9 - 538301 - Field Testing For Determination of Soil Parameters - 1 - 2565

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 76

Field Testing for Determination

of Soil Parameters
Decho Phueakphum
Geological Engineering
Trimester 1/2565
Direct Methods
✓ Standard Penetration Test (SPT)
✓ Vane Shear Test (VST)
✓ Kunzelstab Penetration Test
✓ Plate Load Test (PLT)
✓ Cone Penetration Test (CPT)
✓ Pressure Meter Test (PMT)
✓ Dilatometer Test (DMT)
Common in-situ tests for geotechnical site Characterization of soils
Indirect Methods
✓ Mechanical Wave Measurements
➢ Cross-hole seismic tests (CHT)
➢ Down-hole seismic tests (DHT)
➢ Seismic Refraction
✓ Electromagnetic Wave Measurements
➢ Ground Penetration Radar (GPR)
➢ Surface Resistivity (SR)
➢ Magnetometer Surveys (MT)
ความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็ นแนวทางสาหรับ
การเจาะสารวจชั้นดิน
ความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็ นแนวทางสาหรับการเจาะสารวจชั้นดิน
ในเขต กทม. และปริมณฑล
โครงสร้าง ประมาณการความลึก ความลึกของหลุมเจาะ
ของปลายเสาเข็มที่ใช้ (เมตร) (เมตร)
อาคารปกติ สูงไม่เกิน 5 ชัน้ หรือ 21 – 23 30
โรงงานขนาดเบา
อาคารปกติ สูงไม่เกิน 10 ชัน้ หรือ 22 – 25 35 – 40
โรงงานขนาดหนัก
อาคารสูงไม่เกิน 15 ชัน้ 25 – 30 40 – 45

อาคารสูงไม่เกิน 20 ชัน้ 25 - 45 50 – 60
ความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็ นแนวทางสาหรับการเจาะสารวจชั้นดิน
ในเขต กทม. และปริมณฑล
โครงสร้าง ประมาณการความลึก ความลึกของหลุมเจาะ
ของปลายเสาเข็มที่ใช้ (เมตร) (เมตร)
อาคารสูงไม่เกิน 24 ชัน้ 45 – 55 60 - 70

