Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 19

ค ามร้อนและแก๊ (Heat and Gas)

กำรหำปริมำณควำมร้อนทีท่ ำให้วัตถุเปลี่ยนอุณหภูมิ ทำได้ดงั นี้


มวล 1 หน่วย อุณหภูมิเปลี่ยน 1 องศำ ให้ควำมร้อน cJ
มวล m หน่วย อุณหภูมิเปลี่ยน 1 องศำ ให้ควำมร้อน mc J
มวล m หน่วย อุณหภูมิเปลี่ยน T องศำ ให้ควำมร้อน mcT J

กำหนดให้ Q เป็ น ปริมำณควำมร้อนทีใ่ ห้แก่สสำร จะได้ว่ำ


Q = MC 1T

<: Q 5 / kg. k
mA
T
mal ~
ระบบ - gas n
อ ภาค
ระบบ (SysTem)
ประกอบด้ ย ิ่งต่าง ๆ ภายในขอบเขตที่ต้องการ ึก า มายถึง ิ่งที่เกี่ย ข้องซึ่งเรา
ต้องการจะ ึก า เช่น ต้องการ ึก า ่า นาใน ม้อมีอุณ ภูมิ ูงขึนเท่าไร เราจะพิจารณา
เฉพาะนาใน ม้อเท่านันที่เป็นระบบ แต่ถ้าต้องการ ึก า ่า นาและ ม้อนามีอุณ ภูมิ
ูงขึนเท่าไร ระบบในที่นีจะ มายถึงนาและ ม้อนา
า รับพลังงานภายในระบบที่เราจะ ึก านี คือ พลังงานของโมเลกุลของก๊าซใน
ภาชนะ ดังนันระบบในที่นีคือ โมเลกุลทัง มดของก๊าซในภาชนะ
พลังงานภายในระบบของก๊าซ (U) คือผลร มของพลังงานทัง มดของก๊าซ ซึ่งเป็น
ผลร มของพลังงานจลน์และพลังงาน ักย์อันเนื่องมาจากแรงระ ่างอะตอม รือโมเลกุล
ก๊าซ า รับก๊าซอะตอมเดี่ย 1 โมเลกุล ประกอบด้ ย 1 อะตอมแต่ละอะตอมอยู่ ่างกัน
มาก ค่าของพลังงาน ักย์จึงไม่มี ดังนัน พลังงานภายในระบบของก๊าซ (U) คือผลร มของ
พลังงานจลน์ของทุกอะตอม (U = N Ek )
นุ
จะได้ ่า 3
from Ek = k BT
2
U = N Ek
3 
 U = N  k BT 
2 
3
U = Nk BT
2
3
U = nRT
2
3
U = PV
2
3 3 3
ูตรแ ดงค าม ัมพันธ์ U = PV = nRT = NkBT
2 2 2

ดังนันพลังงานภายในระบบของก๊าซจะมีการเปลี่ยนแปลงเมื่อ P,V,T
มีการเปลี่ยนแปลงเท่านัน จะได้ ่า
3 3 3
U = ( P )( V ) = nR ( T ) = Nk B ( T )
2 2 2
3
จาก มการ U = Nk B ( T )
2
ทาใ ้เราทราบ ่า พลังงานภายในระบบ (U) ของก๊าซขึนกับจาน นโมเลกุล
และอุณ ภูมิ ัมบูรณ์ของก๊าซเท่านัน ฉะนัน ในการทาใ ้ก๊าซมีค ามดันและ
ปริมาตรเปลี่ยนโดยที่จาน นโมเลกุลและอุณ ภูมิไม่เปลี่ยน
พลังงานภายในระบบ (U) จะไม่เปลี่ยนแปลง
พิจารณางานที่เกิดขึนในการเปลี่ยนปริมาตร
งานที่เกิดขึนในการเปลี่ยนปริมาตร ามารถพิจารณาได้เป็น 2 แบบ
1. งานจากการเปลี่ยนปริมาตรของก๊าซเมื่อค ามดันคงที่
มมติ ่ามีก๊าซอยู่ในกระบอก ูบที่มีลูก ูบเคลื่อนที่ได้ โดยกระบอก ูบมีพืนที่ น้าตัด A และ
ก๊าซในกระบอก ูบมีปริมาตร เริ่มต้นเป็น V1 ได้รับพลังงานค ามร้อนทาใ ้มีปริมาตรเพิ่มเป็น
V2 โดยที่ยังมีค่าค ามดันคงเดิมและลูก ูบเคลื่อนที่ออกเป็นระยะ x แรงที่กระทาต่อลูก ูบ
มีค่าเป็น F
A
F
X
F
จะได้ ่า P =
A
 F = PA
W = Fs
W = F ( x )
= PA ( x )
V = Ax
 W = P ( Ax )
= P V
Then W = P (V2 − V1 )
ถ้า V2 V1 แ ดง ่า แก๊ ขยายตั ได้ W เป็นบ ก (+)
ถ้า V2  V1 แ ดง า่ แก๊ ดตั ได้ W เป็นลบ (-)
from PV = nRT = Nk BT
then W = P ( V ) = nR ( T ) = Nk B ( T )

