แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แรงกับเครื่องกล

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 11

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4

รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 21202


ชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2566
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชื่อหน่วย เครื่องกลอย่าง
ง่ายและการ ประยุกต์ใช้งานในของเล่น
เรื่อง แรงกับเครื่องกล เวลา 2 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นางสาวทิพย์รัตน์ ทวิชศรี
.................................................................................................................
.........................................................

1. ผลการเรียนรู้
1.1 ตั้งคำถามเกี่ยวกับหลักการทางวิทยาศาสตร์ที่สังเกตได้จากการ
เล่นของเล่น
1.2 มีเจตคติที่ดีต่อหลักการทางวิทยาศาสตร์ในของเล่น
2.สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
ของเล่นแต่ละชนิดเคลื่อนไหวได้ด้วยแรงขับเคลื่อน ซึ่งอาจมาจาก
พลังงานคนหรือพลังงานไฟฟ้ า
3.จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เมื่อเรียนจบหัวข้อนี้แล้ว นักเรียนควรจะสามารถเขียนบรรยาย
การกระทำของแรงจากการเล่นของเล่นที่กำหนดให้
2.มีความมุ่งมั่นและตั้งใจ
4.สาระการเรียนรู้
-

5.สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3.ความสามารถในการแก้ปั ญหา
4.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6.คุณลักษณะอันพึ่งประสงค์
1.ใฝ่ เรียนรู้
2.มุ่งมั่นในการทำงาน
3.มีจิตสาธารณะ
7.ภาระงาน/ชิ้นงาน
1. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ของเล่นเชิงวิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวง
ศึกษาธิการ (สสวท.)
8.คำถามสำคัญ
(-)
9.กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1
ขั้นเตรียมความพร้อม สร้างความคุ้นเคย
1. ครูแจ้งข้อตกลงของห้องเรียนให้นักเรียนทราบ
2. ครูแจ้งบทบาทหน้าที่ในแต่ละกลุ่มให้นักเรียนทราบ
3. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
ระบุเครื่องกลอย่างง่ายและบรรยายการทำงานของเครื่องกลดังกล่าวในของ
เล่นที่กำหนดให้
กระตุ้นความรู้เดิม เร่งเร้าความสนใจ
3. ครูให้นักเรียนดูภาพแล้วอภิปรายร่วมกับนักเรียนเกี่ยวกับการเคลื่อนที่
แบบต่างๆ ของของเล่น และแรงที่กระทำกับของเล่น โดยใช้คำถาม ดังนี้
Q.1 ของเล่นที่นักเรียนเคยเล่น มีการเคลื่อนที่ หรือ เคลื่อนไหว หรือไม่
A.1 บางชิ้นไม่มีการเคลื่อนไหว เช่น ตัวต่อพลาสติก ตุ๊กตา เครื่อง
ทำครัวเด็กเล่น บางชิ้นมีการเคลื่อนไหว เช่น รถของเล่น รถไฟของเล่น เกม
ตกปลา เป็ นต้น
Q.2 ของเล่นที่เคลื่อนไหวได้ มีการเคลื่อนไหวอย่างไร A.2
เคลื่อนไหวเป็ นเส้นตรง หมุน สั่นกลับไปกลับมเลี้ยวโค้ง
Q.3 ของเล่นที่เคลื่อนไหวได้ ใช้แรงจากอะไรทำให้เคลื่อนไหว
A.3 บางชิ้นผู้เล่นต้องใช้มือผลัก ดัน หรือ ดึง บางชิ้นมีการใช้พลังงาน
ไฟฟ้ า
4. ครูให้นักเรียนดูภาพที่ 2.1 ตัวอย่างของเล่นที่มีการเคลื่อนไหว แล้ว
คำถามนักเรียน
Q.4 มีเครื่องกลใดบ้างที่ทำให้ของเล่นมีการเคลื่อนไหว A.4 คาน รอก
เฟื อง ลูกเบี้ยวและกว้าน
Q.5 เครื่องกลดังกล่าวทำงานได้อย่างไร A.5 ทำงานโดยมีแรงมากระทำ