อาคารสูงไม่เกิน 15 ชัน้ 50 – 60 70 – 80

อาคารสูง 30 ชัน้ ขึน้ ไป - 80 – 120


ความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็ นแนวทางสาหรับการเจาะสารวจชั้นดิน
ในพื้นที่ต่างจังหวัด
โครงสร้าง ประมาณการความลึก ความลึกของหลุมเจาะ
ของปลายเสาเข็มที่ใช้ (เมตร) (เมตร)
อาคารสูง 1-2 ชัน้ หรืออาคาร 25 SPT, N-Value > 35
โครงสร้างชัว่ คราวขนาดเบามาก หนาต่อเนือ่ ง > 3 m
อาคารสูง 3-4 ชัน้ หรือโรงงาน 25 N-Value > 35, หนา 4-5 m
หรือโกดังขนาดเบา N-Value > 40, หนา 3 m
อาคารสูง 5-6 ชัน้ หรือโรงงาน 30 N-Value > 40, หนา 4-5 m
หรือโกดังขนาดปานกลาง N-Value > 45, หนา 3 m
อาคารสูง 6-9 ชัน้ หรือโรงงาน 30 N-Value > 45, หนา 4-5 m
หรือโกดังขนาดหนัก N-Value > 50, หนา 3 m
ความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็ นแนวทางสาหรับการเจาะสารวจชั้นดิน
ในพื้นที่ต่างจังหวัด
โครงสร้าง ประมาณการความลึก ความลึกของหลุมเจาะ
ของปลายเสาเข็มที่ใช้ (เมตร) (เมตร)
อาคารสูง 10-15 ชัน้ 35-40 N-Value > 45 หนา 6 m
หรืออาคารหนักมาก และลึก > 15 m
หรือ
N-Value > 50, หนา 4-5 m
และลึก > 15 m
อาคารหนักพิเศษ เช่น หอประชุม โรง 40-50 N-Value > 50 หนา 6-8 m
ภาพยนต์ ห้างสรรพสินค้า อาคารทีม่ ี และลึก > 20 m
ระยะช่วงเสาห่างกันมาก หรืออาคาร
16-18 ชัน้
▪ “Standard Penetration Test (SPT)” หรือ “การตอกทดลองมาตรฐาน” เป็ นการ
ตรวจสอบ “ความแข็งแรงของชัน้ ดิน (ทราย จะได้ค่า f ดินเหนียว จะได้ค่า Su)” ทีน่ ยิ มทีส่ ุ ดใน
ประเทศไทย
▪ “การทดสอบ” ดาเนนิ การ “ร่ วมไปกับการเกบ็ ตัวอย่างโดยกระบอกผ่า” หลักการทดสอบคือ เมือ่ เจาะดิน
ถึงระดบั ทีต่ ้องการทราบความแข็งแรง กระบอกผ่าจะถูกตอกลงไปในดินเป็ นความลึก 18 นิว้ โดยใช้ลูกตุ้ม
ขนาดมาตรฐานหนัก 140 ปอนด์ ยกสูง 30 นิว้ ระยะจม 18 นิว้ ถูกแบ่งเป็น 3 ช่วง ช่วงละ 6 นิว้ แต่
ละช่วงจะทาการบันทึกจานวนครัง้ ทีใ่ ชใ้ นการตอกเพอื่ ให้กระบอกผ่าจมลงไป 6 นิว้
▪ ดังนัน้ ถ้าชัน้ ดินเป็ นดินแข็งจะต้องให้พลังงานในการตอกมากหรือใช้จานวนครัง้ ในการตอกมากนัน่ เอง
จานวนการตอกใน “6 นิว้ แรกจะไม่นามาใช้” เนือ่ งจากสภาพดินกันหลุมอาจถูกรบกวนจากการเจาะ
สารวจมากทาให้ความแข็งแรงของดินเปลีย่ นไป จานวนการตอกในช่วงทีเ่ หลือจานามารมกันให้ได้ค่า
จานวนครัง้ การตอกมาตรฐานหรือค่า N ดังกล่าวไปใช้ในการออกแบบต่อไป
▪ การทดสอบ SPT “เหมาะ” สาหรับการทดสอบ ดินเหนียวแข็งถึงแข็งมากและทรายแน่น (Stiff
Clay, Hard Clay และ Dense Sand)
▪ “ไม่เหมาะ” สาหรับการทดสอบ ดินเหนียวอ่อน ถึงแข็งปานกลางและทรายหลวม (Soft Clay,
Medium Clay และ Loose Sand) ทัง้ นีเ้ พราะดินอ่อนไม่สามารถต้านพลังงานจากการตอกได้
บางครัง้ การตอกครัง้ เดียว การบอกผ่าอาจจมลงไปมากกว่า 18 นิว้
140 ปอนด์ (63.5 kg)
ระยะตกของค้อน 30 นิว้
▪ ค่าตุ้มตอกมาตรฐาน (SPT-N value) : ยกตุ้มน้าหนัก 140 ปอนด์
(63.5 kg) ยกตุ้มตอกสูง 30 นิว้ แล้วปล่อยให้ตกกระแทกก้านทดสอบ
อย่างอิสระ
▪ จานวนครัง้ ในการตอกให้ดนิ ยุ บ 1 ฟุ ต (30 cm)
เรียกว่า SPT-N Value ค่าดังกล่าวมีหน่วยเป็ น
“ครัง้ /ฟุ ต” หรือ “blows/ft”
▪ การทดสอบจะแบ่งระยะการตอกเป็ น 3 ช่วง ช่วงละ 6
นิว้ ค่า SPT-N Value คือค่าจานวนครัง้ ทีต่ อก 2
ช่วงหลัง สาเหตุทไี่ ม่เอาจานวนครัง้ ทีต่ อกในช่วง 6 นิว้
แรกมาใช้เพราะดินในช่วงนีเ้ ป็ นดินทีถ่ ูกรบกวน
▪ ค่า SPT นิยมใช้สาหรับ “ดินเหนียว” “ดินทราย” หรือ “ดินทีม่ กี รวดปนไม่มาก” ค่ าดังกล่าว
แสดงถึง “ความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Relative Density)” และ “ความแข็งแรงของดิน”
▪ ในกรณี “ทรายทีม่ คี วามละเอียดมากหรือทรายเม็ดป่ น ” ค่ า N ทีไ่ ด้จะผิดไปจากทฤษฎี เนือ่ งจาก
“แรงดันน้า” ทาให้ต้องทาการปรับแก้ค่า ในกรณีทนี่ บั ค่า N >15 ครัง้ ต่อฟุ ต ดังนี้
N = 15 + 0.5 (N - 15) Example
ดินทีต่ าแหน่งทดสอบเป็ น “ดินเหนียวปนทราย
▪ ในกรณีทที่ ดสอบแล้วตอกไม่ลงจะ “หยุดทดสอบ” เมือ่ (Sandy Clay) ทีร่ ะดับความลึก 20 เมตร
o ตอกเกินกว่า 50 ครัง้ แล้วกระบอกจมลงเพียง 15 cm พบว่าค่าจานวนครัง้ ในการตอกในช่วงแรกถึงช่วง
สุดท้ายดังนี้ 14 ครัง้ , 18 ครัง้ และ 20 ครัง้
o ตอกเกินกว่า 100 ครัง้ แล้วกระบอกจมลงเพียง 30 cm N = 18 + 20 = 38 blows/ft
o ตอกต่ อเนือ่ งกัน 10 ครัง้ แล้วกระบอกไม่จมเลย N = 15 + 0.5 (38 -15)
= 26.5 blows/ft#
N q
Su = c =  Su = u  qu = 2Su
1.5 2
▪ ค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Dr) ใช้ในการกาหนดสถานะของดินในสภาวะธรรมชาติ
Relative Density (%) Descriptive Term
emax − e
Dr =  100% 0 – 15 Very Loose
emax − emin
15 – 35 Loose
 d ,max  d −  d ,min 35 – 65 Medium
=   100%
 d  d ,max −  d ,min 65 – 85 Dense
85 – 100 Very Dense

