Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 20

แนวข้อสอบท้องถิ่น 16 : ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.

2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560

การทำข้อสอบผิดในขั้นตอนการเตรียมตัวสอบก็เพื่อให้เรากลับไปทบทวนในบท หรือ
เนื้อหาที่เรายังอ่านไม่ครอบคลุม

1. หนังสือติดต่อราชการที่เป็ นแบบพิธีโดยใช้ตราครุฑเป็ นหนังสือติดต่อระหว่างส่วน


ราชการ หรือส่วนราชการมีถึงหน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ เรียกว่า

1. หนังสือภายใน
2. หนังสือภายนอก
3. หนังสือสั่งการ
4. หนังสือประทับตรา
ข้อ 11 หนังสือภายนอก คือ หนังสือติดต่อราชการที่เป็ นแบบพิธีโดยใช้กระดาษตรา
ครุฑเป็ นหนังสือติดต่อระหว่างส่วนราชการ หรือส่วนราชการมีถึงหน่วยงานอื่นใดซึ่ง
มิใช่ส่วนราชการ หรือที่มีถึงบุคคลภายนอก

2. หนังสือที่ใช้ประทับตรา ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหน้าส่วนราชการระดับ
ใดขึ้นไป

1. กรม
2. กอง
3. แผนก
4. สำนัก
ข้อ 13 หนังสือประทับตรา คือ หนังสือที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหน้าส่วน
ราชการระดับกรมขึ้นไป

3. บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจหน้าที่ได้วางไว้โดยจะอาศัยอำนาจของกฏหมายหรือไม่
ก็ได้ เพื่อถือเป็ นหลักปฏิบัติงานเป็ นการประจำ คือ

1. ประกาศ
2. ข้อบังคับ
3. คำสั่ง
4. ระเบียบ
ข้อ 17 ระเบียบ คือ บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจหน้าที่ได้วางไว้ โดยจะอาศัยอำนาจ
ของกฎหมายหรือไม่ก็ได้ เพื่อถือเป็ นหลักปฏิบัติงานเป็ นการประจำ

4. ข้อบังคัใช้กระดาษแบบใด

1. กระดาษตราครุฑ
2. กระดาษบันทึกข้อความ
3. กระกาษคำสั่ง
4. กระดาษขนาด A4
ข้อ 18 ข้อบังคับ คือ บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจหน้าที่กำหนดให้ใช้โดยอาศัยอำนาจ
ของกฎหมายที่บัญญัติให้กระทำได้ ใช้กระดาษตราครุฑ

5. บรรดาข้อความที่ทางราชการเห็นสมควรเผยแพร่ให้ทราบ เรียกว่า

1. ประกาศ
2. แถลงการณ์
3. ข่าว
4. คำสัง
ข้อ 22 ข่าว คือ บรรดาข้อความที่ทางราชการเห็นสมควรเผยแพร่ให้ทราบ

6. หนังสือรับรอง ในกรณีที่การรับรองเป็ นเรื่องสำคัญที่ออกให้แก่บุคคล ให้ติดรูปถ่าย


ของผู้ที่ได้รับการรับรอง ขนาดใด

1. 1 x 2 เซนติเมตร
2. 3 x 4 เซนติเมตร
3. 4 x 5 เซนติเมตร
4. 4 x 6 เซนติเมตร
24.7 รูปถ่ายและลายมือชื่อผู้ได้รับการรับรอง ในกรณีที่การรับรองเป็ นเรื่องสำคัญที่
ออกให้แก่บุคคลให้ติดรูปถ่ายของผู้ที่ได้รับการรับรอง ขนาด 4 × 6 เซนติเมตร

7. หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็ นหลักฐานในราชการ มีกี่ชนิด


1. 2 ชนิด
2. 3 ชนิด
3. 4 ชนิด
4. 5 ชนิด
ข้อ 23 หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็ นหลักฐานในราชการ คือ หนังสือที่ทาง
ราชการทำขึ้นนอกจากที่กล่าวมาแล้วข้างต้น หรือหนังสือที่หน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วน
ราชการ หรือบุคคลภายนอกมีมาถึงส่วนราชการ และส่วนราชการรับไว้เป็ นหลักฐาน
ของทางราชการ มี 4 ชนิด

