Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

รหัสวิชา 384 วินยั

แนวข้ อสอบ B - net วิชา วินัย ( พ.ศ. 2564 )


รหัสวิชา 384 วินัย มัธยมศึกษาปี ที่ 3
ตอนที่ 2 วินัย จานวน 50 ข้ อ ( ข้ อ 1 - 50 ) รวม 100 คะแนน
1) การกสงฆ์ ประเภทใดที่ทาอัพภานได้
1. จตุวรรค 2. ปัญจวรรค 3. ทสวรรค  4. วีสติวรรค
สงฆ์ วีสติวรรค หมายถึงสงฆ์ที่มีจานวนพระภิกษุต้งั แต่ 20 รู ปขึ้นไปทาอัพภาน คือการสวดถอนอาบัติหนัก
บ้างข้อในหมวดสังฆาทิเสสได้
2) ภิกษุในชนบทแห่ งหนึ่งมีไม่ ถึง 5 รู ป จึงไม่ สามารถทาพิธีอุปสมบทกุลบุตรได้ เพราะขาดคุณสมบัติตาม
ข้ อใด
1. วัตถุสมบัติ  2. ปริสสมบัติ 3. สี มาสมบัติ 4. กรรมวาจาสมบัติ
ปริสสมบัติ คือ ความถึงพร้ อมแห่ งภิกษุบริษัท หมายถึง ภิกษุทาการอุปสมบทต้องมีจานวนครบตามที่
กาหนด คือในปั จจันตประเทศหรื อท้องถิ่นทุรกันดารหาภิกษุยากอย่างน้อยต้องมีภิกษุ ๕ รู ป ในมัชิฌม
ประเทศ หรื อมัธยมประเทศ คือถิ่นเจริ ญอย่างน้อยจะต้องมีภิกษุ ๑๐ รู ป รวมพระอุปัชฌาย์ดว้ ย ถ้าขาดหรื อ
หย่อนโดยไม่ครบองค์กาหนดเรี ยกว่า ปริสสมบัติ มีผลให้การอุปสมบทนั้นไม่สาเร็จ
3) บุคคลใดขาดคุณสมบัติในการบวช
 1. สมพรมีพฤติกรรมแสดงออกเหมือนผู้หญิง 2. สมชายอายุ 19 ปี 11 เดือน
3. สมหมายมีบริขารไม่ ครบ 8 4. สมหวังนิมนต์ พระอันดับได้ 9 รู ป
ผูท้ ี่จะอุปสมบทต้องพร้อมด้วยวัตถุสมบัติ 5 ประการ คือ
๑. เป็ นผูช้ าย, ๒. มีอายุครบ ๒๐ ปี , ๓.ไม่เป็ นมนุษย์วบิ ตั ิ เช่นถูกตอน หรื อเป็ นกระเทย
๔. ไม่เคยทาอนันตริ ยกรรม, ๕. ไม่เคยต้องปาราชิก หรื อไม่เคยเข้ารี ตเดียรถีย ์ ฯ
4) เมื่อแดงอายุครบที่จะอุปสมบท “กิจ” ที่แดงต้ องทาให้ เสร็จก่ อนการอุปสมบทคือข้ อใด
1. มีอายุครบ 20 ปี บริบูรณ์  2. มีอุปัชฌาย์ รับรอง
3. ไม่ เป็ นบุคคลวิบัติ 4. ไม่ เคยทาผิดในพระพุทธศาสนาร้ ายแรง
บุพกิจ หมายถึง กิจที่จะต้องทาให้แล้วเสร็ จก่อนการอุปสมบท ๔ ประการคือ
๑. ตรวจตราผูอ้ ุปสมบทต้องมีคุณสมบัติครบ
๒. มีอุปัชฌาย์รับรอง หรื อชักนาเข้าหมู่
๓. ตรวจดูบริ ขารที่จาเป็ น มีบาตรและจีวรเป็ นต้น ถ้าขาด ผูเ้ ป็ นอุปัชฌาย์ตอ้ งจัดหา
๔. ผูอ้ ุปสมบทต้องเปล่งวาจาขออุปสมบทด้วยตนเอง
5) ภิกษุ ก ขโมยปัจจัยภิกษุ ข 5 มาสก ภิกษุ ก ต้ องอาบัติตามข้ อใด
 1. ปาราชิก 2. สั งฆาทิเสส 3. ถุลลัจจัย 4. ปาจิตตีย์
ภิกษุถือเอาของที่เจ้าของเขาไม่ได้ให้ ได้ราคา ๕ มาสกต้องปาราชิก.
6) ข้ อใด ไม่ จัดอยู่ในอาการที่จะต้ องอาบัติ 6 อย่ าง
1. ไม่ รู้  2. ไม่ เห็น 3. หลงลืมสติ 4. สงสั ยแล้ วขืนทา
รหัสวิชา 384 วินยั

อาการที่ภิกษุจะต้ องอาบัติเหล่ านี้ ๖ อย่าง คือ ต้องด้วยไม่ละอาย ๑ ต้องด้วยไม่รู้วา่ สิ่งนี้จะเป็ นอาบัติ ๑