The relative density of a natural soil deposit very strongly affects its engineering behavior.
Consequently, it is important to conduct laboratory tests on samples of the sand at the
same relative density as in the field (from Holtz and Kovacs, 1981).
▪ Vane Shear Test โดยใช้ใบมีด 4 แฉกเสียบลงในชัน้ ดิน แล้วบิดด้วยโมเมนต์บดิ (Torque)
จากผิวดินผ่านก้านต่อลงไปเฉือนชัน้ ดิน เป็ นรูปทรงกระบอกแล้วสามารถวัดแรงต้ านทานของชัน้
ดินได้
▪ ใบเฉือนทดสอบ หรือ ใบ Vane มี
เส้นผ่าศูนย์กลาง (D) = 5.5 cm
สูง (H) = 11.0 cm
▪ การทดสอบ Field Vane Shear Test จะ
สิ้นสุดความลึกของการทดสอบทีไ่ ม่เกิน
15-17 เมตร ตามมาตรฐาน
ASTM D-2573-72
▪ ใบเฉือ นทดสอบ จะถู ก กดลงไปในชัน้ ดิน ที่ต้ อ งการทราบค่ า
Shear Strength จากนัน้ ติดตัง้ เครือ่ งส่งถ่ายแรงบิดเข้ากับ
ก้านของใบมีดแฉก เมือ่ ใบมีดแฉกถู กส่งลงไปถึงระดับความลึก
ทดสอบ ใบมีดก็จะถู กดันออกจากปลอกคุ้ มกันและทาการหมุ น
ใบมีดแฉกด้วยอัตราความเร็ว 0.10 องศาต่อวินาที ให้ตดั มวล
ดินจนดินขาดออกจากกัน(failure)
▪ ทุกครัง้ ทีม่ กี ารทดสอบดิน ก็จะ “เริม่ ด้วยทดสอบ” กับ “ดินคง
สภาพหรือดินตามธรรมชาติ (Undisturbed)” นาค่าทีอ่ ่านได้
สูงสุดมาเข้าสูตรเพือ่ หาค่า Undrained Shear Strength, Su
▪ หากต้องการหาค่า Remolded Shear Strength ก็ให้หมุน Sensitivity Description
ใบมีด แฉกกวนดิน ให้ ด ิน มีล กั ษณะไม่ ค งสภาพ(Remold)
(St)
ประมาณ 25 รอบ จากนัน้ ให้ทาการทดสอบดินเหมือนครัง้ แรก
กับดินทีม่ ลี กั ษณะไม่คงสภาพอีกครัง้ หนึง่ และนาค่ าทีอ่ ่านได้ 1-2 Slightly Sensitivity
สูงสุดมาเขา้ สูตรเพอื่ หาค่า Remolded Shear Strength 2-4 Medium Sensitivity
▪ จากนัน้ ก็นาค่า Undrained Shear Strength และค่ า 4-8 Very Sensitivity
Remolded Shear Strength ทีไ่ ด้จากการทดสอบ 8-16 Slightly Quick
Field Vane Shear มาประมวลผลเพือ่ หาค่ า 16-32 Medium Quick
Sensitivity ของชัน้ ดินได้ 32-64 Very Quick
qu (Undisturbed ) >64 Extra Quick
Sensitivity (St ) =
qu (Re molded )
Field Vane Shear Test
▪ ตามมาตรฐาน ASTM D-2573-72
▪ เส้นผ่าศูนยก์กลาง (D) = 5.5 cm
▪ สูง (H) = 11.0 cm
▪ ความลึกของการทดสอบทีไ่ ม่เกิน15-17 เมตร
▪ การหมุนใบมีดแฉกด้วยอัตราความเร็ว 0.10
องศาต่อวินาที ให้ตดั มวลดินจนดินขาดออกจากกัน
(failure)
▪ The maximum measured torque (T) in VST is use to calculate the undrained
shear strength (Su) as follows:
Su = T / K