8. รายงานการประชุม ให้ทำการบันทึกความคิดเห็นไว้เป็ นหลักฐาน ยกเว้นข้อใด

ผู้มาประชุม
ผู้ไม่มาประชุม
ผู้เข้าร่วมประชุม
มติของที่ประชุม
ข้อ 25 รายงานการประชุม คือ การบันทึกความคิดเห็นของผู้มาประชุม ผู้เข้าร่วม
ประชุมและมติของที่ประชุมไว้เป็ นหลักฐาน

9. ข้อใดคือหนังสือที่ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติเร็วกว่าปกติ เท่าที่จะทำได้

1. ด่วนมาก
2. ด่วน
3. ด่วนที่สุด
4. ด่วนในทันที
28.3 ด่วน ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติเร็วกว่าปกติ เท่าที่จะทำได้

10. การเก็บหนังสือแบ่งออกเป็ นกี่ชนิด

1. 3 ชนิด
2. 4 ชนิด
3. 5 ชนิด
4. 6 ชนิด
ข้อ 52 การเก็บหนังสือแบ่งออกเป็ น การเก็บระหว่างปฏิบัติ การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จ
แล้วและการเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ

11. การเก็บหนังสือที่ปฏิบัติยังไม่เสร็จให้อยู่ในความรับรับผิดชอบของเจ้าของเรื่อง
เรียกว่า

1. การเก็บระหว่างปฏิบัติ
2. การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว
3. การเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ
4. การเก็บต้นเรื่อง
ข้อ 53 การเก็บระหว่างปฏิบัติ คือ การเก็บหนังสือที่ปฏิบัติยังไม่เสร็จให้อยู่ในความรับ
ผิดชอบของเจ้าของเรื่องโดยให้กำหนดวิธีการเก็บให้เหมาะสมตามขั้นตอนของการ
ปฏิบัติงาน

12. หนังสือที่ได้ปฏิบัติงานเสร็จสิ้นแล้ว และเป็ นคู่สำเนาที่มีต้นเรื่องจะค้นได้จากที่อื่น


ให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่ากี่ปี

1. 1 ปี
2. 5 ปี
3. 10 ปี
4. 25 ปี
57.4 หนังสือที่ได้ปฏิบัติงานเสร็จสิ้นแล้ว และเป็ นคู่สำเนาที่มีต้นเรื่องจะค้นได้จากที่
อื่นให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่า 5 ปี

13. อายุการเก็บหนังสือ โดยปกติให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่ากี่ปี

1. 1 ปี
2. 3 ปี
3. 5 ปี
4. 10 ปี
ข้อ 57 อายุการเก็บหนังสือ โดยปกติให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่า 10 ปี
14. ทุกปี ปฏิทินให้ส่วนราขการจัดส่งหนังสือที่มีอายุครบกี่ปี นับจากวันที่ได้จัดทำขึ้น
ให้กองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร

1. 10 ปี
2. 15 ปี
3. 20 ปี
4. 25 ปี
ข้อ 58 ทุกปี ปฏิทินให้ส่วนราชการจัดส่งหนังสือที่มีอายุครบ 20 ปี นับจากวันที่ได้จัด
ทำขึ้นที่เก็บไว้ ณ ส่วนราชการใด พร้อมทั้งบัญชีส่งมอบหนังสือครบ 20 ปี ให้สำนักหอ
จดหมายเหตุแห่งชาติกรมศิลปากร

15. ตราครุฑสำหรับแบบพิมพ์ มีกี่ขนาด

1. 1 ขนาด
2. 2 ขนาด
3. 3 ขนาด
4. 4 ขนาด
ข้อ 71 ตราครุฑสำหรับแบบพิมพ์ ให้ใช้ตามแบบที่ 26 ท้ายระเบียบ มี 2 ขนาด

16. มาตรฐานซอง โดยปกติให้ใช้กระดาษสีขาวหรือสีน้ำตาล น้ำหนักกี่กรัมต่อ ตาราง


เมตร

1. 20 กรัม
2. 40 กรัม
3. 60 กรัม
4. 80 กรัม
74.2 มาตรฐานซอง โดยปกติให้ใช้กระดาษสีขาวหรือสีน้ำตาล น้ำหนัก 80 กรัมต่อตา
รางเมตร

17. มาตรฐานกระดาษ โดยปกติให้ใช้กระดาษปอนด์ขาว น้ำหนักกี่กรัมต่อ ตาราง


เมตร
1. 20 กรัม
2. 40 กรัม
3. 60 กรัม
4. 80 กรัม
74.1 มาตรฐานกระดาษโดยปกติให้ใช้กระดาษปอนด์ขาว น้ำหนัก 60 กรัมต่อตาราง
เมตร