ต้องด้วยสงสัยแล้วขืนทาลง ๑ ต้องด้วยสาคัญว่าควรในของที่ไม่ควร ๑ ต้องด้วยสาคัญว่าไม่ควรในของที่
ควร ๑ ต้องด้วยลืมสติ ๑.
7) ภิกษุ ก ได้ ก่อกวน ภิกษุ ข ให้ เกิดความราคาญ ภิกษุ ก จะต้ องอาบัติตามข้ อใด
1. ทุกกฎ 2. สั งฆาทิเสส 3. ถุลลัจจัย  4. ปาจิตตีย์
อนึ่ง ภิกษุใด แกล้งก่อความราคาญแก่ภิกษุดว้ ยหมายว่า ด้วยเช่นนี้ ความไม่ผาสุกจักมีแก่เธอแม้ครู่หนึ่ง ทา
ความหมายอย่างนี้เท่านั้นแลให้เป็ นปั จจัย หาใช่อย่างอื่นไม่ เป็ นปาจิตตีย.์
8) ภิกษุเสพยาบ้ าแล้ วถูกตารวจจับสึ ก เพราะต้ องอาบัติตามข้ อใด
1. ปัตณัตติวัชชะ 2. โลกวัชชะ 3. สจิตตกะ 4. อจิตตกะ
ในพระวินยั ไม่มีขอ้ ห้ามเสพยาบ้า เนื่องจากในพุทธกาลไม่มีสิ่งเสพติดชนิดนี้ แต่เมื่อนามหาปเทศข้อที่มา
เทียบเคียงแล้ว ก็จะเข้าข่ายผิดวินยั สิกขาบทที่ 1 แห่งสุราปานวรรค ปาจิตตียก์ ณ ั ฑ์ที่หา้ มภิกษุดื่มน้ าเมา คือ
สุราและเมรัย เนื่องจากว่ายาบ้าทาให้ผเู ้ สพมึนเมาไร้สติก่อกรรมทาผิดหลายประการ ในทานองเดียวกับสุรา
และเมรัย :โลกวัชชะ คืออาบัติที่ภิกษุตอ้ งแล้ว เป็ นโทษทางโลกด้วย
9) ภิกษุรูปใด ต้ องอาบัติต่างจากภิกษุอื่น
1. ภิกษุ ก ฉันนื้องู 2. ภิกษุ ข ฉันเนื้อม้ า
3. ภิกษุ ค ฉันเนื้อช้ าง 4. ภิกษุ ง ฉันเนื้อมนุษย์
พระพุทธบัญญัติหา้ มฉันเนื้อบางประเภท...ภิกษุท้งั หลาย ! บรรดาคนที่มีศรัทธาเลื่อมใสมีอยู่ เขาสละเนื้อ
ของเขาถวายก็ได้ ภิกษุท้งั หลาย ! ภิกษุไม่พงึ ฉันเนื้อมนุษย์ รู ปใดฉัน ต้องอาบัติถุลลัจจัย ภิกษุท้งั หลาย !
ภิกษุไม่พงึ ฉัน 2.เนื้อช้าง 3.เนื้อม้า 4.เนื้อสุนัข 5.เนื้องู 6.เนื้อราชสีห์ 7.เนื้อหมี 8.เนื้อเสื อโคร่ ง
9.เนื้อเสือดาว 10.เนื้อเสือเหลือง รู ปใดฉัน ต้องอาบัติทุกกฏ.
ภิกษุห้ามฉันเนื้อ 10 ชนิด 1.เนื้อมนุษย์ 2.เนื้อช้าง 3.เนื้อม้า 4.เนื้อสุนขั 5.เนื้องู 6.เนื้อราชสี ห์
7.เนื้อหมี 8.เนื้อเสือโคร่ ง 9.เนื้อเสือดาว 10.เนื้อเสือเหลือง
10) ข้ อใดกล่าวไม่ ถูกต้ องเกี่ยวกับประเภทของอาบัติ
1. อาบัติแก้ ไขไม่ ได้ คือปาราชิก 2. อาบัติที่แก้ ไขได้ คืออเตกิจฉา
3. ครุอาบัติคืออาบัติหนัก 4. ลหุอาบัติคืออาบัติเบา
อเตกิจฉา อาบัติที่แก้ไขไม่ได้ คือ ปาราชิก ทาให้ขาดจากความเป็ นภิกษุ ฯ สเตกิจฉา อาบัติที่แก้ไขได้ คือ
สังฆาทิเสส และอาบัติอีก ๕ ที่เหลือ ฯ
11) ภิกษุเอใช้ ไม้ ตศี ีรษะภิกษุบีจนเลือดอาบ ภิกษุเอต้ องอาบัติตามข้ อใด
1. ปาราชิก 2. ปาจิตตีย์ 3. ถุลลัจจัย 4. สั งฆาทิเสส
ภิกษุโทษให้การประหาร (ตี) ภิกษุอื่นต้องอาบัตปิ าจิตตีย ์ ตามสิกขาบทที่ ๔ ห้ามภิกษุทาร้ายร่ างกายภิกษุ
ด้วยกัน แห่งสหธรรมิกวรรค : อธิบายความ = ภิกษุใดโกรธ ทาร้ายร่ างกายภิกษุอื่นด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง เช่น
ชกด้วยกาปั้ น ตีดว้ ยไม้ ขว้างด้วยก้อนหิน โดยที่สุดแม้จะเอาของเล็กน้อยปา เช่น เอากลีบบัวปาใส่ เป็ นต้น
ต้องอาบัติปาจิตตีย ์ ใช้ให้คนอื่นทาก็เป็ นอาบัติเหมือนกัน
รหัสวิชา 384 วินยั

