กลุ่มที่ 8 บริษัทน้ำมันพืชไทยจำกัด

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 30

กลุ่มที่ 8 บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน)

จัดทำโดย

นางสาวศิริลักษณ์ สุขสบาย เลขที่ 9 รหัสนิสิต


65010917470
นายสหรัฐ สมวงษา เลขที่ 13 รหัสนิสิต
65010917476
นางสาวสุดารัตน์ สรวลสันต์ เลขที่ 20 รหัสนิสิต
65010917487
นางสาวกมลวรรณ สิงห์กุล เลขที่ 48 รหัสนิสิต
65010917523
นางสาวกัญญาณัฐ ปั ตติทานัง เลขที่ 52 รหัสนิสิต
65010917528
นางสาวกาญจนาพร พันภู เลขที่ 55 รหัสนิสิต
65010917532

เสนอ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นงลักษณ์ แสงมหาชัย

รายวิชา 0900 202 การบริหารการเงินสมัยใหม่ Modern


Financial Management

คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คำนำ

รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา การจัดการ


ทางการเงินสมัยใหม่ รหัสวิชา 0900202 โดยมีวัตถุประสงค์จัดทำขึ้นเพื่อใช้
ในเรื่อง การวิเคราะห์งบการเงิน เพื่อให้ได้ศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับ อัตราส่วน
วัดสภาพคล่อง อัตราส่วนวัดประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์ อัตราส่วนวัด
การก่อหนี้ อัตราส่วนวัดความสามารถในการทำกำไร และวิเคราะห์จุดอ่อน
จุดแข็งของ บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน)
ผู้จัดทำหวังเป็ นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะอำนวยประโยชน์ให้ไม่
มากก็น้อยต่อผู้อ่านให้เข้าใจการวิเคราะห์งบการเงินได้ง่ายยิ่งขึ้น

คณะผู้จัดทำ
30 กันยายน 2565

สารบัญ

เรื่อง หน้า
คำนำ ก
สารบัญ ข
สารบัญ(ต่อ) ค
งบการเงิน บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) 1
งบแสดงฐานะการเงิน ปี 2563 1
งบแสดงฐานะการเงิน(ต่อ) ปี 2563 2
งบกำไรขาดทุน ปี 2563 3
งบแสดงฐานะการเงิน ปี 2564 4
งบแสดงฐานะการเงิน(ต่อ) ปี 2564 5
งบกำไรขาดทุน ปี 2564 6
งบแสดงฐานะการเงิน ปี 2565 7
งบแสดงฐานะการเงิน(ต่อ) ปี 2565 8
งบกำไรขาดทุน ปี 2565 9
1.อัตราส่วนวัดสภาพคล่อง 10

1.1 อัตราส่วนทุนหมุนเวียน 10
1.2 อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว 10
2.อัตราส่วนวัดประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์ 11
2.1 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บหนี้ 11
2.2 อายุเฉลี่ยของสินค้า 11
2.3 อัตราการหมุนของสินทรัพย์ถาวร 12
2.4 อัตราการหมุนของสินทรัพย์รวม 12
3.อัตราส่วนวัดการก่อหนี้ 13
3.1 อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อสินทรัพย์รวม 13
3.2 อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญ 13
3.3 อัตราส่วน Equity Multiplier 14
3.4 จำนวนเท่าของดอกเบี้ยจ่าย 14

สารบัญ (ต่อ)

เรื่อง หน้า
4.อัตราส่วนวัดความสามารถในการทำกำไร 15
4.1 อัตราส่วนกำไรขั้นต้นต่อยอดขาย 15
4.2 อัตราส่วนกำไรจากการดำเนินงานต่อยอดขาย 15
4.3 อัตราส่วนกำไรสุทธิต่อยอดขาย 16
4.4 อัตราส่วนผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม 16
4.5 อัตราส่วนผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญ 17

จุดอ่อนจุดแข็งของ บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) 17


บรรณานุกรม 18
1

งบการเงิน บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน)


2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12

1.อัตราส่วนวัดสภาพคล่อง (Liquidity)

1.1 อัตราส่วนทุนหมุนเวียน (Current Ratio)