18. ตราชื่อส่วนราชการ มีลักษณะเป็ นรูปวงกลมสองวงซ้อนกันล้อมครุฑ เส้นผ่า


ศูนย์กลางวงในกี่เซนติเมตร

1. 2.0 เซนติเมตร
2. 3.5 เซนติเมตร
4.5 เซนติเมตร
3. 5.0 เซนติเมตร
ข้อ 72 ตราชื่อส่วนราชการให้ใช้ตามแบบที่ 27 ท้ายระเบียบ มีลักษณะเป็ นรูปวงกลม
สองวงซ้อนกันเส้นผ่าศูนย์กลางวงนอก 4.5 เซนติเมตร วงใน 3.5 เซนติเมตร

19. ให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมแต่งตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสือ ประกอบ


ด้วยประธานกรรมการ และกรรมการอีกอย่างน้อยกี่คน

1. 1 คน
2. 2 คน
3. 3 คน
4. 4 คน
ข้อ 67 หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมแต่งตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสือ ประกอบ
ด้วยประธานกรรมการ และกรรมการอีกอย่างน้อยสองคน

20. ใครเป็ นผู้รักษาการ ตามะเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.


2526

5. นายกรัฐมนตรี
6. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
7. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
8. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ข้อ 8 ให้ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้
ระเบียบเกี่ยวกับงานสารบรรณ ข้อ 1-30

1. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 บังคับใช้วันที่

 1 มิถุนายน 2526
 10 มิถุนายน 2526
 1 มีนาคม 2526
 10 มีนาคม 2526

2. งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแต่การจัดทำการรับ การส่ง การ


เก็บรักษา การยืม จนถึงการทำลาย เรียกว่า

 งานบริหารสารบรรณ
 งานสารบรรณ
 งานบริหารงานเอกสาร
 งานทะเบียน

3. ความหมายของ “หนังสือ” ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงาน


สารบรรณคือข้อใด

 หนังสือภายใน
 หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้น
 หนังสือภายนอก
 หนังสือราชการ

4. การรับส่งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือผ่านระบบสื่อสารด้วยวิธีการทาง
อิเล็กทรอนิกส์ เรียกว่า

 ระบบอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ
 ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
 ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
 ถูกทุกข้อ

5. ผู้รักษาการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ คือข้อใด

 นายกรัฐมนตรี
 เลขาธิการ ก.พ.
 ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
 คณะรัฐมนตรี

6. หนังสือราชการมีกี่ชนิด

 4 ชนิด
 5 ชนิด
 6 ชนิด
 7 ชนิด

7. ข้อใดคือหนังสือราชการ

 หนังสือที่มีไปมาระหว่างส่วนราชการ
 หนังสือที่ส่วนราชการมีไปถึงหน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการหรือที่มีไปถึง
บุคคลภายนอก
 หนังสือที่หน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือบุคคลภายนอกมีมาถึงส่วน
ราชการ
 ถูกทุกข้อ
8. ข้อใดไม่ใช่หนังสือราชการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ

 หนังสือด่วน
 หนังสือภายนอก
 หนังสือประชาสัมพันธ์
 หนังสือประทับตรา

9. หนังสือติดต่อราชการที่เป็ นแบบพิธีโดยใช้กระดาษตราครุฑเป็ นหนังสือติดต่อ


ระหว่างส่วนราชการ หรือส่วนราชการมีถึงหน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ
หรือที่มีถึงบุคคลภายนอก เรียกว่า

 หนังสือภายนอก
 หนังสือภายใน
 หนังสือแบบพิธี
 หนังสือติดต่อ

10. การอ้างถึงหนังสือภายนอกโดยปกติให้ทำตามข้อใด

 อ้างถึงหนังสือทุกฉบับ
 อ้างถึงหนังสือฉบับสุดท้ายเพียงฉบับเดียว
 ไม่ต้องอ้างถึง
 ผิดทุกข้อ

11. ถ้าส่วนราชการที่ออกหนังสือภายนอกอยู่ในระดับกระทรวง หรือทบวง ให้


ลงชื่อส่วนราชการระดับใดไว้ด้วย

 ส่วนราชการระดับกรม
 ส่วนราชการระดับกรมและกอง
 ส่วนราชการระดับกอง
 ส่วนราชการระดับกองและสำนัก

