Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 3

แบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1

หน่วยที่ 4 เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช


บทที่ 5 การลำเลียงและการคายน้ำของพืช ชุดที่ 2
จำนวน 30 ข้อ 30 คะแนน

เฉลย บทที่ 5 แบบฝึกหัดเรื่อง การลำเลียงและการคายน้ำของพืช ชุดที่ 2


ข้อ เฉลย อธิบาย
1. ข. ลำเลียงน้ำและแร่ธาตุ ไซเล็ม คือเนื้อเยื่อที่ทำหน้าที่ลำเลียงน้ำและแร่ธาตุผ่านกลุ่มเซลล์ที่
2. ค. ท่อลำเลียงน้ำเป็นท่อยาวติดต่อกันตลอด ตายแล้ วเรี ยงต่ อกันเป็ นท่ อต่ อเนื ่องตั ้ง แต่ราก ลำต้ น กิ ่ ง จนถึ งใบ
ตั้งแต่รากลำต้นและใบ ลำเลียงน้ำและแร่ธาตุทิศทางเดียวคือ จากล่างขึ้นบน
3. ก. เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น พืชจะคายน้ำได้มากขึ้น เมื่ออุณหภูมิของอากาศสูงขึ้น น้ำจะแพร่ออกจากปากใบมากขึ้น เกิด
การคายน้ำมากขึ้น
4. ข. กระจัดกระจายอยู่ทั่วไป ในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ท่อลำเลียงอาหารและท่อลำเลียงน้ำเรียงตัวอย่าง
กระจัดกระจายไปทั่วลำต้น
5. ก. ไซเล็ม คำอธิบายข้อที่ 1
6. ก. เซลลยังมีชีวิต การลำเลียงอาหารในโฟลเอ็มเกิดจากกลุ่มเซลล์ที่ยังมีชีวิตอยู่ ส่วนการ
ลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในไซเล็มเกิดจากกลุ่มเซลล์ที่ตายแล้ว
7. ง. ไซเล็ม โฟลเอ็ม เนื้อเยื่อลำเลียงน้ำหรือไซเล็มจะอยู่ด้านใน ส่วนเนื้อเยื่อลำเลียงอาหาร
หรือโฟลเอ็มจะอยู่ด้านนอก
8. ก. แร่ธาตุเข้าสู่รากพืชโดยการแพร่ น้ำเข้าสู่ กระบวนการดูดน้ำและแร่ธาตุ พืชจะดูดน้ำและแร่ธาตุทางขนราก โดย
รากพืชด้วยการออสโมซิส จะดูดน้ำด้วยวิธีการออสโมซิส ส่วนการดูดธาตุอาหารใช้วิธีการแพร่
9. ง. มะม่วง มะม่ วง เป็ นพื ช ใบเลี ้ ย งคู่ ลั กษณะของท่ อลำเลี ย งอาหารและท่ อ
ลำเลียงน้ำจะเรียงตัวกันเป็นวงรอบลำต้น
10. ก. ใบขนาดใหญ่จะมีการคายน้ำได้มากกว่า ใบไม้ที่มีขนาดใหญ่ จำนวนปากใบก็มีมากขึ้น ทำให้มีช่องสำหรับคาย
น้ำมากขึ้น
11. ค. การคายน้ำของพืชทำให้ใบของพืชมี
ลักษณะเหี่ยวแห้ง
12. ก. ทอลําเลียงน้ำมีอยูทั่วไปในลําตน คำอธิบายข้อที่ 1
13. ก. ท่อลำเลียงน้ำ การป้องกันการเกิดฟองอากาศในท่อลำเลียงน้ำ ทำได้โดยตัดปลาย
ก้านดอกใต้น้ำก่อนการปักแจกัน ทำให้ประสิทธิภาพการดูด น้ำเพิ่มขึ้น
น้ำเคลื่อนที่ในท่อลำเลียงได้ดี
14. ค. ไซเล็ม คำอธิบายข้อที่ 1
15. ง. มีขนาดเล็กและอยู่ใกล้เปลือกลำต้น
16. ง. ถูกทั้ง ก และ ข มัดท่อลำเลียง ประกอบด้วยท่อลำเลียงน้ำ (xylem) และท่อลำเลียง
อาหาร (phloem)

P a g e 1|3
แบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1
หน่วยที่ 4 เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช
บทที่ 5 การลำเลียงและการคายน้ำของพืช ชุดที่ 2
จำนวน 30 ข้อ 30 คะแนน