ชั่วโมงที่ 2
ขั้นกิจกรรมสืบเสาะ
5. ครูให้นักเรียนคิดคนเดียว จับคู่คิดและคิดทั้งกลุ่มโดยใช้คำถามดังนี้
Q.6 สิ่งที่ทำให้ของเล่นเคลื่อนที่หรือเคลื่อนไหวได้คืออะไร
A.6 อาจตอบว่ามีแรงมากระทำ เช่น แรงดึง แรงผลัก แรงยก
6. ครูยกตัวอย่างภาพชนิดของแรงที่เกี่ยวข้อง
แรงอาจจะสัมผัสกับวัตถุหรือไม่สัมผัสก็ได้ แรงจะต้องบอกทั้งขนาดและ
ทิศทางเนื่องจากแรงเป็ นปริมาณเวกเตอร์
7. ครูให้นักเรียนดูภาพการออกแรงแล้วถามนักเรียน
Q.7 ออกแรงตำแหน่ง ก และตำแหน่ง ข ผลจะเป็ นอย่างไร
A.7 ออกแรงตำแหน่ง ก วัตถุเกิดการหมุน
ออกแรงตำแหน่ง ข วัตถุเกิดการเคลื่อนที่เพราะผ่านจุดศูนย์กลางมวล
Q.8 จุดศูนย์กลางมวลคืออะไร
A.8 จุดศูนย์กลางมวล (center of mass) เป็ นตำแหน่งที่แทนมวล
ของวัตถุทั้งก้อน หรือเสมือนว่าเป็ นจุดที่มวลทั้งระบบรวมกันอยู่ที่จุดนี้ แรง
ลัพธ์ที่กระทำที่จุดศูนย์กลางมวล จึงเหมือนกระทำกับมวลทั้งระบบ
7. ครูให้นักเรียนดูภาพวัตถุรูปทรงต่าง ๆ แล้วถามนักเรียน
Q.9 จุดศูนย์กลางมวลอยู่ตรงไหนได้บ้าง
A.9 ตอบตามลักษณะรูปทรงของวัตถุจุดศูนย์ถ่วงอาจอยู่ในหรือนอก
วัตถุ
8. ให้นักเรียนดูภาพรถเครนของเล่นแล้วทำการสังเกตส่วนประกอบต่าง ๆ
แล้วนักเรียนวาดภาพพร้อมทั้งตอบคำถามต่อไปนี้
Q10. รถเครนของเล่นในรูป ทำอะไรได้บ้าง มีการเคลื่อนไหวอย่างไร
9. นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอ
ขั้นสรุปกิจกรรม
24. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อดังนี้
หากพิจารณาของเล่นรถเครนนี้ เราอาจแบ่งส่วนประกอบแบบง่ายๆ ได้
เป็ น 2 ส่วน คือ ส่วนของตัวรถที่ใช้เคลื่อนที่ไปยังตำแหน่งต่าง ๆ ในแนวราบ
และส่วนของเครนที่ใช้ยกวัตถุขึ้นลงในแนวดิ่งส่วนของตัวรถ ใช้พลังงานคน
ออกแรงผลัก ทำให้ล้อหมุน ส่งผลให้รถเคลื่อนที่ไปตามทิศที่ออกแรงผลัก
ส่วนของเครนหรือปั้นจั่น ใช้หลักการทำงานของคานและรอก โดยใช้รอก
เป็ นอุปกรณ์เปลี่ยนทิศทางของแรงเพื่อยกวัตถุให้สูงขึ้น สำหรับส่วนแขนของ
เครนสามารถเคลื่อนที่ขึ้นลงแบบหมุนได้ เนื่องจากมีแรงยก ซึ่งจุดหมุนจะอยู่
ที่ปลายด้านล่างของเครน เพื่อให้แขนของเครนเคลื่อนที่ขึ้นลงรอบจุดหมุน
ดังภาพรถเครนของเล่น
25. ครูขยายความรู้เกี่ยวกับเครื่องกลโดยถามคำถาม
Q.11 เครื่องกล คืออะไร
A.11 เครื่องกลคือ อุปกรณ์ที่ทำให้วัตถุเกิดการเคลื่อนที่ หรือช่วยให้
เกิดการผ่อนแรงได้ นอกจากนี้ เรายังนำเครื่องกลมาใช้เปลี่ยนทิศทางของ
การเคลื่อนที่ เปลี่ยนความเร็ว หรือเปลี่ยนรูปแบบของการเคลื่อนที่ได้ ซึ่ง
นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับเครื่องกลที่เรียกว่า “เครื่องกลอย่างง่าย”
10.สื่อและแหล่งเรียนรู้
10.1 สื่อ
1. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ของเล่นเชิงวิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวง
ศึกษาธิการ (สสวท.)
10.2 แหล่งเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
11. การวัดและประเมินผล
สิ่งที่ต้องการวัด วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
1. นักเรียนควรสามารถ - สังเกต - แบบ - ผ่านเกณฑ์การ
เขียนบรรยายการกระทำ พฤติกรรม สังเกต ประเมินในระดับ
ของแรงจากการเล่นของ - การตอบ พฤติกรรม พอใช้ขึ้นไป
เล่นที่กำหนดให้(P) คำถาม
2. อธิบายหลักการทาง - สังเกต - แบบ - ผ่านเกณฑ์การ
วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับ พฤติกรรม สังเกต ประเมินในระดับดีขึ้น
แรงและเครื่องกล(P) - การตอบ พฤติกรรม ไป
คำถาม
3.มีความมุ่งมั่นและตั้งใจ - สังเกต - แบบ - ผ่านเกณฑ์การ
(A) พฤติกรรม สังเกต ประเมินในระดับดีขึ้น
- การตอบ พฤติกรรม ไป
คำถาม

12. กิจกรรมเสนอแนะ
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
13.ความคิดเห็นของผู้บริหาร/ผู้ที่ได้รับหมอบหมาย
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................

ลงชื่อ.......................................................
......................
(
)
ตำแหน่ง..................................................
......................
วัน
ที่......................เดือน.......................พ.ศ..
.................

14.บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
14.1 ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1) ด้านความ
รู้………………………………………………………………………………………………………
…………………………
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
............................................................................
2) ด้าน
ทักษะ/กระบวนการ……………………………………………………………………………
…………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………..…………
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………
3) ด้านคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์………………………………………………………………………………………………
…….
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
............................................................................
14.2 ปั ญหาและความอุปสรรค
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
............................................................................
14.3 แนวทางในการแก้ปั ญหาและพัฒนา
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
............................................................................

ลงชื่อ...................................................................ผู้สอน
(......................................................
)
วัน
ที่................เดือน...............................พ.ศ.................

You might also like