12. ถ้าส่วนราชการที่ออกหนังสือภายนอกอยู่ในระดับกรมลงมาให้ลงชื่อส่วน
ราชการระดับใดไว้ด้วย

 ส่วนราชการระดับกระทรวง
 ส่วนราชการระดับกอง
 ส่วนราชการระดับสำนัก
 ส่วนราชการระดับกองหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบ

13. หนังสือติดต่อราชการที่เป็ นแบบพิธีน้อยกว่าหนังสือภายนอกเป็ นหนังสือ


ติดต่อภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกัน คือหนังสือตามข้อใด

 หนังสือภายนอก
 หนังสือภายใน
 หนังสือประทับตรา
 หนังสือสั่งการ

14. หนังสือภายในใช้กระดาษแบบใด

 กระดาษตราครุฑ
 กระดาษหนังสือภายใน
 กระดาษบันทึกข้อความ
 กระดาษปอนด์ขาว

15. ถ้าส่วนราชการที่ออกหนังสือภายใน อยู่ในระดับกรมขึ้นไปให้ลงชื่อส่วน


ราชการระดับใดด้วย

 ส่วนราชการระดับกรม
 ส่วนราชการระดับกรมและกอง
 ส่วนราชการระดับกอง
 ส่วนราชการระดับกองและสำนัก

16. ถ้าส่วนราชการที่ออกหนังสือภายใน อยู่ในระดับต่ำกว่ากรมลงมาให้ลงชื่อ


ส่วนราชการระดับใดด้วย

 ส่วนราชการระดับกระทรวง
 ส่วนราชการระดับกองหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบ
 ส่วนราชการระดับสำนัก
 ส่วนราชการระดับกองหรือส่วนราชการเจ้าของเรื่อง

17. หนังสือที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหน้าส่วนราชการระดับกรม
ขึ้นไป โดยให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกอง หรือผู้ที่ไดรับมอบหมายจากหัวหน้า
ส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป เป็ นผู้รับผิดชอบลงชื่อย่อกำกับตรา เป็ นหนังสือ
ชนิดใด

 หนังสือประทับตรา
 หนังสือสั่งการ
 หนังสือประชาสัมพันธ์
 หนังสือภายใน

18. หนังสือประทับตราให้ใช้ได้เฉพาะกรณีที่ไม่ใช่เรื่องสำคัญ ข้อใดกล่าวไม่ถูก


ต้อง

 การขอรายละเอียดเพิ่มเติม
 การส่งสำเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสาร
 การเตือนเรื่องที่ค้าง
 เรื่องซึ่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกองขึ้นไปกำหนดโดยทำเป็ นคำสั่ง ให้ใช้
หนังสือประทับตรา
19. หนังสือประทับตราใช้กระดาษแบบใด

 กระดาษตราครุฑ
 กระดาษหนังสือภายใน
 กระดาษบันทึกข้อความ
 กระดาษปอนด์ขาว

20. ผู้ที่ลงชื่อย่อกำกับตราในหนังสือประทับตราเป็ นหัวหน้าส่วนราชการระดับ


ใด

 ระดับกรม
 ระดับกอง
 ระดับสำนัก
 ระดับกระทรวง

21. หนังสือสั่งการมีกี่ชนิด

 2 ชนิด
 3 ชนิด
 4 ชนิด
 5 ชนิด

22. ข้อใดเป็ นหนังสือสั่งการ

 คำสั่ง ข้อบังคับ ระเบียบ


 ประกาศ แถลงการณ์ ข่าว
 คำสั่ง ระเบียบ ข้อบัญญัติ
 ประกาศ คำสั่ง ระเบียบ

23. ข้อใดเป็ น “คำสั่ง” ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ

 บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจหน้าที่กำหนดให้ใช้โดยอาศัยอำนาจของกฎหมายที่
บัญญัติให้กระทำได้
 บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจหน้าที่ได้วางไว้โดยจะอาศัยอำนาจของกฎหมายหรือ
ไม่ก็ได้
 บรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ปฏิบัติโดยชอบด้วยกฎหมาย
 บรรดาข้อความที่ทางราชการประกาศหรือชี้แจงให้ทราบ