ข้อ เฉลย อธิบาย


17. ก. อ้อย อ้อย เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ลักษณะของท่อลำเลียงอาหารและท่อ
ลำเลียงน้ำจะเรียงตัวอย่างกระจัดกระจายไปทั่วลำต้น
18. ก. ทอลําเลียงอาหาร การตอนกิ่ง เป็นการตัดท่อลำเลียงอาหารของพืช ส่วนท่อลำเลียงน้ำยัง
มีอยู่ตามปกติ จึงทำให้กิ่งที่ทำการตอนได้รับน้ำอยู่ตลอดเวลา
19. ก. ทอลําเลียงอาหาร การลำเลียงอาหารในท่อโฟลเอ็มมี 2 ทิศทาง คือ จากบนลงล่างและ
จากล่างขึ้นบน
20. ก. มีเฉพาะพืชใบเลี้ยงคู่เท่านั้น วงปีเกิดจากการเจริญเติบโตทางด้านข้างของต้นไม้ เมื่อพืชมีอายุ มาก
ขึ้นในพืชใบเลีย้ งคู่
21. ก. เซลล์คุม เซลล์คุม คือเซลล์ที่มีรูปร่างคล้ายกับเมล็ดถั่วหรือไตอยู่เป็นคู่ๆ ภายใน
เซลล์คุมมีเม็ดคลอโรพลาสต์ เซลล์คุมจึงสังเคราะห์ด้วยแสงได้
22. ข. ปากใบ ปากใบ คือช่องเล็กๆ ที่อยุ่ระหว่างเซลล์คุม 2 เซลล์
23. ก. มีการคายน้ำมากกว่าดูดน้ำ สภาวะขาดน้ำของพืชจะเกิดขึ้นเมื่ออัตราการได้รับน้ำน้อยกว่าอัตรา
การคายน้ำ ทำให้เซลล์ไม่สามารถรักษาความเต่งไว้ได้เต็มที่ เมื่อขาด
แคลนรุนแรงจะแสดงออกมาเป็นอาการเหี่ยวถาวรหรือตายไปในที่สุด
24. ง. ช่วยในการสังเคราะห์แสงให้เกิดขึ้น ประโยชน์ของการคายน้ำ คือช่วยให้เกิดการลำเลียงของน้ำและแร่ธาตุ
ตลอดเวลา ทางท่อลำเลียงน้ำและแร่ ธาตุได้ อย่างต่อเนื่ อง ช่วยลดอุณหภูมิข อง
ต้นไม้ผ่านทางใบ
25. ก. การสูญเสียไอน้ำจากใบ การคายน้ำ คือการที่น้ำระเหยออกทางปากใบในรูปของไอน้ำ
26. ง. 1, 2, 3 และ 4 ปัจจัยที่มีผลกระทบโดยตรงต่อการเปิด-ปิดของปากใบมีดังนี้
1. แสงสว่าง
2. ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์
3. อุณหภูมิ
4. ฮอร์โมนบางชนิด
5. ความชื้นในอากาศ
27. ก. พืชส่วนใหญ่จะมีจำนวนปากใบด้านล่าง ปากใบของพืชส่วนใหญ่อยู่ล่างผิวใบเพราะพืชสังเคราะห์ด้ วยแสงได้ดี
ของแผ่นใบมากกว่าด้านบน ในช่ วงที ่ มี แสงแดดมาก ปากใบจึ ง ต้องอยู ่ด ้านล่ างเพื ่อป้องกั นการ
สูญเสียน้ำออกทางปากใบ
28. ข. ไอน้ำ คำอธิบายข้อที่ 25
29. ข. สาหร่าย สาหร่ายเป็นเป็นพืชที่เจริญเติบโตใต้น้ำ ไม่มีปากใบ จึงไม่สามารถคายน้ำได้

P a g e 2|3
แบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1
หน่วยที่ 4 เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช
บทที่ 5 การลำเลียงและการคายน้ำของพืช ชุดที่ 2
จำนวน 30 ข้อ 30 คะแนน

ข้อ เฉลย อธิบาย


30. ง. การมีปากใบด้านหลังใบของผักตบชวา - การมีเปลือกแข็งหุ้มลำต้น เปลือกมีเนื้อเยื่อคอร์กซึ่งมีสารซูเบอริน
สะสมอยู ่ตามผนั งเซลล์ สารซู เบอลิน ช่ วยป้ องกันการสู ญเสียน้ำ
ของพืชได้
- การมีใบเข็มของต้นกระบองเพชร การลดรูปจากใบเป็นเข็มเป็นการ
ปรับตัวของพืชเพื่อลดการสูญเสียน้ำ
- การสังเคราะห์ด้วยแสงในเวลากลางคืน เป็นการปรับตัวของพืช CAM
ช่วยป้องกันการสูญเสียน้ำ โดยปากใบจะปิดในเวลากลางวัน ส่วน
ในเวลากลางคืนปากใบจะเปิด
- การมี ป ากใบด้ านหลั ง ใบของผั กตบชวา แผ่ นใบมี 2 ด้ าน คื อ
ด้านหลังใบ จะมีสีเขียวเข้มมันหันขึ้นข้างบนเพื่อรับแสง และด้าน
ท้องใบ จะหยาบและสีอ่อนกว่าเห็นเส้นใบนูนชัดคว่ำลงสู่ดิน ดังนั้น
การที่ผักตบชวามีปากใบด้าน Ventral จะทำให้มีการคายน้ำเพิ่มขึ้น
จึงเป็นการเพิ่มโอกาสในการสูญเสียน้ำ

P a g e 3|3

You might also like