in which T = torque (N-m or lb-ft) and K – constant depending on the


dimensions and shape of the vane (m3 or ft3) where:
 D2 H  D 
K =  1+  for D and H in meters
 2  3H 
  D2 H  D 
K=  1+ 
1,728  2  3H  for D and H in inches
Example
NX Rectangular Vane
D = 63.5
H = 2D = 125 mm
T = 200 N-m
Su =…………..?
 ( 0.0635 2  0.1250   0.0635  T 100 N  m
K =   1 +  Su = =
 2   3  0.1250  K 9.26  10 −4 m 3
N
= 9.26  10 −4 m 3 = 108,015 2
m
= 108 kPa #
Kunzelstab Penetration Test
▪ Kunzelstab Penetration Test หรือวิธี Light Ram Sounding Test เป็ นวิธกี ารหยัง่
ทดสอบชัน้ ดินในสนาม โดยใช้แรงกระแทกส่งแท่งทดสอบผ่านชัน้ ดินลงไป ซึง่ แรงต้านการเคลือ่ นที่
ของแท่งทดสอบสามารถใช้ประมาณค่ากาลัง และความหนาของชัน้ ดิน ผลของการทดสอบทีไ่ ด้นจ้ ี ะทา
ให้ทราบสมบัตทิ างกายภาพของชัน้ ดินในเบือ้ งต้น
▪ วิธกี ารหยัง่ ทดสอบนีส้ ามารถนาไปใช้ได้อย่างกว้างขวางโดยเฉพาะการไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย
ซึง่ ใช้การสารวจดินเบือ้ งต้นสาหรับการออกแบบเสาไฟฟ้า
▪ วิธนี ส้ ี ามารถเคลือ่ นย้ายได้ง่ายเนือ่ งจากมีน้าหนักเบาจึงเหมาะกับบริเวณภูเขาสู ง ป่ ารก หรือบริเวณที่
ห่างจากถนนมากๆ วิธนี ท้ ี าได้อย่างรวดเร็วและประหยัดกว่าการเจาะสารวจ แม้แต่ชนั้ ดินทีบ่ างจนการ
เจาะสารวจไม่สามารถแยกได้ อย่างชัดเจน ผลของการหยัง่ ก็ยงั อาจจะสามารถบอกให้ทราบถึงการ
เปลีย่ นแปลงของชัน้ ดินนัน้ ได้
Kunzelstab Penetration Test
▪ Kunzelstab เป็ นการทดสอบกาลังของ
ดิน โดยใช้แท่ ง เหล็ก (ก้ า นเจาะ) ขนาด
22 mm ทีม่ ปี ลายหัวกด เป็ นกรวยขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลาง 25 mm
▪ ใช้ตุ้ มตอกน้ า หนัก 10 kg ยกสู ง 50
cm ตอกลง ไปพร้ อ มนับ จ านวนครั้ง
ในช่ ว ง 20 cm แล้ ว น าไปเที ย บกับ
Standard Chart
Kunzelstab Penetration Test
Kunzelstab Penetration Test
▪ Kunzelstab Penetration Test เป็ นการทดสอบกาลัง
ต้านทานทีป่ ลายของหัวหยัง่ (Cone Head) โดยไม่เกิดแรง
เสียดทาน ขึ้นทีก่ ้านเจาะ เนือ่ งจากหัวเจาะมีขนาดใหญ่กว่ า 25

ก้านเจาะ กล่าวคือ
✓ หัวเจาะรู ปกรวยมีขนาดเส้นผ่านศู นย์กลาง 25 mm
✓ ก้ านเจาะมีขนาดเส้นผ่านศู นย์กลาง 20 mm
✓ ค้อนตอกหนัก 10 kg มีระยะยก 50 cm
✓ ทาการทดสอบโดยนับจานวนครัง้ ของการตอก (N)
ทุ กระยะ 20 cm (blows/20 cm)
ตุ้มตอกน้าหนัก 10 kg ทัง่ เหล็ก (Anvil)
(Pile Hammer)