24. “ระเบียบ” คือข้อใดต่อไปนี้

 บรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ปฏิบัติโดยชอบด้วยกฎหมาย
 บรรดาข้อความที่ทางราชการประกาศหรือชี้แจงให้ทราบ
 บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจหน้าที่กำหนดให้ใช้โดยอาศัยอำนาจของกฎหมายที่
บัญญัติให้กระทำได้
 บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจหน้าที่ได้วางไว้โดยจะอาศัยอำนาจของกฎหมายหรือ
ไม่ก็ได้

25. ข้อใดคือ “ข้อบังคับ” ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงาน


สารบรรณ

 บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจหน้าที่กำหนดให้ใช้โดยอาศัยอำนาจของกฎหมายที่
บัญญัติให้กระทำได้
 บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจหน้าที่ได้วางไว้โดยจะอาศัยอำนาจของกฎหมายหรือ
ไม่ก็ได้
 บรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ปฏิบัติโดยชอบด้วยกฎหมาย
 บรรดาข้อความที่ทางราชการประกาศหรือชี้แจงให้ทราบ

26. ข้อความที่จะใช้ในระเบียบ และข้อบังคับ ให้เรียงเป็ นแบบใด

 มาตรา
 ข้อ
 อนุมาตรา
 ผิดทุกข้อ

27. หนังสือประชาสัมพันธ์มีกี่ชนิด
 2 ชนิด
 3 ชนิด
 4 ชนิด
 5 ชนิด

28. ข้อใดต่อไปนี้เป็ นหนังสือประชาสัมพันธ์

 คำสั่ง ระเบียบ ข้อบังคับ


 ประกาศ ข่าว คำสั่ง
 ข่าว ประกาศ แถลงการณ์
 แถลงการณ์ ข่าว ระเบียบ

29. ข้อใดเป็ น “ประกาศ”

 บรรดาข้อความที่ทางราชการเห็นสมควรเผยแพร่ให้ทราบ
 บรรดาข้อความที่ทางราชการประกาศหรือชี้แจงให้ทราบ หรือแนะแนวทาง
ปฏิบัติ
 บรรดาข้อความที่ทางราชการแถลงเพื่อทำความเข้าใจในกิจการของทางราชการ
 บรรดาข้อความที่ทางราชการสั่งการให้ปฏิบัติโดยชอบด้วยกฎหมาย

30. “แถลงการณ์” ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณคือ


ข้อใด

 บรรดาข้อความที่ทางราชการประกาศหรือชี้แจงให้ทราบ หรือแนะแนวทาง
ปฏิบัติ
 บรรดาข้อความที่ทางราชการแถลงเพื่อทำความเข้าใจในกิจการของทางราชการ
 บรรดาข้อความที่ทางราชการเห็นสมควรเผยแพร่ให้ทราบ
 บรรดาข้อความที่ทางราชการสั่งการให้ปฏิบัติโดยชอบด้วยกฎหมาย
แนวข้อสอบท้องถิ่น 34 : ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526
การทำข้อสอบผิดในขั้นตอนการเตรียมตัวสอบก็เพื่อให้เรากลับไปทบทวนในบท หรือ
เนื้อหาที่เรายังอ่านไม่ครอบคลุม

 1. ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ หนังสือมีกี่ชนิด
o 2 ชนิด
o 3 ชนิด
o 6 ชนิด
o 9 ชนิด

 2. ข้อใดถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับ หนังสือราชการ
o เอกสารที่เป็ นหลักฐานในราชการ
o เอกสารที่ทางราชการจัดทำขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับ
o เอกสารที่ทางราชการจัดทำขึ้นเพื่อเป็ นหลักฐานในราชการ
o ข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือที่ได้รับจากระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
 3. หนังสือติดต่อราชการที่เป็ นแบบพิธี คือหนังสือใด
o หนังสือภายนอก
o หนังสือประทับตรา
o หนังสือสั่งการ
o หนังสือประชาสัมพันธ์

 4. หนังสือ ติดต่อภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกัน คือ


หนังสือตามข้อใด
o หนังสือภายนอก
o หนังสือภายใน
o หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้น หรือรับไว้เป็ นหลักฐานในราชการ
o หนังสือสั่งการ