12) ข้ อใดเป็ นการปรับอาบัติโดยอ้ อม


1. จงใจฉันอาหารขบเคีย้ วในเวลาวิกาล 2. จงใจทาอสุ จิให้ เคลื่อน
3. จงใจฆ่ ามนุษย์ บาดเจ็บ แต่ ไม่ ตาย 4. จงใจฆ่ ามนุษย์ ตาย
การปรับอาบัติโดยตรงและโดยอ้อม : การปรับอาบัติโดยตรงมี ๔ คือ ปาราชิก ๑,สังฆาทิเสส ๑, ปาจิตตีย ์
(อันต่างโดย นิสสัคคียะ), สุทธิกะ ๑, ปาฎิเทสนียะ ๑ ฯ การปรับอาบัติโดยอ้อมมี ๓ คือ ถุลลัจจัย ๑,
ทุกกฏ ๑, ทุพภาสิต ๑ ฯ
เกณฑ์การปรับอาบัติเมื่อพยายามฆ่ามนุษย์
- ทาสาเร็จ ต้องอาบัติปาราชิก
- ทาไม่สาเร็จ แต่ได้รับบาดเจ็บ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
- ฆ่าตัวตายไม่สาเร็จ ต้องอาบัติทุกกฏ
- พยายามฆ่าสัตว์อื่นๆ ต้องอาบัติแตกต่างกันไป ตามหลายองค์ประกอบ แต่ไม่ถึงขั้นอาบัติปาราชิก
*อาบัติขอ้ นี้เป็ นสจิตตกะ คือ เป็ นอาบัติแก่ผมู ้ ีเจตนาเท่านั้น ไม่เป็ นอาบัติสาหรับภิกษุที่ไม่เจตนา*
13) ภิกษุดื่มเบียร์ จะต้ องปรับอาบัติตามข้ อใด
1. ทุกกฎ 2. ทุพภาสิ ต 3. ถุลลัจจัย 4. ปาจิตตีย์
สุ ราปานวรรคที่ ๖ : ๑. ภิกษุดื่มน้ าเมา ต้องปาจิตตีย.์
14) สิ กขาบทที่ภกิ ษุจะต้ องอาบัติเพราะทาเอง ถ้ าสั่ งให้ ผู้อื่นทาไม่ ต้องอาบัติตรงตามความหมายข้ อใด
1. มูลบัญญัติ 2. อนุบัญญัติ 3. อณาณัตติกะ 4. อาทิกัมมิกะ
อนาณัตติกะ ความหมาย คือ อาบัติที่ตอ้ งเฉพาะทาเอง ไม่ตอ้ งเพราะสัง่ คือสัง่ ให้ผอู ้ ื่นทาไม่ตอ้ งอาบัติ เช่น
สังฆาทิเสส สิกขาบทที่ ๑(แต่สงั่ ให้ทาแก่ตน ไม่พน้ อาบัติ)
15) ภิกษุต้งั ใจฆ่ ามนุษย์ ตายต้ องอาบัติตามข้ อใด
1. ปาราชิก 2. ถุลลัจจัย 3. ปาจิตตีย์ 4. สั งฆาทิเสส
ภิกษุแกล้งฆ่ามนุษย์ให้ตาย ต้องปาราชิก.เกณฑ์การปรับอาบัติเมื่อพยายามฆ่ามนุษย์
- ทาสาเร็จ ต้องอาบัติปาราชิก
- ทาไม่สาเร็จ แต่ได้รับบาดเจ็บ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
- ฆ่าตัวตายไม่สาเร็จ ต้องอาบัติทุกกฏ
- พยายามฆ่าสัตว์อื่นๆ ต้องอาบัติแตกต่างกันไป ตามหลายองค์ประกอบ แต่ไม่ถึงขั้นอาบัติปาราชิก
*อาบัติขอ้ นี้เป็ นสจิตตกะ คือ เป็ นอาบัติแก่ผมู ้ ีเจตนาเท่านั้น ไม่เป็ นอาบัติสาหรับภิกษุที่ไม่เจตนา*
16) ภิกษุ เป็ นพ่อสื่ อให้ ชายหนุ่มหญิงสาวแต่ งงานกัน ต้ องอาบัติตามข้ อใด
1. สั งฆาทิเสส 2. ถุลลัจจัย 3. ทุกกฎ 4. ทุพภาสิ ต
ห้ามภิกษุเป็ นพ่อสื่อ(ชักสื่อ)ติดต่อชายหญิงให้เป็ นผัวเมียกัน ต้องอาบัติสงั ฆาทิเสส.
อธิบายความในสิกขาบท: ภิกษุทาสิ่งที่ไม่ควรทา สื่อให้หญิงชายอยูร่ ่ วมเป็ นผัวเมียหรื อชูก้ นั โดยนาความ
ประสงค์ของหญิงไปบอกเล่าชาย ชายเล่าหญิง ชักโยงให้ท้งั สองเป็ นผัวเมียเป็ นชู ้ อันจะนาไปสู่การให้ได้
สังวาส คือ อยูร่ ่ วมกัน ภิกษุน้ นั ผูช้ กั สื่อ(พ่อสื่อ)ต้องอาบัติสงั ฆาทิเสส
รหัสวิชา 384 วินยั

17) ภิกษุรูปใด ต้ องอาบัติสังฆาทิเสส


1. ภิกษุ ก จับต้ องกายหญิงโดยความกาหนัด
2. ภิกษุ ข จับบัณเฑาะก์ โดยความกาหนัด
3. ภิกษุ ค พูดเกีย้ วบัณเฑาะก์ โดยความกาหนัด
4. ภิกษุ ง พูดพาดพิงถึงหน้ าอกผู้หญิงโดยความกาหนัด
2.ห้ามแตะต้องกายสตรี :ภิกษุมีความกาหนัด จับต้องกายหญิง เป็ นอาบัติสงั ฆาทิเสส จับต้องบัณเฑาะก์
เป็ นอาบัติถุลลัจจัย จับต้องการบุรุษ เป็ นอาบัติทุกกฏ และจับต้องสัตว์ดิรัจฉาน เป็ นอาบัติทุกกฏ ฯ
18) ภิกษุใช้ ให้ ภกิ ษุณซี ักผ้ าจีวรให้ ต้ องอาบัติตามข้ อใด
1. นิสสั คคิยปาจิตตีย์ 2. ปาจิตตีย์ 3. ทุกกฎ 4. ปาฏิเทสนียะ
ภิกษุใช้นางภิกษุณีที่ไม่ใช่ญาติ ให้ซกั ก็ดี ให้ยอ้ มก็ดี ให้ทุบก็ดี ซึ่งจีวรเก่า ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย.์
19) ภิกษุและลูกศิษย์ ไปร่ วมงานสั มมนา ผู้จัดงานได้ให้ นอนห้ องเดียวกัน 4 วัน ต้ องอาบัติตามข้ อใด
1. นิสสั คคิยปาจิตตีย์ 2. ปาจิตตีย์ 3. ปาฏิเทสนียะ 4. อธิกรณสมถะ
มุสาวาทวรรคที่ ๑ : ๕. ภิกษุนอนในที่มุงที่บงั อันเดียวกันกับอนุปสัมบัน เกิน ๓ คืนขึ้นไป ต้องปาจิตตีย.์
20) ภิกษุฉันไอศกรีมผสมถัว่ อัลมอลด์ในเวลาวิกาลโดยไม่ รู้ ว่ามีถั่วอัลมอลด์ ต้ องอาบัติตามข้ อใด
1. นิสสั คคิยปาจิตตีย์ 2. ปาจิตตีย์ 3. ปาฏิเทสนียะ 4. อธิกรณสมถะ
ห้ามภิกษุฉนั อาหารในเวลาวิกาล: ภิกษุฉนั ของเคี้ยวของฉันในเวลาวิกาล ต้องอาบัติปาจิตตีย ์ ทุกๆคากลืน
ฉันของที่เป็ นยามกาลิก สัตตาหกาลิก ยาวชีวกิ เพือ่ จะให้อิ่มเป็ นอาบัติทุกกฎทุกๆคากลืน แต่ฉนั เป็ นยาหรื อ
มีเหตุจาเป็ นที่ควรฉัน ฉันได้ไม่เป็ นอาบัติ ฯ
21) ภิกษุรับประเคนมะม่ วงเก็บไว้ ฉันในวันรุ่งขึน้ ไม่ ได้ รับประเคนใหม่ แล้ วนามาฉัน ต้ องอาบัติตามข้ อใด
1. นิสสั คคิยปาจิตตีย์ 2. ปาจิตตีย์ 3. ปาฏิเทสนียะ 4. ทุกกฎ
ห้ามภิกษุฉนั อาหารที่เป็ นสันนิธิ(คือเก็บไว้คา้ งคืน)เป็ นอาบัติปาจิตตีย ์ ตามสิกขาบทโดยมีสิกขาบท
ที่ ๘ แห่งโภชนวรรคที่ ๔ เป็ นข้ออ้าง ฯ อธิบายความในสิกขาบท : คาว่าทีเ่ ก็บสะสมไว้ คือรับประเคนใน
วันนี้แล้วเก็บไว้ฉนั ในวันต่อๆไป การเก็บสะสมอาหารไว้คา้ งคืนเช่นนี้ ทางวินยั เรี ยกว่า สันนิธิ แปลว่า
อาหารที่เก็บสะสมไว้ขา้ มคืน(คือเก็บไว้คา้ งคืน)
22) ข้ อใดที่ไม่ จัดอยู่ในข้ อประพฤติของภิกษุในเวลาเข้ าบ้ าน(หมวดสารู ปะ)
1. แต่ งกายนุ่งห่ มเรียบร้ อย 2. พูดคุยกันเสี ยงดัง
3. เดินเท้ าไม่ เสี ยงดัง 4. นั่งตัวตรงไม่ เท้ าแขน
เสขิยวัตร: หมวด “สารู ป” มี 26 สิกขาบท : ว่าด้วยกิริยามารยาทที่ควรประพฤติในเวลาเข้าไปในหมู่บา้ น เริ่ ม
ตั้งแต่การนุ่งห่ม การสารวม ระวังอิริยาบถ การพูดคุย ให้อยูใ่ นอาการที่เหมาะสม
1. นุ่งให้เป็ นปริ มณฑล (ล่างปิ ดเข่า บนปิ ดสะดือไม่หอ้ ยหน้าห้อยหลัง)
2. ห่มให้เป็ นปริ มณฑล (ให้ชายผ้าเสมอกัน)
13. ไม่พดู เสียงดังไปในบ้าน
2. ไม่เอามือค้ากายนัง่ ในบ้าน
รหัสวิชา 384 วินยั