ท่อนเหล็ก (Rod)
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง กรวยเหล็ก (Cone) ชุดถอนก้าน
20 mm ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง
25.2 mm
กาหนดตาแหน่งบริเวณทีท่ าการทดสอบ ต่อหัวกรวยทีป่ ลายล่างของก้านเจาะ ต่อชุดทีต่ อกและ
ก้านนาทีป่ ลายบน

ขีดบอกระยะทีก่ ้านเจาะทุก 20 cm ยกลูกตุ้มสูง 50 cm ปล่อยตกอิสระ นับจานวนครัง้


เพือ่ ให้เห็นระยะทีช่ ดั เจน ลูกตุ้มตอกทุกๆ ระยะ 20 cm
Kunzelstab Penetration Test: Test Procedure
▪ การทดสอบ ใช้ผูป้ ฏิบตั งิ าน 2-3 คน รวมทัง้ ผู จ้ ดบันทึกข้อมูล
▪ เมือ่ เริม่ การทดสอบ ตอกยึดแผ่นฐาน (Base Plate) บนพืน้ ต่อหัวกรวยทีป่ ลายล่า งของก้านเจาะ
ต่อชุดทีต่ อกและก้านนาทีป่ ลายบน ยกลูกตุ้มสูง 50 cm (ทีร่ อยขีด) ปล่อยตกอิสระ ตอกหัวกรวย
ลงไปในดิน
▪ นับจานวนครัง้ ลูกตุ้มตอกทุกๆ ระยะหัวกรวยจมทีร่ อยขีดทีก่ ้านเจาะ (0.1 เมตร) ในการตอกจะต้อง
ตอกด้วยอัตราความเร็วประมาณ 3 ครัง้ /นาที โดยต่อเนือ่ ง
▪ ถ้าหยุดพักขาดช่วงการตอก จะต้องหมายเหตุไว้เมือ่ ตอกหัวกรวยจนปลายบนของก้านตอกลดต่ าลง
ระดับหนึง่ ทีไ่ ม่สะดวกในการทางานก็ต่อก้านตอกท่อนต่อไป
▪ ทดสอบจนถึงความลึกทีต่ ้องการหรือไม่สามารถตอกหัวกรวยลงไปได้ (Refusal) ถอนก้านตอกขึน้
พร้อมทีจ่ ะทดสอบหลุดต่อไป
N

N = 0.539 (N + 0.954)

Qu = 4.00 kg/cm2

Qa = 1.05 kg/cm2

N = 11.2
Kunzelstab Penetration Test
สรุปดินทีเ่ หมาะสมกับการใช้เครือ่ งมือ ได้แก่
• กรวด (Gravel )
• กรวดปนทราย (Sand –Gravel)
• ทราย (Sand)
• ทรายปนดินลูกรัง (Silty –Sand)
• ดินลูกรังปนทราย (Sandy –Silt)
• ดินลูกรังปนดินเหนียว (Clayey –Silt)
สรุปดินทีไ่ ม่เหมาะสมกับการใช้เครือ่ งมือ ได้แก่
• ดินเหนียว (Clay)
• ดินเหนียวปนดินร่วน (Clay –Silt)
Kunzelstab Penetration Test สาหรับดินทราย Qu = 1.60( N  − 3.57 )

สาหรับดินเหนียว Qu = 1.92( N  − 0.954 )

โดยที่ Qu = ความสามารถในการรับน้าหนัก
สูงสุดของดิน (ton/m2)
N = ค่าปรับแก้ จานวนครัง้ ของการ
ตอกตุ้มต่อระยะจม 20 cm
เท่ากับ 15 + 0.5(N-15)
เมือ่ N > 15 ครัง้ /20 cm
N = จานวนครัง้ ต่อ 20 cm จาก
การตอกในสนาม
การแบ่งกลุ่มค่าความแข็งของดิน
กับผลการทดสอบการเจาะหยั่งแบบเบา
ดินทราย ดินเหนียว
จานวนครัง้ ทีต่ อกต่อ สภาพดิน ความสามารถในการรับ จานวนครัง้ ทีต่ อกต่อ สภาพดิน ความสามารถในการรับ
20 cm น้าหนักสูงสุด 20 cm น้าหนักสูงสุด
N Qu (ton/m2) N Qu (ton/m2)
1-6 หลวมมาก < 3.90 1-3 อ่อนมาก 3.75 – 7.59
6-22 หลวม 3.90 – 23.10 3-6 อ่อน 7.59 – 13.35
22-95 แน่นปานกลาง 23.10 – 82.30 6-14 ปานกลาง 13.35 – 28.71
> 95 แน่น > 82.30 14 -39 แข็ง 28.71 – 53.67
39 – 95 แข็งมาก 53.67 – 107.43
> 95 แข็งทีส่ ุด > 107.43
Qu = 1.60( N  − 3.57 ) ton/m 3

