9 ) กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์

ระบบต่อ ลงดิ น ในห้อ งชุด


104

ห้อ งชุด ต้อ งมีร ะบบสายดิ น เตรีย มพร้อ มไว้


ห้า มต่อ ฝากสายดิ น ที่บ ริ ภณ
ั ฑ์ป ระธาน
การเดิ น สายภายในต้อ งมีร ะบบสายดิ น
( ตามที่ก าํ หนดในบทที่ 4 )

( EIT. Standard 2001-56 : บทที่ 9 ) กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์

52
8/21/2016

ด ้วยความปรารถนาดี

กิตติพงษ์ วีระโพธิป ิ ธิ์


์ ระสท

จบแล ้วครับ
สวัสดีครับ ……..

53
8/21/2016

ึ ษา
กรณีศก

เครือ
่ งทํานํา้ แข็งไฟฟ้ารว่ ั …… ตาย!!!!!

?? ไม่ได้ตด ิ ตงั้
ระบบสายดินและ
เครือ
่ งต ัดไฟรว่ ั

กิตติพงษ์อ
อุปกรณ์ไฟฟ้าในเครื ่ วีงทํานํ์ปา้ ระสิ
ระโพธิ ทธิง์ ชระบบสายดิ
แข็ ํารุด ไฟฟน อาคารชุ
้ ารว่ ั ด(03-08-
59) 108

54
8/21/2016

สาเหตุ......ไฟฟ้ารว่ ั ทีเ่ ครือ


่ งทํานํา้ อุน

• ซื้อคอนโดใหม่ ก่อนเข้า
ไปอยูไ่ ด้ให้ชา่ งไฟฟ้า
ติดตัง้ เครื่องทํานํา้ อุ่น
• หลังติดตัง้ เสร็จ เจ้าของ
ห้อง ได้เข้าไปอาบนํา้
มือจับฝักบัวถูกไฟฟ้ าดูด
จนเสียชีวิต !!!!
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-
59) 109

ตรวจสอบ... สายดินทีจ
่ ด
ุ ต่อสายไม่ได ้ต่อ

สว่ นทีเ่ ป็ นโลหะ


มีไฟวัดได ้ 110 V
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-
59) 110

55
8/21/2016

ี ชวี ต
เด็กถูกไฟตู ้ ATM ดูดเสย ิ !!!

 วันที่ 7 สิงหาคม 2557


 ด.ญ.ปาริฉัตร หนูพน ิ จิ (ใบหยก)
อายุ 2 ขวบ ถูกไฟฟ้ าช็อตระหว่าง
ตามญาติไปกดเงินทีต ่ ู ้เอทีเอ็ม ทํา
ให ้ได ้รับบาดเจ็บสาหัส และ
เสียชีวต ิ ในเวลาต่อมา
 จากเหตุไฟฟ้ ารั่วของตู ้เอทีเอ็ม
ธนาคารไทยพาณิชย์ ทีต ่ งั ้ อยูใ่ น
“ น้ อ งใบหยก” เสีย ชีวิ ต แล้ว ปั๊ มนํ้ ามันเอสโซ ถ.ตรัง-ปะเหลียน
เขตเทศบาล ต.ย่านตาว อ.ย่านตา
หลังอาการทรุด หนัก จากเหตุ ขาว จ.ตรัง

ไฟฟ้ าดูด
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-
59) 111

สลด! เด็กนักเรียนชัน้ ป.4


ถูกไฟตูท้ าํ นํ้าเย็นช๊อตดับคาโรงเรียน
 เมือ่ เวลา 17:00 น. (10 ส.ค.58) ได้รบั
แจ้งมีเด็กถูกไฟช๊อตเสียชีวติ ทีบ่ ริเวณ
โรงเรียนวัดโคกพุทรา หมูท่ ่ี 1 ตําบล
โคกพุทรา อําเภอโพธิ ์ทอง จังหวัด
อ่างทอง
 ชายธีรพล จิตรีศพั ทร์ อายุ 10 ปี
นักเรียนชัน้ ประถมปี ท่ี 4 อยูบ่ า้ นเลขที่
32 หมู่ 1 ตําบลโคกพุทรา อําเภอโพธิ ์
ทอง จังหวัดอ่างทอง