23) ภิกษุรับของขบเคีย้ วมาฉันจากมือของภิกษุณี ต้ องอาบัติตรงตามข้ อใด


1. ปาฏิเทสนียะ 2. ปาจิตตีย์ 3. ทุกกฎ 4. อนิยต
ปาฏิเทสนียะ ๔: ภิกษุรับของเคี้ยวของฉันแต่มือนางภิกษุณีที่ไม่ใช่ญาติ ด้วยมือของตนมาบริ โภค ต้อง
ปาฏิเทสนียะ.
24) ข้ อใดกล่าวถึง สารู ป ไม่ ถูกต้ อง
1. ภิกษุ ก ห่ มผ้ าเป็ นปริมณฑล เข้ าไปในบ้ าน
2. ภิกษุ ข ไม่ กระดิกเท้ าเล่ น ขณะอยู่ในบ้ าน
3. ภิกษุ ค รับบิณฑบาตด้ วยความตั้งใจ
4. ภิกษุ ง ไม่ พูดคุยกันขณะเข้ าไปในบ้ าน
ภิกษุพงึ ทาความศึกษาว่า เราจักระวังมือเท้าด้วยดี ไป ในบ้าน.
25) ภิกษุหมู่ใหญ่ ได้ประชุมกันเรื่ องภิกษุว่ายากสอนยาก ต้ องใช้ อธิกรณสมถะในข้ อใดระงับอธิกรณ์
1. สั มมุขาวินัย 2. สติวินัย
3. อมูฬหวินัย 4. ปฏิญญาตกรณะ
๑. ความระงับอธิกรณ์ท้งั ๔ นั้น ในทีพ่ ร้อมหน้าสงฆ์ ในที่พร้อมหน้าบุคคล ในที่พร้อมหน้าวัตถุ ในที่
พร้อมหน้าธรรม เรี ยก สัมมุขาวินยั .
26) การแสดงอาบัติของภิกษุจัดเป็ นอธิกรณสมถะตามข้ อใด
1. สั มมุขาวินัย 2. สติวินัย
3. อมูฬหวินัย 4. ปฏิญญาตกรณะ
ความปรับอาบัติตามปฏิญญาของจาเลยผูร้ ับเป็ นสัตย์ เรี ยก ปฏิญญาตกรณะ.
27) ภิกษุหมู่หนึ่งประชุมเพื่อเลือกหัวหน้ าหมู่แต่ มีหลายฝ่ ายหาข้ อสรุปไม่ ได้ ต้ องใช้ อธิกรณสมถะข้ อใดระงับ
1. ปฏิญญาตกรณะ 2. เยภุยยสิ กา
3. ตัสสปาปิ ยสิกา 4. ติณวัตถารกวินัย
ความให้ประนีประนอมกันทั้ง ๒ ฝ่ าย ไม่ตอ้ งชาระความเดิมเรี ยกติณวัตถารกวินยั .
28) การวินิจฉัยเพื่อปรับอาบัติสังฆาทิเสส แก่ ภิกษุผ้ลู ักลอบสร้ างกฎิส่วนตัว ใช้ มาตราใดเป็ นเงื่อนไขสาคัญ
1. เวลา 2. วัด 3. ชั่ง 4. รู ปิยะ
ภิกษุจะให้ก่อกุฎิที่ไม่มีเจ้าของ เป็ นที่อยูจ่ าเพาะตนด้วยการขอ (สิ่งต่าง ๆ) เอาเอง พึงทาให้ได้ประมาณ คือ
ยาวไม่เกิน ๑๒ คืบ กว้างไม่เกิน ๗ คืบ ทั้งต้องให้ภิกษุท้งั หลายแสดงที่ให้ก่อน ภิกษุท้งั หลายพึงแสดงที่ ซึ่ง
ไม่มีใครจองไว้ ที่มีชานรอบ ถ้าภิกษุให้ก่อกุฎิดว้ ยการขอ (สิ่งต่าง ๆ) เอาเอง ในที่ซ่ ึ งมีผจู ้ องไว้ ไม่มีชานรอบ
29) เมื่อคานวณระยะห่ างจากวันวิสาขบูชาไปถึงวันเข้ าพรรษา ภิกษุยังสามารถพักค้างแรมในที่อื่นได้ เป็ นเวลา
กี่ปักษ์
1. 1 ปักษ์ 2. 2 ปักษ์ 3. 3 ปักษ์ 4. 4 ปักษ์
๑๕ วันบ้าง ๑๔ วันบ้าง เป็ น ๑ ปั กษ์ ๒ ปั กษ์ เป็ น ๑ เดือน เมื่อคานวณระยะห่างจากวันวิสาขบูชา
ไปถึงวันเข้าพรรษาตามปฏิทิน จากวันวิสาขบูชาถึงวันวันเข้าพรรษา เป็ นเวลา ๖๐ วัน = ๔ ปั กษ์
รหัสวิชา 384 วินยั