Qu = 1.92( N  − 0.954 ) ton/m 3


N SPT = 0.539( N KPT + 0.954 )
N SPT = 0.539( N KPT + 0.954 )
Ultimate Bearing Capacity for 2.0 m. Width Pad Footing
N' Qs QN N' Qs QN N' Qs QN
Ton/m2 Ton/m2 Ton/m2 Ton/m 2 Ton/m 2 Ton/m2
1 3.7 - 28 55.6 39.1 55 107.4 82.3
2 5.7 - 29 57.5 40.7 56 109.3 83.9
3 7.6 - 30 59.4 42.3 57 111.3 85.5
4 9.5 0.7 31 61.3 43.9 58 113.2 87.1
5 11.4 2.3 32 63.3 45.5 59 115.1 88.7
6 13.3 3.9 33 65.2 47.1 60 117.0 90.3
7 15.3 5.5 34 67.1 48.7 61 118.9 91.9
8 17.2 7.1 35 69.0 50.3 62 120.9 93.5
9 19.1 8.7 36 70.7 51.9 63 122.8 95.1
10 21.0 10.3 37 72.9 53.5 64 124.7 96.7
11 23.0 11.9 38 74.8 55.1 65 126.6 98.3
12 24.9 13.5 39 76.7 56.7 66 128.6 99.9
13 26.8 15.1 40 78.6 58.3 67 130.5 101.5
14 28.7 16.7 41 80.5 59.9 68 132.4 103.1
15 30.6 18.3 42 82.5 61.5 69 134.3 104.7
16 32.5 19.9 43 84.4 63.1 70 136.2 106.3
17 34.5 21.5 44 86.3 64.7 71 138.1 107.9
18 36.4 23.1 45 88.2 66.3 72 140.1 109.5
19 38.3 24.7 46 90.1 67.9 73 142.0 111.1
20 40.2 26.3 47 92.1 69.5 74 143.9 112.7
21 42.1 27.9 48 94.0 71.1 75 145.8 114.3
22 44.1 29.5 49 95.9 72.7 76 148.8 115.9
23 46.0 31.1 50 97.8 74.3 77 149.7 117.5
24 47.9 32.7 51 99.8 75.9 78 151.6 119.1
25 49.8 34.3 52 101.7 77.5 79 153.5 120.7
26 51.7 35.9 53 103.6 79.1 80 155.4 122.3
กราฟความสัมพันธ์ ระหว่าง N (SPT) และค่า f โดยประมาณ
ข้อดี ข้อเสีย
1) น้าหนักเบา เคลือ่ นย้ายสะดวก 1) ทดสอบได้ไม่ลกึ นัก
2) สามารถทดสอบได้ทนั ที 2) ไม่สามารถจาแนกชัน้ ดินได้
3) ใช้แรงงานคนน้อย 3) ผลการทดสอบทีไ่ ด้ควรใช้อย่างระมัดระวัง
4) วิธกี ารง่ายและอุ ปกรณ์ทดสอบไม่ยุ่งยาก 4) การแปลผลในชัน้ ดินเหนียว อาจมี
ซับซ้อน ข้อผิดพลาด
5) ค่าใช้จา่ ยถูก เมือ่ เปรียบเทียบกับการทดสอบ
ด้วยวิธอี นื่
6) ค่าทีไ่ ด้สามารถนาไปใช้งานได้ทนั ที ไม่ต้องรอ
ผลจากห้องปฏิบตั กิ าร
ผลทีไ่ ด้ไม่นา่ เชือ่ ถือเมือ่ ……..

ข้อเสนอแนะ
“อยู่เหนือฐานราก 0.50 m” “อยู่ใต้ระดับฐานรา 1.00 m”