สินทรัพย์หมุนเวียน
อัตราส่วนทุนหมุนเวียน = หนี้สินหมุนเวียน (เท่า)
บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน)
10,437,548,073
ปี 2563 = 4,195,647,654 =2.49 เท่า
9,852,019,933
ปี 2564 = 3,251,432,295 =3.03 เท่า
14,878,674,938
ปี 2565 = 7,594,948,539 =1.96 เท่า

จากการคำนวณจะเห็นได้ว่า อัตราส่วนทุนหมุนเวียนของ บริษัท


น้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) ในปี 2565 เท่ากับ 1.96 เท่า ซึ่งลดลงเมื่อ
เปรียบเทียบกับปี 2564 (3.03 เท่า) และปี 2563 (2.49 เท่า) แสดงว่าในปี
2565 บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) มีสภาพคล่องลดลงจาก ปี 2564
และ ปี 2563

1.2 อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick Ratio หรือ Acid-Test


Ratio)
อั ต ร า ส่ ว น ทุ น ห มุ น เ วี ย น เ ร็ ว =
เงินสด +หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด +ลูกหนี้การค้า
หนี้สินหมุนเวียน (เท่า)

บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน)


389,792,036+0+1,238,381,804
ปี 2563 = 4,195,647,654 =0.39 เท่า
13

402,876,393+0+ 1,682,857,565
ปี 2564 = 3,251,432,295 =0.64 เท่า
334,321,120+0+1,491,386,298
ปี 2565 = 7,594,948,539 =0.24 เท่า

จากการคำนวณจะเห็นได้ว่า อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็วของ บริษัท


น้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) ในปี 2565 เท่ากับ 0.24 เท่า ซึ่งลดลงเมื่อ
เปรียบเทียบกับปี 2564 (0.64 เท่า) และปี 2563 (0.39 เท่า) แสดงว่าในปี
2565 บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) มีสภาพคล่องลดลงจาก ปี 2564
และ ปี 2563

สรุปอัตราส่วนวัดสภาพคล่อง บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) มี


ประสิทธิภาพในการบริหารสภาพคล่องลดลงทุกด้าน

2.อัตราส่วนวัดประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์ (Asset Management


Ratios)

2.1 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บหนี้ (Average Collection Period)


ลูกหนี้การค้า × 365
ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บหนี้ = ยอดขายสุทธิ (วัน)
บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน)
1,238,381,804 ×365
ปี 2563 = 24,962,634,427 =18.11 วัน
1,682,857,565× 365
ปี 2564 = 31,307,447,580 =19.62 วัน
1,491,386,298× 365
ปี 2565 = 39,107,368,534 =13.92 วัน

จากการคำนวณจะเห็นได้ว่า ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บหนี้ของ
บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) ในปี 2565 เท่ากับ 13.92 วัน ซึ่งลดลง
14

เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564 (19.62 วัน) และปี 2563 (18.11 วัน) แสดงว่า


ในปี 2565 บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) มีประสิทธิภาพในการ
บริหารลูกหนี้เพิ่มขึ้นจาก ปี 2564 และ ปี 2563

2.2 อายุเฉลี่ยของสินค้า (Days Inventory)


สินค้าคงเหลือ × 365
อายุเฉลี่ยของสินค้า = ต้นทุนสินค้าขาย (วัน)
บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน)
6,873,354,025 ×365
ปี 2563 = 22,107,135,735 =113.48 วัน
7,096,434,279× 365
ปี 2564 = 28,348,704,318 =91.37 วัน
12,163,248,302× 365
ปี 2565 = 35,985,773,147 =123.37 วัน

จากการคำนวณจะเห็นได้ว่า อายุเฉลี่ยของสินค้าของ บริษัทน้ำมันพืช


ไทย จำกัด (มหาชน) ในปี 2565 เท่ากับ 123.37 วัน ซึ่งเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบ
เทียบกับปี 2564 (91.37 วัน) และปี 2563 (113.48 วัน) แสดงว่าในปี
2565 บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) มีประสิทธิภาพในการบริหาร
สินค้าลดลงจาก ปี 2564 และ ปี 2563

2.3 อัตราการหมุนของสินทรัพย์ถาวร (Fixed Asset Turnover)


ขายสุทธิ
อัตราการหมุนของสินทรัพย์ถาวร = สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนสุทธิ