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-


59) 112

56
8/21/2016

สลดรับ วัน แม่ สาวท้อ ง8เดือ นถูก ไฟช็อ ตตายทัง้


กลม คาดไฟรัวจากเครื
่ ่อ งซัก ผ้า
 วันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2558
 พบศพผูเ้ สียชีวติ ชือ่ น.ส.อังศณา บุญเพ็ชร์
อายุ 25 ปี อยูบ่ า้ นเลขที่ 75/1 ม.10 ต.
ท่าเรือ อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช ซึง่ ตัง้
ท้อง 8 เดือน และกาลังใกล้คลอด นอน
เสียชีวติ อยูห่ น้าห้องน้าทีม่ เี ครือ่ งซักผ้า
สภาพมีรอยไหม้ทม่ี อื ด้านขวา
 โดยขณะเกิดเหตุคาดว่า น.ส.อังศณา
ผูเ้ สียชีวติ ได้ซกั ผ้า โดยตัง้ เครือ่ งซักผ้าที่
หน้าห้องน้าภายในบ้านเช่าดังกล่าว
ขณะทีเ่ สียบปลั ๊กไฟ ปรากฏว่า สายไฟรั ่ว
และช็อต จนเสียชีวติ คาที่
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-
59) 113

มาตรฐานการต่อลงดินตาม IEC60364-3

 กําหนดวิธีเรียกชือ
่ ของระบบการต่อลงดินด้วยอักษร 3 ตัว
หรือ 4 ตัว ไว้ในมาตรฐาน IEC 60364-3 เช่นระบบ TN-C,
TN-S,TN-C-S, IT และ TT เป็ นต้น

 อักษรตัวแรก เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างระบบไฟฟ้ า กับดิน


T = มีการต่อจุดใดจุดหนึง่ ของระบบไฟฟ้ าลงดินโดยตรง
 I = แยกจากดิน(Isolated) หรือมีการต่อลงดินผ่าน Impedance

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59) 114

57
8/21/2016

TT System ; TT = Terre- Terre


แหล่งจ่ายไฟฟ้า

มีหล กั ดิ น เพื่อ ความ


ที่นิ ว ทรัล ของ
ปลอดภัย แยกจาก
หม้อ แปลงต่อ
หล กั ดิ น ของระบบ
ลงดิ น โดยตรง
ไฟฟ้ า
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59) 115

TN-S System
TN-S = Terre Neutral- Separate = สายนิ ว ทรัล และสายดิ น ป้ อ งกัน แยกออกจาก
กัน ตลอดทัง้ ระบบ

มีก ารต่อ เปลือ ก


โลหะเข้า กับ สาย
ดิ น ป้ อ งกัน (PE)
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-
08-59) 116

58
8/21/2016

TN-C System
TN-C = Terre Neutral- Combined = สายนิ ว ทรัล (N)และสายดิ น เพื่อ ความปลอดภัย
(PEN)ร่ว มเป็ น ตัว นํา เดีย วกัน ตลอดทัง้ ระบบ
T N-C

E56892
มีก ารต่อ
เปลือ กโลหะ
เข้า กับ Neutral
MDB ของระบบ
ไฟฟ้ า

มีก ารต่อ ลงดิ น เป็ น ระยะเพื่อ ลดแรงดัน


กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59) 117

TN-C-S System
TN-C-S = Terre Neutral- Combined Separate
= สายนิ ว ทรัล และสายดิ น ป้ อ งกัน ร่ว มกัน ที่ต ้น ทาง(TN-C) และ
ปลายทางแยกออกจากกัน (TN-S)
TN-C-S TN-S สายนิ ว ทรัล
และสายดิ น ป้ อ งกัน
MDB แยกกัน
L1
L2
L3
N
PE

TN-C สายนิ ว ทรัล


กิตนติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-
และสายดิ น ป้ อ งกั
ร่ว มกัน 59) 118

59
8/21/2016

IT System
สายนิ ว ทรัล ไม่ต ่อ ลงดิ น
สายดิ น ป้ อ งกัน แยกกัน

MDB

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59) 119

พืน
้ ทีโ่ ครงการเปลีย
่ นเป็ นระบบสายไฟฟ้ าใต ้ดินเพือ

รองรับการเป็ นมหานครแห่งอาเซย ี น ;www.mea.or.th
120

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

60
8/21/2016

สรุ ป อาคารประเภทต่ างๆ


121 ใช้ เ ป็ นที่อ ยู่อ าศัยและประกอบกิจ การด้ วย
มีค วามสูงตัง้ แต่ 23 เมตร ขึน้ ไป ไม่ ก าํ หนด
ความสูง

พืน้ ที่
(เมตร)

อาคารสูง อาคารสูงและอาคาร
ขนาดใหญ่ พ เิ ศษ
23
15
อาคารขนาด
อาคารขนาดเล็ก

อาคารขนาดใหญ่
บ้ านอยู่อ าศัย

ใหญ่ พ เิ ศษ

พืน้ ที่ (ตร.ม.)


2000

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

อาคารสูง
อาคารทรงจั่ว ยอดผนัง
ชัน้ สูงสุด
พืน้ ดาดฟ้ า
ผนังกัน ตก

≥ 23 ม. ≥ 23 ม.

พืน้ ดิน
พืน้ ดิน
122
กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ระบบสายดิน อาคารชุด(03-08-59)

61

You might also like