การพิจารณาค่าทีจ่ ะนามาคานวณหากาลังแบกทานของดิน
▪ การทดสอบหาน้ าหนักบรรทุ กของดิน : การ
ทดสอบหาค่ าแรงต้านทานการรับน้าหนัก ของ
ดินในทีก่ ่อสร้าง (Plate Load Test หรือ
Plate Bearing Test) เป็ นการทดสอบเพือ่
นาค่ ามาออกแบบฐานราก และตรวจสอบการ
รับน้าหนักของดินสามารถทดสอบได้ตาม
▪ มาตรฐาน ASTM D-1194, D-1195,
D-1196
การทดสอบการรับน้าหนักบรรทุกของดินมีอุปกรณ์ดังนี้
1) ใช้ “รถขุดดิน” จอดคร่อมจุดทดสอบเพือ่ ใช้เป็ นแรงปฏิกริ ยิ าในการทดสอบ
2) “Hydraulic Jack” หรือ “แม่แรงไฮดรอลิก” เป็ นเครือ่ งมือเพิม่ น้าหนักทดสอบ
3) “Steel Plate” ขนาด 0.50 x 0.50 ม. หนา 25 มม. วางบนจุดทดสอบ
4) “Ball Bearing” ใช้เพือ่ ลดการเยื้องศูนย์ของแรงทีเ่ กิดขึน้ โดยวางอยู่ระหว่าง Reaction System
กับ Hydraulic Jack
5) “Dial Gauges” ใช้ 4 ตัว เพือ่ สาหรับวัดการทรุดตัวทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างทดสอบ ซึ่งสามารถวัดได้
ด้วยความละเอียด 0.01 มม. และสามารถวัดค่ าความทรุดตัวได้อยู่ระหว่ าง 0-30 มม. โดย
จะติดตัง้ อยู่ระหว่าง Steel Plate และ Reference Beam
ขั้นตอนการทดสอบ
1) วางเครือ่ งมือและอุ ปกรณ์ต่างๆตามภาพประกอบ
ขั้นตอนการทดสอบ
2) เพิม่ น้าหนักทดสอบขึน้ ครัง้ ละ 10% โดยเริม่ จาก 0%, 10%, 20%, 30%, 40%, 50%, 60%,
70%, 80%, 90% และ100% ของน้าหนักทดสอบ
3) น้ า หนัก แต่ ล ะขัน้ จะรัก ษาไว้ เ ป็ น เวลา 15 นาที และจะจดบัน ทึก ค่ า การทรุ ด ตัว ทีเ่ วลา 1, 2,
4, 8 และ 15 นาที
4) เมือ่ น้ า หนัก เพิม่ ขึ้นถึง น้ า หนัก สู ง สุ ด (100% ของน้ า หนัก ทดสอบ) จะรัก ษาน้ า หนัก ทีร่ ะดับ นัน้
เป็ นเวลา 15 นาที และหลังจากนัน้ จะลดน้าหนักลงเป็ นขัน้ ๆ 4 ช่วง โดยเริม่ จาก 75%, 50%, 25%
และ 0% ตามลาดับ
5) การจดบันทึกค่าการทรุดตัวทีเ่ วลา 1, 2, 4, 8 และ 15 นาที
ตัน/เมตร2 FS = 3.0 น้ า หนั
ก ทดสอบ 25x3 = 75 ตั
น /เมตร 2
น้าหนักบรรทุกปลอดภัยได้ท ี่ 25 ⎯⎯⎯⎯⎯ →
ผลการทดสอบ
จากการทดสอบทีก่ ารรับน้ าหนักสู งสุ ดที่ 75 ตัน /เมตร2 เท่ ากับ 3 เท่ า ของน้ า หนักบรรทุ ก ที่
ออกแบบไว้ โดยได้การทดสอบ 6 จุด และทัง้ 6 จุดมีค่าการทรุดตัวน้อยกว่า 25 มิลลิเมตร สรุปได้ว่าจุด
ทดสอบทัง้ หมดสามารถรับน้าหนักบรรทุกปลอดภัยได้ท ี่ 25 ตัน/เมตร2 ตามทีไ่ ด้ออกแบบไว้
ตัวอย่างจุดสารวจที่ 1
ค่าการทรุดตัวทีน่ ้าหนักทดสอบ 75.00 ตัน/เมตร2 = 4.96 มม.
ค่าการทรุดตัวถาวรภายหลังการลดน้าหนักทดสอบที่ 0.00 ตัน/เมตร2 = 2.45 มม.
ค่าการคืนตัว (Elastic Recovery) หลังการลดน้าหนักทดสอบที่ 0.00 ตัน/เมตร2 = 2.51 มม.
ค่าการทรุดตัวถาวร
(Permanent Settlement)