30) มาตราเวลาเป็ นเงื่อนไขสาคัญของระเบียบวิธีการออกจากอาบัติใด


1. ปาราชิก 2. สั งฆาทิเสส 3. นิสสั คคิยปาจิตตีย์ 4. ถุลลัจจัย
วุฏฐานวิธี คือ กฎระเบียบเป็ นเครื่ องออกจากอาบัติ หมายถึง ระเบียบวิธีปฏิบตั ิสาหรับภิกษุผจู ้ ะเปลื้องตน
ออกจากครุ กาบัติสงั ฆาทิเสส มีท้งั หมด ๔ ขั้นตอน คือ
๑. ปริ วาส หรื อ อยูป่ ระพฤติปริ วาส หรื อ อยูก่ รรม (โดยสงฆ์เห็นชอบที่ ๓ ราตรี )
๒. มานัต ประพฤติมานัต ๖ ราตรี หรื อ นับราตรี ๖ ราตรี แล้วสงฆ์สวดระงับอาบัติ
๓. อัพภาน หรื อ การเรี ยกเข้าหมู่ โดยพระสงฆ์ ๒๐ รู ป สวดให้อพั ภาน
๔. ปฏิกสั สนา ประพฤติมูลายปฏิกสั สนา (ถ้าต้องอันตราบัติในระหว่างหรื อการชักเข้าหาอาบัติเดิม)
31) ข้ อใดกล่าวไม่ ถูกต้ องเกี่ยวกับกายบริหาร
1. ตัดเล็บ 2. ถอนขนจมูก
3. ถอนขนรักแร้ 4. ฉันน้าขวดที่ทายกถวาย
๓. อย่าพึงไว้เล็บยาว พึงตัดเสี ยด้วยมีดเล็กพอเสมอเนื้อ และอย่า พึงขัดเล็บให้เกลี้ยงเกลา. ๔. อย่าพึงไว้
ขนจมูกยาว [ออกนอกรู จมูก] พึงถอนเสียด้วยแหนบ๕. อย่าพึงให้นาเสี ยซึ่งขนในที่แคบ คือในร่ มผ้าและที่
รักแร้ เว้น ไว้แต่อาพาธ.
32) ภิกษุนั่งบนรถเมล์ถูกมือหญิงสาว มีจิตใจหวั่นไหว ต้ องอาบัติตามข้ อใด
1. ปาราชิก 2. สั งฆาทิเสส
3. ปาจิตตีย์ 4. ทุกกฏ
ห้ามแตะต้องกายสตรี :สังฆาทิเสสข้อ 2 มีใจความว่า "ภิกษุมีความกาหนัดอยู่ จับต้องกายหญิงต้อง
สังฆาทิเสส" โดยมีความหมายว่า หากภิกษุมีความรู ้สึกพึงพอใจ หรื อมีอารมณ์ทางเพศกับสุภาพสตรี แล้วเอา
มือไปสัมผัสถูกกายสุภาพสตรี หรื อภิกษุเอาร่ างกายส่วนใดส่ วนหนึ่งของภิกษุไปสัมผัสเข้ากับกายของสตรี
ภิกษุน้ นั ต้องอาบัติ "สังฆาทิเสส"
33) เหตุผลสาคัญที่พระพุทธเจ้ าอนุญาตให้ มพี ระอุปัชฌาย์ ตามข้ อใด
1. มีผู้ขอบวชจานวนมาก 2. ผู้บวชใหม่ มีคนคอยแนะนาพร่าสอน
3. เป็ นหลักในการประกอบพิธีอปุ สมบท 4. เป็ นประโยชน์ แก่ การเผยแผ่ พระศาสนาในถิ่นทุรกันดาร
อุปัชฌาย์ (/อุ-ปั ด-ชา/) ความหมายโดยพยัญชนะว่าผูเ้ ข้าไปเพ่ง กล่าวคือ ได้แก่ผคู ้ อยดูแลเอาใจใส่ คอย
แนะนาพราเตือนสัทธิวหิ าริ ก (ลูกศิษย์) ของตน ซึ่งก็คือพระเถระผูท้ าหน้าที่เป็ นประธานในการบวชกุลบุตร
ในพระพุทธศาสนา เรี ยกทัว่ ไปว่า พระอุปัชฌาย์
34) ผู้เพ่ งดูอยู่ไม่ ห่างซึ่งโทษน้ อยใหญ่ ของสั ทธิวิหาริก เปรียบได้ กับบุคคลตามข้ อใด
1. บิดา มารดา 2. ครู อาจารย์
3. บุตร ภรรยา 4. ญาติ มิตร
พระอุปัชฌาย์มีหน้าที่หลัก 2 อย่างคือเป็ นผูร้ ับผิดชอบและรับรองผูบ้ วชในพิธีบรรพชาอุปสมบทและเป็ น
ผูร้ ับปกครองดูแล แนะนา ตักเตือนและติดตามความเป็ นอยูข่ องผูท้ ี่ตนบวชให้
รหัสวิชา 384 วินยั