(เท่า)
15

บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน)


24,962,634,427
ปี 2563 = 3,470,563,899 =7.19 เท่า
31,307447,580
ปี 2564 = 3,490,656,890 =8.97 เท่า
39,107,358,534
ปี 2565 = 3,538,757,196 =11.05 เท่า

จากการคำนวณจะเห็นได้ว่า อัตราการหมุนของสินทรัพย์ถาวรของ
บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) ในปี 2565 เท่ากับ 11.05 เท่า ซึ่งเพิ่ม
ขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564 (8.97 เท่า) และปี 2563 (7.19 เท่า) แสดง
ว่าในปี 2565 บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) มีประสิทธิภาพในการ
บริหารสินทรัพย์ถาวรเพิ่มขึ้นจาก ปี 2564 และ ปี 2563

2.4 อัตราการหมุนของสินทรัพย์รวม (Total Asset Turnover)


ขายสุทธิ
อัตราการหมุนของสินทรัพย์รวม = สินทรัพย์รวม (เท่า)
บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน)
24,962,634,427
ปี 2563 = 13,908,111,972 =1.79 เท่า
31,307447,580
ปี 2564 = 13,342,676,823 =2.35 เท่า
39,107,358,534
ปี 2565 = 18,417,432,134 =2.12 เท่า

จากการคำนวณจะเห็นได้ว่า อัตราการหมุนของสินทรัพย์รวมของ
บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) ในปี 2565 เท่ากับ 2.12 เท่า ซึ่งลดลง
เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564 (2.35 เท่า) และเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับปี
2563 (1.79 เท่า) แสดงว่าในปี 2565 บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน)
16

มีประสิทธิภาพในการบริหารสินทรัพย์ถาวรลดลงจาก ปี 2564 และเพิ่มขึ้น


เมื่อเทียบกับ ปี 2563

สรุปอัตราส่วนวัดประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์ บริษัทน้ำมันพืชไทย
จำกัด (มหาชน) มีประสิทธิภาพในการบริหารสินทรัพย์เพิ่มขึ้นทุกด้านยกเว้น
อายุเฉลี่ยของสินค้า
3.อัตราส่วนวัดการก่อหนี้ (Leverage Ratios)

3.1 อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อสินทรัพย์รวม (Total Debt to Total


Asset)
หนี้สินรวม
อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อสินทรัพย์รวม = สินทรัพย์รวม (เท่า หรือ
%)
บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน)
4,373,393,362
ปี 2563 = 13,908,111,972 =0.3144 เท่า หรือ 31.44%
3,437,699,777
ปี 2564 = 13,342,676,823 =0.2576 เท่า หรือ 25.76%
7,792,156,834
ปี 2565 = 18,417,432,134 =0.4231 เท่า หรือ 42.31%

จากการคำนวณจะเห็นได้ว่า อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อสินทรัพย์รวม
ของ บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) ในปี 2565 เท่ากับ 42.31% ซึ่ง
เพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564 (25.76%) และปี 2563 (31.44%)
แสดงว่าในปี 2565 บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) มีการก่อหนี้เพิ่มขึ้น
จาก ปี 2564 และ ปี 2563
17

3.2 อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญ (Total Debt to


Common Equity)
อั ต ร า ส่ ว น ห นี้สิ น ร ว ม ต่ อ ส่ ว น ข อ ง ผู้ ถื อ หุ้ น ส า มั ญ =
หนี้สินรวม
ส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญ (เท่า หรือ %)

บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน)


4,373,393,362
ปี 2563 = 9,534,718,610 =0.4587 เท่า หรือ 45.87%
3,437,699,777
ปี 2564 = 9,904,977,046 =0.3471 เท่า หรือ 34.71%
7,792,156,834
ปี 2565 = 10,625,275,300 =0.7334 เท่า หรือ 73.34%

จากการคำนวณจะเห็นได้ว่า อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น
สามัญของ บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) ในปี 2565 เท่ากับ
73.34% ซึ่งเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564 (34.71%) และปี 2563
(45.87%) แสดงว่าในปี 2565 บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) มีการ
ก่อหนี้เพิ่มขึ้นจาก ปี 2564 และ ปี 2563