งานจากการเปลี่ยนปริมาตรของก๊าซเมื่อค ามดันไม่คงที่
W = P ( V )
 P1 + P2 
W =   (V2 − V1 )
 2 
เทอร์โมไดนามิค ์ (Thermodynamics)
เป็น ิชาที่ ึก าเกี่ย กับการถ่ายเท รือเปลี่ยนแปลงพลังงานในกระบ นการต่าง ๆ และ
ึก าค าม ัมพันธ์ของ ารที่เป็น ตั ถ่ายเทพลังงาน เช่น การเปลี่ยน ถานะของของเ ล
ในระบบทาค ามเย็น จากของเ ล เป็นก๊าซจะใช้ปริมาณค ามร้อนจาน นเท่าใด
เทอร์โมไดนามิค ์เป็น ิชาพืนฐานในการ ึก า ิชาบาง ิชาทาง ิ กรรม า ตร์ เช่น
ระบบ ันดาปภายใน ระบบทาค ามเย็น ฯลฯ
กฎข้อที่ ูนย์ของเทอร์โมไดนามิค ์
กล่า ่า ถ้า ัตถุ x และ ัตถุ y ต่างมีอุณ ภูมิเท่ากับ ัตถุ z ัตถุ x และ ัตถุ y จะมี
อุณ ภูมิเท่ากัน และกล่า ได้ ่า ัตถุ x,y,z อยู่ใน มดุลทางค ามร้อนเดีย กัน
กฎข้อนีเป็นพืนฐานในการใช้ ัดอุณ ภูมิของ ารต่าง ๆ เช่น การใช้เทอร์โมมิเตอร์ ัด
ของเ ล ลายชนิดที่มีอุณ ภูมิต่างกัน เป็นต้น
กฎข้อที่ นึ่งของเทอร์โมไดนามิค ์ กล่า ่า พลังงานทัง มดในระบบมีค่าคงที่
พลังงานไม่มีการ ูญ ายแต่ ามารถเปลี่ยนรูปไปมาได้
กา นดใ ้ U = พลังงานภายในระบบ
Q = พลังงานค ามร้อน
W = งาน
จะได้ ่า Q = U + W
ูตรแ ดงค าม ัมพันธ์

Q = U + W
1. Q เป็นปริมาณค ามร้อนเข้า รือออกจากระบบ โดยมีการกา นด ่า
Q มีเครื่อง มายเป็น + มายค าม ่า เป็นค ามร้อนที่ใ ้กับระบบ ด
Q มีเครื่อง มายเป็น − มายค าม ่า เป็นค ามร้อนที่ระบบคายออกมา คาย