35) “ ห้ ามพระขึน้ ต้ นไม้ ” มีข้อยกเว้ นในกรณีใด


1. เก็บผลไม้ เมื่อเกิดอาการหิว 2. หาทิศทาง เมื่อหลงทาง
3. เด็ดดอกไม้ เพื่อประดับเจดีย์ 4. ตัดกิ่งไม้ ที่หักโค่นขวางทาง
จริ ยาวัตร : คือ กิริยามารยาทที่ควรประพฤติ จริ ยาวัตรข้อที่ 7 = ห้ามภิกษุข้ นึ ต้นไม้ ยกเว้นมีเหตุจาเป็ น เช่น
เพือ่ หนีอนั ตรายจากสัตว์ร้าย หรื อ หาทิศทาง เมื่อหลงทาง เป็ นต้น
36) บุคคลในลักษณะใด ที่ภิกษุใหม่สามารถทาการไหว้ ได้ โดยไม่ ผิดหลักคารวะ
1. พระอุปฌาย์ ที่กาลังประพฤติวุฏฐานวิธี
2. พระอาจารย์ ที่เป็ นสมานสั งวาสในประชุมโรงเรียน
3. ภิกษุณี ทีมีพรรษามากกว่ า ตนในงานฉลองวิหาร
4. ภิกษุร่ ุนพี่ ที่บวชก่ อนตน 1 วัน ในขณะฉันอาหาร
ภิกษุควรงดทาความเคารพกันในเวลาดังต่อไปนี้
๑) ในเวลาประพฤติวฏุ ฐานวิธี คือ อยูก่ รรมเพือ่ ออกจากอาบัติสงั ฆาทิเสส
๒) ในเวลาถูกสงฆ์ลงอุกเขปนียกรรม
๓) ในเวลาเปลือยกาย
๔) ในเวลาเข้าบ้านหรื อเดินอยูต่ ามทาง
๕) ในเวลาอยูใ่ นที่มืดแลไม่เห็นกัน
๖) ในเวลาที่ท่านไม่รู้
๗) ในเวลาขบฉันอาหาร
๘) ในเวลาถ่ายอุจจาระปั สสาวะ ฯ
37) การไปพักค้างคืนในที่อื่นระหว่างพรรษา ลักษณะใด ไม่ เข้ าเกณฑ์ สัตตาหกรณียะ
1. ไปช่ วยควบคุมการบูรณะพระวิหาร
2. ไปเรียนพระไตรปิ ฎก เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ของตน
3. ไปดูแลพระอุปัชฌาย์ ทกี่ าลังฟักฟื้ นที่โรงพยาบาล
4. ไปเกลีย้ กล่ อมพระบวชใหม่ที่อยากลาสิกขา
สัตตาหกรณี ยะ ธุระเป็ นเหตุให้ภิกษุออกจากวัดในระหว่างพรรษาได้ ๗ วัน ได้แก่
๑. ไปเพือ่ พยาบาลสหธรรมิกหรื อมารดาบิดาผูเ้ จ็บไข้
๒. ไปเพือ่ ระงับสหธรรมิกที่กระสันจะสึก
๓. ไปเพือ่ กิจสงฆ์ เช่น ไปหาทัพพสัมภาระมาซ่อมวิหารที่ชารุ ดลงในเวลานั้น
๔. ไปเพือ่ บารุ งศรัทธาของทายกซึ่งส่งมานิมนต์เพือ่ การบาเพ็ญกุศลของเขา และธุระอื่นจากนี้ที่เป็ น
กิจลักษณะอนุโลมตามนี้ได้
38) การปวารณาของภิกษุ สามารถนามาประยุกต์ ใช้ สอนฆราวาสได้ในเรื่ องใด
1. การแนะนา ตักเตือน 2. การประหยัดมัธยัสถ์
3. ความขยันหมั่นเพียร 4. ความกตัญญูกตเวที
รหัสวิชา 384 วินยั

ปวารณา คือการบอกให้โอกาสแก่ภิกษุท้งั หลายเพือ่ ปรารถนาตักเตือนว่ากล่าวตนได้ ฯ มีพระพุทธานุญาต


ให้ภิกษุผอู ้ ยูจ่ าพรรษาถ้วนไตรมาสทาปวารณาแทนอุโบสถ ฯในวันขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๑๑ ซึ่ งเป็ นวันเต็ม ๓
เดือนแต่วนั จาพรรษา ฯ
39) ข้ อใดกล่าวไม่ ถูกต้ องในการลงอุโบสถ
1. นับภิกษุ 2. บอกฤดู
3. ให้ โอวาทสามเณร 4. นาปาริสุทธิของภิกษุป่วยไข้
บุพกิจ คือกิจที่ตอ้ งปฏิบตั ิก่อนที่จะทาการสวดปาติโมกข์มี 5 อย่างคือ
1) นาปาริ สุทธิ(ความบริ สุทธิ์)ของภิกษุผอู ้ าพาธมา(ป่ วยไข้)
2) นาฉันทะ(ความยินยอม)ของภิกษุผอู ้ าพาธมา
3) บอกฤดู
4) นับจานวนภิกษุที่เข้าร่ วมประชุม
5) ให้โอวาทแก่ภิกษุณี
40 สามเณรแดง รับดูหมอให้ ทายกเพื่อแลกกับเงินทองเป็ นเหตุให้ ทายกอีกกลุ่มติเตียน การกระทาของสามเณร
แดงตรงกับข้ อใด
1. อนาจาร 2. บาปอนาจาร
3. อนาจาร บาปสมาจาร 4. อนาจาร อเนสนา
อุปปถกริ ยา คือ การกระทานอกรี ตนอกรอยของพระภิกษุสามเณรมี 3 ประเภท ได้แก่
อนาจาร คือ การประพฤติที่ไม่ดีไม่งาม ไม่เหมาะสม แก่ภาวะของความเป็ นบรรพชิต ซึ่งมี 3 อย่าง คือ การ
เล่นเหมือนเด็ก การร้อยดอกไม้ การเรี ยนดิรัจฉานวิชา เช่น การทานายฝัน การทายหวย การทาเสน่ห์ ดู
ลายมือ เป็ นต้น
บาปสมาจาร คือ ความประพฤติเหลวไหล เลวทราม เช่น ชอบประจบคฤหัสถ์ดว้ ยอาการอันไม่เหมาะสม
อเนสนา คือ การหาเลี้ยงชีพในทางที่ไม่เหมาะสมกับความเป็ นภิกษุ ผิดสมณวิสยั เช่น การหลอกลวงว่า
ตนเองเป็ นพระอริ ยะ เป็ นโสดาบัน เป็ นอรหันต์ เป็ นต้น เพือ่ หวังลาภสักการ
41 ภิกษุรับประเคนน้าปานะชนิดใดมีเวลาเก็บไว้ ฉันได้ ส้ั นที่สุด
1. ชามะนาว 2. ลูกเดือย
3. ขิงผสมโสม 4. มะม่ วงปั่นน้าผึง้
กาลิก เนื่องด้วยกาล , ขึ้นกับกาล , ของอันจะกลืนกินให้ล่วงลาคอเข้าไปซึ่งพระวินยั บัญญัติให้ภิกษุรับเก็บ
ไว้และฉันได้ภายในเวลาที่กาหนด จาแนกเป็ น ๔ อย่าง คือ
๑. ยาวกาลิก รับประเคนไว้และฉันได้ชวั่ เวลาเช้าถึงเที่ยงของวันนั้นเช่น ข้าว ปลา เนื้อ ผัก ผลไม้ ขนม
ต่างๆ ยาวกาลิก ของที่อนุญาตให้ฉนั ได้ต้งั แต่เช้าถึงเที่ยงวัน
42 ข้ อใดจัดเป็ นประเภทเดียวกันได้ ถูกต้ อง
1. บาตร จีวร หมอน ฟูก
2. เข็ม มีโกน ขวาน จอบ
รหัสวิชา 384 วินยั