ค่าการคืนตัว
(Elastic Recovery)
Curve A: This type curve is obtained in case of loose
to medium cohesion less soil (i.e. 15 < N < 30).
This type of curve shows no clear point of failure.
Curve B: This type curve is obtained in case
of cohesive soil. As the load increases the curve
leans toward settlement curve.
Curve C: This type curve is obtained in case
of partially cohesive soil (i.e. C-phi soil). This
type of curve also does not show a clear point of
failure.
Curve D: This type curve is obtained in case
of dense cohesionless soil (i.e. N > 30). This
type of curve is common in case of dense sand or
gravel deposits.
Ultimate Bearing Capacity (q alt )
Safe Bearing Capacity (q safe ) =
Factor of Safety
The following formula as suggested by Terzaghi and Peck is used to calculate the
settlement of footing
For granular soil For clayey soil
2
 B  (Bp + 0.3)   B 
S f = Sp   S f = Sp  
 Bp (B + 0.3)   Bp 
Where,
Sp = Settlement of plate, mm
Sf = Settlement of footing, mm
Bp = Width or diameter of plate, m
B = Width of footing, m
Example
A plate load test was conducted using a Pressure (kN/m2) Settlement (mm)
plate of 0.75m*0.75m size, on a 0 0
uniform deposit of sand and the 50 1.5
following data were obtained. Calculate 100 2
the safe bearing capacity of soil taking 200 4
factor of safety as 2.5. Calculate 300 7.5
settlement of a square footing of size 400 12.5
2mx2m at safe bearing capacity 500 20
600 40.6
From the load settlement curve,
the ultimate bearing capacity of
soil is found to be 500 kN/m2
and corresponding settlement is
12 mm.

Ultimate Bearing Capacity (q alt ) 500 kN / m


2

Safe Bearing Capacity (q safe ) = = = 200 kN / m2


Factor of Safety 2.5
Calculation of Footing Settlement
- Width of footing (B) = 2 m
- Width of plate (Bp) = 750 mm = 0.75 m
- Plate settlement (Sp) = 12 mm
So settlement of footing at safe load can be calculated using the following formula

 
2 2
 B  (Bp + 0.3)  2 m  (0.75 m + 0.3)
S f = Sp  = 12 mm 
 0.75 m  (2 m + 0.3)
 Bp (B + 0.3) 
= 17.78 mm = 18 mm#
การควบคุมการทดสอบ
ในการควบคุมงานจาเป็ นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องคอยควบคุมและตรวจสอบทัง้ ความพร้อมและความถูกต้อง
ในกระบวนการทดสอบทุกขัน้ ตอน ดังนี้
1) การเตรียมพืน้ ทีห่ รือหลุมตาแหน่งทีจ่ ะทดสอบจะต้องสกัดปลายหินแหลมๆ ให้เป็ นแนวราบ ถม
ทรายและบดอัดให้แน่น
2) เครือ่ งจักรทีใ่ ช้เป็ นแรงปฏิกริ ยิ าในการทดสอบต้องอยู่ในสภาพทางานได้เป็ นปกติ
3) อุ ปกรณ์ต่างๆทีใ่ ช้ทาการทดสอบจะต้องมีขนาดตามมาตรฐาน และโดยเฉพาะ Hydraulic Jack,
Dial Gauges ต้องไม่มรี อยชารุด เพราะจะทาให้ค่าการทดสอบนัน้ ผิดพลาดได้
การควบคุมการทดสอบ
ในการควบคุมงานจาเป็ นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องคอยควบคุมและตรวจสอบทัง้ ความพร้อมและความถูกต้อง
ในกระบวนการทดสอบทุกขัน้ ตอน ดังนี้
4) ในขณะทีท่ ดสอบ ผู ้ค วบคุ ม งานจะต้ อ งคอยตรวจสอบค่ า ทีอ่ ่ า นได้ (ข้อมู ล ดิบ ) จาก Dial
Gauges ทัง้ หมดให้สมั พันธ์ สอดคล้องกับเวลาแต่ ละช่วงตามมาตรฐานการทดสอบ และ
ตรวจสอบความถูกต้องในการจดบันทึกข้อมูลของผู ท้ ที่ าการทดสอบด้วย ซึง่ หากผู ค้ วบคุมงาน
เป็ นคนอ่านค่าต่างๆด้วยตัวเอง และบอกผู จ้ ดบันทึกก็จะทาให้ได้ขอ้ มูลที่ตรงกัน หลีกเลีย่ งความ
ผิดพลาดจากการอ่านค่าคนละครัง้
5) เมือ่ ผู ค้ วบคุ มงานได้รบั เอกสารสรุปผลการทดสอบฉบับสมบู รณ์ (ตาราง, กราฟและหนังสือ
รับรองจากวิศวกร) มาแล้ว จะต้องนามาเปรียบเทียบกับข้อมูลดิบทีเ่ ก็บในขณะทดสอบอีกครัง้
เพือ่ ตรวจสอบความถูกต้องทัง้ หมดก่อนสรุปข้อมูลให้ทางโครงการดาเนินงานขัน้ ต่อไป

You might also like