3.3 อัตราส่วน Equity Multiplier


สินทรัพย์รวม
อัตราส่วน Equity Multiplier = ส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญ (เท่า หรือ
%)
บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน)
18

13,908,111,972
ปี 2563 = 9,534,718,610 =1.4587 เท่า หรือ 145.87%
13,342,676,823
ปี 2564 = 9,904,977,046 =1.3471 เท่า หรือ 134.71%
18,417,432,134
ปี 2565 = 10,625,275,300 =1.7334 เท่า หรือ 173.34%

จากการคำนวณจะเห็นได้ว่า อัตราส่วน Equity Multiplier ของ


บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) ในปี 2565 เท่ากับ 173.34% ซึ่งเพิ่ม
ขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564 (134.71%) และปี 2563 (145.87%) แสดง
ว่าในปี 2565 บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) มีการก่อหนี้เพิ่มขึ้นจาก
ปี 2564 และ ปี 2563

3.4 จำนวนเท่าของดอกเบี้ยจ่าย (Times Interest Earned)


จำ น ว น เ ท่ า ข อ ง ด อ ก เ บี้ ย จ่ า ย =
กำไรก่อนต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้
ต้นทุนทางการเงิน (เท่า)

บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน)


2,136,450,565
ปี 2563 = 3,422,877 =624.17 เท่า
2,628,743,733
ปี 2564 = 4,189,363 =627.48 เท่า
2,039,667,866
ปี 2565 = 5,811,378 =350.98 เท่า

จากการคำนวณจะเห็นได้ว่า จำนวนเท่าของดอกเบี้ยจ่ายของ บริษัท


น้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) ในปี 2565 เท่ากับ 350.98 เท่า ซึ่งลดลงเมื่อ
เปรียบเทียบกับปี 2564 (627.48 เท่า) และปี 2563 (624.17 เท่า) แสดงว่า
19

ในปี 2565 บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) มีความสามารถในการจ่าย


หนี้ลดลงจาก ปี 2564 และ ปี 2563

สรุปอัตราส่วนวัดการก่อหนี้ บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) มี


ประสิทธิภาพในการบริหารด้านการก่อหนี้เพิ่มขึ้นทุกด้าน ยกเว้นจำนวนเท่า
ของดอกเบี้ยจ่าย

4.อัตราส่วนวัดความสามารถในการทำกำไร (Profitability Ratios)

4.1 อัตราส่วนกำไรขั้นต้นต่อยอดขาย (Gross profit Marin)


กำไรขั้นต้น × 100
อัตราส่วนกำไรขั้นต้นต่อยอดขาย = ยอดขายสุทธิ (%)
บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน)
2,855,498,692× 100
ปี 2563 = 24,962,634,427 =11.44 %
2,958,743,262× 100
ปี 2564 = 31,307,447,580 =9.45 %
3,121,585,387 ×100
ปี 2565 = 39,107,358,534 =7.98 %

จากการคำนวณจะเห็นได้ว่า อัตราส่วนกำไรขั้นต้นต่อยอดขายของ
บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) ในปี 2565 เท่ากับ 7.98 % ซึ่งลดลง
เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564 (9.45 %) และปี 2563 (11.44 %) แสดงว่าใน
ปี 2565 บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) มีความสามารถในการทำกำไร
ลดลงจาก ปี 2564 และ ปี 2563
20

4.2 อัตราส่วนกำไรจากการดำเนินงานต่อยอดขาย (Operating profit


Margin)
อั ต ร า ส่ ว น กำ ไ ร จ า ก ก า ร ดำ เ นิ น ง า น ต่ อ ย อ ด ข า ย =
กำไรก่อนหักต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ × 100
ยอดขายสุทธิ (%)

บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน)


2,136,450,565× 100
ปี 2563 = 24,962,634,427 =8.56 %
2,628,743,733× 100
ปี 2564 = 31,307,447,580 =8.40 %
2,039,667,866 ×100
ปี 2565 = 39,107,358,534 =5.22 %

จากการคำนวณจะเห็นได้ว่า อัตราส่วนกำไรจากการดำเนินงานต่อย
อดขายของ บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) ในปี 2565 เท่ากับ 5.22
% ซึ่งลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564 (8.40 %) และปี 2563 (8.56 %)
แสดงว่าในปี 2565 บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) มีความสามารถใน
การทำกำไรลดลงจาก ปี 2564 และ ปี 2563