2. W เป็นงานที่ระบบทา รือถูกทาระบบ โดยมีการกา นด ่า


W มีเครื่อง มายเป็น + มายค าม ่า ระบบทางาน
-

W มีเครื่อง มายเป็น − มายค าม ่า ทางานใ ้แก่ระบบ


3. U เป็นพลังงานภายในระบบที่เพิ่มขึน รือลดลง โดยมีการกา นด ่า
U มีเครื่อง มายเป็น + มายค าม ่า พลังงานภายในระบบเพิ่มขึนถ้าอุณ ภูมิ
เพิ่มขึน
U มีเครื่อง มายเป็น − มายค าม ่า พลังงานภายในระบบลดลงถ้าอุณ ภูมิ
ลดลง
ดู
เมื่อไม่มีการถ่ายเทพลังงานค ามร้อนระ ่างระบบกับ ิ่งแ ดล้อม
จะได้ ่า Q = 0
 +U = −W
and −U = +W
ูตรแ ดงค าม ัมพันธ์
+U = −W
−U = +W
การใช้ทฤ ฎีจลน์ของก๊าซอธิบายเรื่องอื่น ๆ
การเปลี่ยน ถานะของ าร
เมื่อมีการอัดก๊าซด้ ยค ามดัน ูง ค ามดันเพิ่มขึนอุณ ภูมิของ
ก๊าซจะ ูงขึน แต่ถ้าใ ้ก๊าซคายพลังงานค ามร้อนออก อุณ ภูมิจะลด
ต่าลง ดังนัน ถ้าอัดก๊าซใ ้มีค ามดันมากพอและทาใ ้มีอุณ ภูมิต่า
มากพอ ก๊าซจะมีการเปลี่ยน ถานะเป็นของเ ล ได้ เช่น ก๊าซที่ใช้เป็น
เชือเพลิงในเตา ุงต้ม การบรรจุถังทาโดยการอัดก๊าซด้ ยค ามดัน ูง
มากจนกลายเป็นของเ ล ที่อุณ ภูมิ ้อง ทาใ ้ ามารถบรรจุก๊าซได้
ในบริมาณมากแต่ถังที่ใช้บรรจุจะต้อง นามากพอเพื่อใ ้ทนต่อแรงดัน
ของก๊าซในถังได้
การเปลี่ยน ถานะของแก๊ ใ ้กลายเป็นของเ ล ใช้ทฤ ฎีจลน์
ของแก๊ อธิบายได้ดังนี้
ในการทาใ ้แก๊ เปลี่ยน ถานะเป็นของเ ล ต้องทาใ ้โมเลกุล
ของแก๊ อยู่ใกล้นกันมากขึน ทาใ ้แรงยึดเ นี่ย ระ ่างโมเลกุลมี
ค่ามากขึนจนในที่ ุดแรงนีมีค่ามากพอทาใ ้โมเลกุลร มตั กันไม่
ฟุ้งกระจายทั่ ภาชนะอีกต่อไป แก๊ ก็จะ ามารถเปลี่ยน ถานะเป็น
ของเ ล ได้ ดังนัน ในการทาใ ้แก๊ เปลี่ยน ถานะเป็นของเ ล
ต้องเพิ่มค ามดันและลดอุณ ภูมิพร้อม ๆ กัน
า รับการเปลี่ยน ถานะจากของเ ล เป็นของแข็ง
ามารถใช้ทฤ ฎีจลน์ของแก๊ อธิบายได้ดังนี้
เมื่ออุณ ภูมิของของเ ล ลดลงจนถึงอุณ ภูมิจุดแข็งตั จึง
เริ่มเปลี่ยน ถานะ ดังนัน การที่จะทาใ ้ของเ ล มีอุณ ภูมิลดลง
ได้นัน จะต้องเอาพลังงานค ามร้อนออกจากของเ ล เป็นผลทา
ใ ้โมเลกุลของของเ ล เคลื่อนที่ช้าลง จนในที่ ุดอยู่ใกล้ชิดกัน ไม่
มีอิ ระในการเปลี่ยนตาแ น่งไปในที่ต่าง ๆ ในเนือ ารและเมื่อมี
การดึ ง พลั ง งานค ามร้ อ นออกตลอดเ ลา ของเ ล จะเปลี่ ย น
ถานะเป็นของแข็งได้
การขยายตั ของ าร
ารเมื่อได้รับพลังงานค ามร้อนจะมีการขยายตั ซึ่ง ามารถใช้ทฤ ฎี