 5. การให้บุคคลภายนอกยืมหนังสือจะกระทำมิได้ เว้นแต่จะให้ดูหรือคัดลอก
หนังสือ ทั้งนี้ จะต้องได้รับอนุญาตจากหัวหน้าส่วนราชการระดับใดขึ้นไป
o หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม
o หัวหน้าส่วนราชการระดับกอง
o หัวหน้าส่วนราชการระดับสำนัก
o หัวหน้าส่วนราชการระดับแผนก

 6. หนังสือรับให้ประทับตรารับหนังสือตามแบบที่ใด ที่โดย
o มุมบนด้านขวาของหนังสือ
o มุมบนด้านซ้ายของหนังสือ
o มุมล่างด้านขวาของหนังสือ
o มุมล่างด้านซ้ายของหนังสือ

 7. หนังสือภาษาต่างประเทศ ให้ใช้กระดาษชนิดใด
o กระดาษตราครุฑ
o กระดาษบันทึกข้อความ
o กระดาษของกระทรวงการต่างปรเทศ
o กระดาษตามที่ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีกำหนด

 8. ชั้นความเร็วของหนังสือที่ระบุว่า ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติโดยเร็ว คือข้อใด


o ด่วนที่สุด
o ด่วนมาก
o ด่วนภายใน
o ด่วน

 9. รายงานการประชุมไม่ต้องบันทึกสิ่งใดไว้เป็ นหลักฐาน
o ผู้มาประชุม
o มติของที่ประชุม
o ผู้เข้าร่วมประชุม
o ผู้ไม่มาประชุม

 10. หนังสือรับรอง ให้ใช้กระดาษชนิดใด


o กระดาษตราครุฑ
o กระดาษบันทึกข้อความ
o กระดาษรับรองโดยเฉพาะ
o กระดาษที่จัดทำตามแบบ

 11. หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็ นหลักฐานในราชการ มีกี่ชนิด


o 3 ชนิด
o 4 ชนิด
o 5 ชนิด
o 6 ชนิด

 12. หนังสือประชาสัมพันธ์มีกี่ชนิด
o 3 ชนิด
o 4 ชนิด
o 5 ชนิด
o 6 ชนิด

 13. บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจหน้าที่กำหนดให้ใช้โดยอาศัยอำนาจของ
กฎหมาย ที่บัญญัติให้กระทำได้ เรียกว่า
o คำสั่ง
o ระเบียบ
o ข้อบังคับ
o กฎหมาย

 14. ข้อใดไม่สมควรใช้หนังสือประทับตรา
o การส่งสำเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสาร
o การแจ้งผลงานที่ได้ดำเนินการไปแล้วให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทราบ
o การเตือนเรื่องที่ค้าง
o การตอบรับทราบเกี่ยวกับการเงิน

 15. ซองขนาดใดใช้สำหรับบรรจุหนังสือกระดาษตราครุฑพับ 3
o ขนาดซี 4
o ขนาดซี 5
o ขนาดซี 6
o ขนาดดีแอล

 16. ตรารับหนังสือ มีขนาดตามข้อใด


o ขนาด 2.0 เซนติเมตร × 4
o ขนาด 2.5 เซนติเมตร × 4
o ขนาด 2.0 เซนติเมตร × 5
o ขนาด 2.5 เซนติเมตร × 5

 17. กระดาษ A4 ที่ใช้กันทั่วไปในปั จจุบันมีขนาดตามข้อใด


o ขนาด 210 มม. × 297 มม.
o ขนาด 210 มม. × 290 มม.
o ขนาด 200 มม. × 290 มม.
o ขนาด 200 มม. × 295 มม.

 18. ตราครุฑสำหรับแบบพิมพ์ มีกี่ขนาด


o 1 ขนาด
o 2 ขนาด
o 3 ขนาด
o 4 ขนาด

 19. คณะกรรมการทำลายหนังสือโดยปกติให้แต่งตั้งจากข้าราชการตั้งแต่
ระดับใดขึ้นไป
o ระดับ 2
o ระดับ 3
o ระดับ 5
o ระดับ 7

 20. ภายในกี่วัน ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการเก็บหนังสือสำรวจหนังสือที่


ครบกำหนดอายุการเก็บในปี นั้น เพื่อขอทำลาย
o 30 วันหลังจากวัน 1 มกราคม ของปี ปั จจุบัน
o 30 วันหลังจากวันสิ้นปี ปฏิทิน
o 60 วันหลังจากวัน 1 มกราคม ของปี ปั จจุบัน
o 60 วันหลังจากวันสิ้นปี ปฏิทิน

You might also like