4.3 อัตราส่วนกำไรสุทธิต่อยอดขาย (Net profit Marin)


กำไรสุทธิของผู้ถือหุ้นสามัญ × 100
อัตราส่วนกำไรสุทธิต่อยอดขาย = ยอดขายสุทธิ

(%)
บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน)
1,722,760,843× 100
ปี 2563 = 24,962,634,427 =6.90 %
21

2,105,258,278× 100
ปี 2564 = 31,307,447,580 =6.72 %
1,631,854,996 ×100
ปี 2565 = 39,107,358,534 =4.17 %

จากการคำนวณจะเห็นได้ว่า อัตราส่วนกำไรสุทธิต่อยอดขายของ
บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) ในปี 2565 เท่ากับ 4.17 % ซึ่งลดลง
เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564 (6.72 %) และปี 2563 (6.90 %) แสดงว่าในปี
2565 บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) มีความสามารถในการทำกำไร
ลดลงจาก ปี 2564 และ ปี 2563

4.4 อัตราส่วนผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (Return on Total


Assets: ROA)
อั ต ร า ส่ ว น ผ ล ต อ บ แ ท น ต่ อ สิ น ท รั พ ย์ ร ว ม =
กำไรสุทธิของผู้ถือหุ้นสามัญ × 100
สินทรัพย์รวม (%)

บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน)


1,722,760,843× 100
ปี 2563 = 13,908,111,972 =12.39 %
2,105,258,278× 100
ปี 2564 = 13,342,676,823 =15.78 %
1,631,854,996 ×100
ปี 2565 = 18,417,432,134 =8.86 %

จากการคำนวณจะเห็นได้ว่า อัตราส่วนผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม
ของ บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) ในปี 2565 เท่ากับ 8.86 % ซึ่งลด
ลงเมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564 (15.78 %) และปี 2563 (12.39 %) แสดง
22

ว่าในปี 2565 บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) มีความสามารถในการ


ทำกำไรลดลงจาก ปี 2564 และ ปี 2563

4.5 อัตราส่วนผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญ (Return on


Common Equity: ROE)
อัตราส่วนผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญ =
กำไรสุทธิของผู้ถือหุ้นสามัญ × 100
ส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญ (%)

บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน)


1,722,760,843× 100
ปี 2563 = 9,534,718,610 =18.07 %
2,105,258,278× 100
ปี 2564 = 9,904,977,046 =21.25 %
1,631,854,996 ×100
ปี 2565 = 10,625,275,300 =15.36 %

จากการคำนวณจะเห็นได้ว่า อัตราส่วนผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือ
หุ้นสามัญของ บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) ในปี 2565 เท่ากับ
15.36 % ซึ่งลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564 (21.25 %) และปี 2563
(18.07 %) แสดงว่าในปี 2565 บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) มีความ
สามารถในการทำกำไรลดลงจาก ปี 2564 และ ปี 2563

สรุปอัตราส่วนวัดความสามารถในการทำกำไร บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด


(มหาชน) มีประสิทธิภาพในการบริหารการทำกำไรลดลงทุกด้าน
23

จุดอ่อนจุดแข็งของ บริษัทน้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน)

จุดอ่อน ได้แก่ อัตราส่วนวัดสภาพคล่อง อัตราส่วนวัดการก่อหนี้ และ


อัตราส่วนวัดความสามารถในการทำกำไร

จุดแข็ง ได้แก่ อัตราส่วนวัดประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์

บรรณานุกรม

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำปี 2563.(2563).


[ออนไลน์].
ได้จาก:https://www.tvothai.com/th/investor/downloads
[สืบค้น 30 กันยายน 2566]

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำปี 2564.(2564). [ออนไลน์].


24

ได้จาก: https://www.tvothai.com/th/investor/downloads
[สืบค้น 30 กันยายน 2566]

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำปี 2565.(2565). [ออนไลน์].


ได้จาก: https://www.tvothai.com/th/investor/downloads
[สืบค้น 30 กันยายน 2566]

You might also like