จลน์ของก๊าซอธิบายได้ดังนี ารเมื่ อ ได้ รั บ พลั ง งานค ามร้ อ นจะมี
อุณ ภูมิ ูงขึน พลังงานจลน์เฉลี่ยมีค่ามากขึน โมเลกุลของแก๊ จะเคลื่อนที่
ด้ ยอัตราเร็ ที่ ูงขึน จะเคลื่อนที่ได้ระยะทางมากขึน รือใช้บริเ ณในการ
เคลื่ อ นที่ ม ากขึ น ท าใ ้ แ ก๊ รื อ ของเ ล นั นขยายตั ่ นของแข็ ง
เมื่อได้รับพลังงานค ามร้อนมีอุณ ภูมิ ูงขึน พลังงานจลน์ของการ ั่น
ของอนุภาคจะ ั่นไปมามากขึนทาใ ้มีการ ั่นไปมาเป็นระยะทางที่มากขึน
โมเลกุลที่ อยู่ใกล้เคียงมีการผลักกัน ระยะ ่างระ ่างโมเลกุลโดยเฉลี่ยมี
ค่าเพิ่มขึน ทาใ ้เ ็นของแข็ง ่ นร มมีการขยายตั
การถ่ายโอนค ามร้อน
ค ามร้อนมีการถ่ายเทกันได้ จาก ารที่มีอุณ ภูมิ งู ไปยัง ารที่มีอุณ ภูมิต่า
ก ่า และจะ ยุดการถ่ายเทเมื่อมีอุณ ภูมิเท่ากัน ามารถใช้ทฤ ฎีจลน์ของ
ก๊าซอธิบายได้ดังนี
การนาค ามร้อน (HeaT ConducTion)
คือการที่ค ามร้อนผ่านของแข็งจาก ่ น นึ่งไปยังอีก ่ น นึ่ง โดยของแข็งนันไม่มีการ
เคลื่อนที่ ค ามร้อนทาใ ้โมเลกุล ั่นและถ่ายทอดพลังงานจลน์ต่อ ๆ กันไปจนถึงอีกปลาย
นึ่งได้ เช่น การแ ย่ปลาย ้อมไ ้ที่เปล เทียนและถืออีกปลาย นึ่งไ ้ จะพบ ่า ตรงปลายที่
มือถือจะร้อนขึนเรื่อย ๆ จนในที่ ุดจะถือต่อไปอีกไม่ได้ แ ดง ่า ้อมเป็นตั กลางนาค าม
ร้อนจากเปล เทียนมา ู่มือ การถ่ายเทค ามร้อนโดยการนาค ามร้อนดังกล่า อธิบายได้ ่า
เป็นเพราะ โมเลกุลของปลาย ้อมที่อยู่ในเปล เทียนมีการ ั่นด้ ยพลังงานจลน์ที่ ูงเพราะมี
อุณ ภูมิ ูง การ ั่นนีทาใ ้โมเลกุลที่อยู่ถัดไป ั่นด้ ยพลังงานจลน์ที่ ูงเช่นกัน โดยจะรับ
พลังงานจลน์จากโมเลกุลของปลาย ้อมที่อยู่ในเปล เทียน ซึ่งจะทาใ ้โมเลกุลถัด ๆ ไป ั่น
ด้ ย พลังงานจลน์ ูงตามไปด้ ย จนกระทั่งถึงโมเลกุลของปลาย ้อมที่ถืออยู่ในมือ แ ดง ่ามี
การ ่งผ่านพลังงานค ามร้อนในรูปของพลังงานจลน์ของการ ั่นจากโมเลกุลของผลาย ้อมที่
อยู่ในเปล เทียนถึงโมเลกุลของปลาย ้อมที่ถืออยู่ในมือ รือมีการนาค ามร้อนโดยการผ่าน
้อม
การพาค ามร้อน (Heat ConVecTion)
คือการที่ตั กลางที่ได้รับค ามร้อนพาค ามร้อนติดตั ไปจากที่ นึ่งไปยังอีกที่ นึ่ง เช่น
ลมที่พัดผ่านบริเ ณที่มีอากา ร้อนจะพาค ามร้อนไปด้ ย ซึ่ง ามารถอธิบายได้ ่า
โมเลกุลที่ได้รับค ามร้อนจะมีการเปลี่ยนตาแ น่งโดยการพาค ามร้อนไปด้ ย

You might also like