Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 9

PHYSIC: INTRODUCTION

1. SI unit

2. Significant Figures

3. Error & Uncertainly operation

4. Converting Units

1. SI unit

1
2. Significant Figures

2.1 Principle
เลขนัยสำคัญ
เลขนัยสำคัญ คือ ตัวเลขที่อ่ำนได้จำกเครื่องมือวัดแบบสเกลโดยตรง รวมกับ ตัวเลขที่ได้จำกกำร
ประมำณอีก 1 ตัว เช่น อ่ำนได้จำกเครื่องมือวัด 105.23 เซนติเมตร
โดย 105.2 เป็นตัวเลขที่วัดได้จริง
และ 0.03 เป็นตัวเลขที่ประมำณขึ้นมำ
หลักในกำรนับเลขนัยสำคัญ
1. ทศนิยมที่มีเลขนัยสำคัญ 1-9 นับหมด

2. เลข 0 ที่อยู่ข้ำงหน้ำทศนิยม ไม่นับเป็นเลขนัยสำคัญ

3. เลข 0 ที่อยู่ข้ำงหลังจุดทศนิยม นับเป็นเลขนัยสำคัญ

4. ถ้ำอยู่ในรูป 𝑨 × 𝟏𝟎𝒏 ให้นับเลขนัยสำคัญเฉพำะ A เท่ำนั้น

5. ถ้ำอยู่ในรูปจำนวนเต็ม ให้นับเลขนัยสำคัญหมดทุกตัว (กรณีที่เลขตัวสุดท้ำยไม่มี 0)

6. ถ้ำอยู่ในรูปจำนวนเต็ม ให้จัดรูป 𝑨 × 𝟏𝟎𝒏 (กรณีที่เลขตัวสุดท้ำยมี 0)

2
7. ค่ำคงตัว หรือ เลขที่อยู่ในสูตร
กรณีนี้ค่ำคงตัว หรือ เลขที่อยู่ในสูตร ไม่นับเป็นเลขนัยสำคัญ เช่น กำรคำนวณควำมยำวเส้นรอบรูปวงกลม
ตำมสมกำร L = 2πr ค่ำ 2 และ π จะไม่นับเป็นเลขนัยสำคัญ
r = 0.25 m
L = 2πr = 2×3.14×0.25 = 1.57 m
แต่ค่ำจำกกำรคำนวณนี้เป็นเลขนัยสำคัญ 3 ตัว ซึ่งสูงกว่ำจำนวนเลขนัยสำคัญของค่ำ r จึงปัดจำนวนเลข
นัยสำคัญลงให้เท่ำกับ 2 เท่ำกับจำนวนเลขนัยสำคัญของค่ำ r → L = 1.6 m

2.2 Operation

Plus and Minus

1. กำรบวกและกำรลบเลขนัยสำคัญ ให้บวกลบแบบวิธีกำรทำงคณิตศำสตร์ก่อน

2. ผลลัพธ์ที่ได้ ต้องมีตำแหน่งทศนิยมละเอียดเท่ำกับปริมำณที่มีควำมละเอียดที่น้อยที่สุด

Multiply and division

1. กำรคูณและกำรหำรเลขนัยสำคัญ ให้คูณหำรแบบวิธีกำรทำงคณิตศำสตร์ก่อน

2. ผลลัพธ์ที่ได้ ต้องมีจำนวนเลขนัยสำคัญเท่ำกับจำนวนเลขนัยสำคัญของตัวที่น้อยที่สุด

3
แบบฝึกหัดที่ 1 : จงนับเลขนัยสำคัญต่อไปนี้ว่ำมีทั้งหมดกี่ตัว
1.) 1.879 2.) 2.1

3.) 0.00512 4.) 0.100439

5.) 186000 6.) 0.3002

7.) 3.1415 8.) 0.0000870

9.) 10154 10.) 6 × 1023

11.) 0 12.) 0.0

13.) 0.00 14.) 0.057

15.) 0.507 16.) 0.570

17.) 0.15 18.) 151

19.) 1.00 20.) 0.03

21.) 3.0 × 102 22.) 0.12 × 10-3

23.) 10.0 24.) 6.4614 × 10-20

25.) 1.6800 26.) 105

4
27.) 0.0020 28.) 0.00047025

29.) 102000 30.) 1000000

แบบฝึกหัดที่ 2 : จงหำผลลัพธ์ของกำรบวกและลบเลขนัยสำคัญต่อไปนี้
1.) 2.12 + 3.895 + 5.4236

2.) 15.7962 + 6.31 – 16.8

3.) 4.31 + 2.1 – 0.002

4.) 1.2 + 62.543 + 10.12

5.) (0.54 × 103 ) – (12.5 × 102 )

5
แบบฝึกหัดที่ 3 : จงหำผลลัพธ์ของกำรคูณและหำรเลขนัยสำคัญต่อไปนี้
1.) 432.10 × 5.5

2.) 0.6214 ÷ 4.52

3.) 1.50 × 104 × 3.6 ÷ 0.25

4.) 123.45 × 2.0

5.) 29 ÷ 120

6
3. Error & Uncertainly operation
𝑨 ± ∆𝑨
3.1 Plus and minus

R = A + B

∆R = ∆A + ∆B

ผลลัพธ์ R + ∆R =

ผลลัพธ์ R - ∆R =

แบบฝึกหัดที่ 4 : เชือกเส้นแรกยำว 16.32 ± 0.02 เซนติเมตร และเชือกเส้นที่สองยำว 20.68 ± 0.01


เซนติเมตร จงหำค่ำ
ก. เชือกเส้นแรกยำวมำกที่สุดเท่ำกับ

ข. เชือกเส้นแรกยำวน้อยที่สุดเท่ำกับ

ค. เชือกเส้นที่สองยำวมำกที่สุดเท่ำกับ

ง. เชือกเส้นทีส่ องยำวน้อยที่สุดเท่ำกับ

จ. ผลบวกมำกที่สุดของเชือก 2 เส้น

ฉ. ผลบวกน้อยที่สุดของเชือก 2 เส้น

7
แบบฝึกหัดที่ 5 : ให้ A = 6.4 ± 0.1 และ B = 3.6 ± 0.2
จงหำ A + B และ A – B

แบบฝึกหัดที่ 6 :
A = 20.68 ± 0.01 B = 16.32 ± 0.02 C = 2.32 ± 0.24
จงหำ A + B – C

แบบฝึกหัดที่ 7 :
ถำปริมำณ A = 7.2 ± 0.2 เมตร ปริมำณ B = 2.4 ± 0.3 เมตร และปริมำณ C = 4.5 ± 0.6 เมตร จงหำ
ผลลัพธของ A - B + 2C ตำมหลักเลขนัยสำคัญและควำมคลำดเคลื่อน

8
3.2 Multiply and division

3. Converting Units

3.1 Easy

3.2 Medium

3.3 Hard

You might also like