3. จีวร รัดประคต ตั่ง เตียง


4. ต้ นไม้ เตียง หมอน ขวาน
ภัณฑะต่างเจ้าของของสงฆ์ : ภัณฑะที่เขาถวายเป็ นสาธารณะแก่ภิกษุ ไม่เฉพาะตัวหรื อภัณฑะอันภิกษุรับก็ดี
ปกครองหวงห้ามไว้ก็ดี ด้วยความเป็ นของสาธารณะแก่หมู่ภิกษุ จัดเป็ นของสงฆ์.
ของสงฆ์น้ นั มี ๒ ประเภท คือ ๑. ลหุภณั ฑ์ ของเบา. ๒. ครุ ภณั ฑ์ ของหนัก.
ลหุภณั ฑ์น้ นั จาแนกออกดังนี้
๑. บิณฑบาต.
๒. เภสัช.
๓. บริ ขารที่จะใช้สาหรับตัว คือ บาตร จีวร ประคตเอว เข็ม มีพบั มีดโกน
43 การกระทาใด ตรงข้ ามวิธีการวิกปั
1. จีวรเก่ าขาดได้ รับจีวรใหม่ มา จึงถอนบริขารเก่ าเสีย
2. นามือสั มผัสแล้ วพูดว่ า “ เราตั้งเอาไว้ ซึ่งผ้ าสั งฆาฏิผืนนี้ ”
3. ต้ องการนุ่งสบงที่ได้ มาใหม่ จึงนาปากกามาทาจุด 3 จุด
4. ได้ รับจีวรมาเพิ่ม จึงเรียกภิกษุอีกรู ปมาเพื่อไม่ ให้ เป็ นอาบัติปาจิตตีย์
พินทุกปั ปะ คือการทาให้เสียสีวตั ถุ ทาให้สี คือ เขียว คราม โคลน ดาคล้ า ทาให้เป็ นจุวงกลม หรื อดวงกลม
ใหญ่ เท่าแววหางนกยูง เล็กเท่าตัวเลือด
44 พระอุปัชฌาย์ ฝ่ าฝื นทาการอุปสมบทให้ แก่ คนหูหนวก โดยอ้ างว่ าผู้ขอบวชมีเจตนาดี ในกรณีเช่ นนี้
สั งฆกรรมถือว่ าใช้ ไม่ ได้ เพราะองค์ประกอบใดไม่ สมบูรณ์
1. วัตถุ 2. ปริส 3. สี มา 4. กรรมวาจา
วัตถุสมบัติ คือ คุณสมบัติของผูจ้ ะบวชจะต้องเป็ นมนุษย์เท่านั้น เป็ นเพศชาย มีอายุครบ ๒๐ ปี บริ บูรณ์
ซึ่งนับตั้งแต่ในครรภ์มารดาเป็ นหลัก ไม่เป็ นมนุษย์วบิ ตั ิ คือ ถูกตอน หรื อเป็ นบัณเฑาะ(กระเทย) ไม่ทาผิด
ร้ายแรง คือ มาตุฆาต-ปิ ตุฆาต หรื อฆ่ามารดา หรื อ บิดาของตนมาก่อน ไม่เคยทาผิดต่อพระศาสนามาก่อน
เช่น ฆ่าพระอรหันต์ หรื อเคยต้องอาบัติปาราชิกมาแล้วตั้งแต่บวชครั้งก่อน หรื อเมื่อก่อนขณะที่บวชอยูไ่ ด้ไป
เข้ารี ตเดียรถียม์ า อาการข้อห้ามเหล่านี้ถา้ สงฆ์บวชให้โดยไม่รู้ความจริ ง การบวชของผูน้ ้ นั ก็ไม่สาเร็จเป็ น
พระภิกษุได้เมื่อรู ้ภายหลังจะต้องให้สึกไปเสีย
นอกจากนี้ยงั มีบุคคลอีกประเภทหนึ่งที่หา้ มบวชเหมือนกัน แต่กไ็ ม่ถึงกับอุปสมบทไม่ได้ ยังอุปสมบทได้
แต่บุคคลประเภทนี้เป็ นหน้าที่ของพระภิกษุอุปัชฌาย์จะต้องคัดเลือกให้ดีเสี ยก่อน ถ้ารู ้แต่แรกห้ามมิให้บวช
ได้แก่บุคคลเหล่านี้ คือ คนที่บิดามารดายังไม่ได้อนุญาต คนที่รับราชการที่ยงั ไม่ได้รับอนุญาตจากทางการ
หรื อหน่วยงานคนที่มีอาญาแผ่นดินติดตัวมา คนที่มีร่างกายพิการต่าง ๆ รวมถึงเป็ นโรคเรื้ อรังรักษาไม่หาย
เป็ นโรคติดต่อชนิดร้ายแรง โจรที่มีชื่อเสี ยงมาก่อน คนที่หนีหนี้มาบวช คนที่เป็ นทาสผูอ้ ื่น คนไม่มี
45 การที่ภกิ ษุสร้ างทีพ่ ักส่ วนตัวเกินกว่ าทีว่ ินัยกาหนด โดยสงฆ์ ไม่ ได้ กาหนดที่ให้ เป็ นวิบัติตามข้ อใด
1. สี ลวิบัติ 2. อาจารวิบัติ 3. ทิฏฐิ วิบัติ 4. อาชีววิบัติ
ภิกษุสร้างกุฎีที่ตอ้ งก่อและโบกด้วยปูนหรื อดิน ซึ่งไม่มีใครเป็ นเจ้าของ จาเพาะเป็ นที่อยูข่ องตน ต้องทาให้
รหัสวิชา 384 วินยั

ได้ประมาณ โดยยาวเพียง ๑๒ คืบพระสุคต โดยกว้างเพียง ๗ คืบ วัดในร่ วมใน และต้องให้สงฆ์แสดงที่ให้


ก่อน ถ้าไม่ให้สงฆ์แสดงที่ให้ก็ดี ทาให้เกินประมาณก็ดี ต้องสังฆาทิเสส.
ความเห็นผิดธรรมผิดวินยั ชื่อว่าทิฏฐิวบิ ตั ิ
46 การกระทาตามข้ อใดต้ องใช้ หลักมหาปเทส 4 เป็ นแนวทางแก้ปัญหา
1. สู บฝิ่ นแล้ วดื่มไวน์ 2. อวดอ้ างว่ าตนเป็ นพระอรหันต์
3. ฉันอาหารในยามวิกาล 4. ทาการค้าขายกับคฤหัสถ์
พระพุทธเจ้า ทรงบัญญัติพระวินยั ไว้แน่นหนาก็ยงั ทรงแนะทางแก้...เอาไว้ โดยให้หลักอ้างอิง เทียบเคียง
เรี ยกว่า "มหาปเทส 4 ข้อ"
ข้อ 1 สิ่งใดไม่ได้ทรงห้ามไว้วา่ “ ไม่ควร ” แต่อนุโลมเข้ากับสิ่งที่ “ ไม่ควร ” ขัดกับสิ่งที่ “ ควร ”
สิ่งนั้น “ ไม่ควร” ยกตัวอย่างเช่น ฝิ่ น กัญชา ยาบ้า และยาเสพติดทุกชนิด แม้พระพุทธเจ้าไม่ได้ตรัส
ห้ามไว้วา่ ผิด แต่ของจาพวกนี้จดั เป็ นของไม่เหมาะสมแก่ภิกษุ เพราะเป็ นของมึนเมาทาลายสุขภาพ
เช่นเดียวกับสุราเมรัย จึงจัดเป็ นของต้องห้าม ภิกษุใดเสพเข้าไป ต้องอาบัติปาจิตตีย ์ ตามสิกขาบทที่ 1
แห่งสุราปานวรรค เพราะท่านสงเคราะห์สิ่งเหล่านี้เข้าในสุราเมรัย แม้จะมีโทษน้อยทางพระวินยั แต่มีโทษ
หนักในทางโลก คือเป็ นของผิดกฎหมาย ฯ
47 นาย ข แกล้ งใส่ ความภิกษุ ก ควรลงโทษด้ วยวิธีการใด
1. ขับไล่ 2. คา่ บาตร 3. ลงพรหมทัณฑ์ 4. อุกเขปณียกรรม
คว่าบาตร: ไม่ยอมคบค้าสมาคมด้วย เดิมหมายถึงสังฆกรรมที่พระสงฆ์ประกาศลงโทษคฤหัสถ์ผปู ้ ระทุษร้าย
ต่อศาสนาด้วยการไม่คบ ไม่รับบิณฑบาต เป็ นต้น.
48 ในพิธีอุปสมบทขณะหมู่สงฆ์ ต้งั ญัตติ มีภิกษุรูปหนึ่งคัดค้านการอุปสมบท จัดเป็ นวิบัติตามข้ อใด
1. วัตถุ 2. สี มา 3. บริษัท 4. กรรมวาจา
กรรมวิบตั ิโดยปริ สะ(บริ ษทั ) เพราะเหตุ 3 คือ
1. ภิกษุผเู ้ ข้าประชุมเป็ นสงฆ์ไม่ครบกาหนดตามหน้าที่สงั ฆกรรม.
2. สงฆ์ครบกาหนดแล้ว แต่ไม่นาฉันทะของภิกษุผคู ้ วรนามา.
3. มีผคู ้ ดั ค้านกรรมอันสงฆ์กระทา
49 บุคคลที่ห้ามอุปสมบทโดยเด็ดขาด ตรงตามข้ อใด
1. เป็ นผู้ชายหรื อบุรุษเพศ 2. มีอายุครบ 20 ปี บริบูรณ์
3. คนประพฤติผิดพระวินัยร้ ายแรง 4. ไม่ เป็ นอภัพพบุคคลที่ถูกห้ ามเด็ดขาด
บุคคลผูถ้ ูกห้ามอุปสมบทโดยเด็ดขาด
ประเภทที่ 3 ผูท้ ี่ทาผิดต่อพระพุทธศาสนา
1) ผูท้ ี่เคยต้องอาบัติปาราชิก หมายถึงผูท้ ี่เคยบวชแล้วแต่ทาผิดร้ายแรงถึงระดับที่ขาดจากความเป็ น
พระภิกษุ บุคคลประเภทนี้จะกลับมาบวชอีกไม่ได้
2) ผูท้ ี่ประทุษร้ายภิกษุณี
3) คนลักเพศ หมายถึง ปลอมบวช คือเอาผ้าเหลืองมาห่มเองโดยไม่มีพระอุปัชฌาย์
รหัสวิชา 384 วินยั

4) ผูท้ ี่ไปเข้ารี ตเดียรถีย ์ หมายถึงพระภิกษุ-สามเณรที่เปลี่ยนไปเป็ นนักบวชนอกพระพุทธศาสนา จะ


กลับมาบวชไม่ได้
50 เมื่อสงฆ์ ทราบภายหลังว่ า ผู้ที่ตนอนุญาตให้ อุปสมบทเคยทาอนันตริยกรรมมาก่ อน จะแก้ ไขด้ วยวิธีใด
1. สั งวาสนาสนา 2. สั มโภคนาสนา
3. ลิงคนาสนา 4. ทัณฑกัมมนาสนา
ประเภทที่ 2 ผูท้ ี่เคยทาอนันตริ ยกรรม
1) ผูท้ ี่ฆ่าบิดา 2) ผูท้ ี่ฆ่ามารดา 3) ผูท้ ี่ฆ่าพระอรหันต์
4) ผูท้ ี่ทาร้ายพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจนถึงห้อพระโลหิต 5) ผูท้ ี่ทาสังฆเภทคือทาสงฆ์ให้แตกกัน
ลิงคนาสนา ให้ฉิบหายจากเพศ : ผูค้ วรถูกนาสนามี 3 จาพวกคือ
1) ภิกษุตอ้ งอันติมวัตถุแล้ว ยังปฏิญาณตนเป็ นภิกษุอยู่
2) บุคคลทีอ่ ุปสมบทไม่ข้ นึ แต่ได้รับการอุปสมบทจากสงฆ์
3) สามเณรผูป้ ระพฤติผดิ มีองค์ 10 ฯ
ไพสิ น ป้ องภา พิมพ์ / เฉลย / เรียบเรียง
อาจารย์ แสวง เสมอใจ ป. ตรวจ /ทาน

You might also like