Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 42

ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมาย

กับสังคม
อาจารยศิรินทรพร ธารมัติ
• มนุษยจําเปนตองพึ่งพาอาศัยกันทั้งทางดานวัตถุและจิตใจ จึงมักอยู
รวมกันเปนกลุมตั้งแตแรกเริ่มที่มีมนุษยเกิดขึ้นในโลก
• หนวยที่เล็กสุดของสังคมไดแก ครอบครัว รวมกันเปนชุมชน เปน
สังคมขนาดใหญ
• คนในสังคมเดียวกันอาจมีวิถีชีวติ ความคิด ความเชื่อและ
ขนบธรรมเนียมประเพณีคลายคลึงกัน สิ่งเหลานี้รวมเรียกวา
วัฒนธรรม
• เมื่อมนุษยอยูรวมกันเปนกลุมเปนกอน เปนสังคม กฎเกณฑหรือ
ระเบียบตาง ๆ จึงมีความจําเปนที่ถูกกําหนดใหมีขึ้น เพื่อวาง
บรรทัดฐานหรือแนวทางปฏิบัติของมนุษยในสังคมใหเปนไปในทาง
เดียวกันและดํารงชีวิตอยูดวยกันโดยสงบสุข
• “ที่ใดมีสังคม ที่นั่นมีกฎหมาย” (Ubi societas, ibi jus) ซึ่งเปนสิ่ง
ที่นักกฎหมายเห็นพองตองกัน เพราะหากไมมีสังคมแลว กฎหมาย
ยอมไมจําเปนตองกําหนดขึ้น
โครงสรางของสังคม

ระบบความสัมพันธระหวางบุคคลที่เชื่อมโยงใหเกิดกลุมที่มี
รูปแบบแตกตางกันตามระบบความสัมพันธระหวางบุคคลที่จะ
ใหสังคมเปนระเบียบ
ลักษณะสําคัญของโครงสรางมนุษย
1.มีกลุมคนจํานวนมากที่มีการติดตอสัมพันธกัน
2.การติดตอสัมพันธเปนไปอยางมีระเบียบกฎเกณฑ
3.มีวัตถุประสงคในการติดตอสัมพันธกัน
4.มีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไดเสมอ
• กฎหมายเขามาเกี่ยวของในชีวิตประจําวันของมนุษย ตั้งแต
อยูในครรภมารดา กฎหมายก็เขามารับรองสิทธิของทารกใน
ครรภ ม ารดา เมื่ อ ทารกคลอดออกมาแล ว กฎหมาย
กําหนดใหเจาบานหรือบิดามารดาตองไปแจงเกิดเพื่อขอรับ
สู ติ บั ต ร เมื่ อ อายุ 15 ป กฎหมายกํ า หนดให ต อ งทํ า บั ต ร
ประชาชน เมื่อถึงวันที่จะสมรสได
จุดเริ่มตนของสังคมมนุษย

• จากการศึกษาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เราจะพบวา
มนุษยไมเคยเริ่มตนมีชีวิตแบบปจเจกชนโดดเดี่ยว โดยไม
ตองอยูกับใครเลย แตมนุษยนั้นเมื่อเกิดขึ้นมา ก็ตองอยูใน
แวดวงของมนุษยเสมอ
สังคมทุกสังคมจะประกอบไปดวยองคประกอบสําคัญของ
สังคม ดังนี้
• 2.1 ประชากร
• 2.2 วัฒนธรรม ไดแก แบบแผนความคิด ความเชื่อ คานิยม และสัญลักษณ
ตาง ๆ ที่ยึดถือรวมกัน
• 2.3 การรวมกลุมระดับตาง ๆ เพื่อดําเนินกิจกรรมที่เปนประโยชนตอบุคคล
และสวนรวม
• 2.4 สถาบัน อันไดแก การรวมกลุมตาง ๆ เปนองคกรทําหนาที่สําคัญใหแก
สังคม ทําใหสังคมมีความยั่งยืนมั่นคง อาทิ สถาบันครอบครัว สถาบัน
เศรษฐกิจ สถาบันการเมือง สถาบันศาสนา สถาบันการศึกษา เปนตน
รูปแบบของสังคม
• นักสังคมวิทยา (Durkheim) แบงลักษณะของสังคมตาม
ความสัมพันธกันออกเปน 2 แบบ คือ
• 1. แบบความเปนปกแผนแบบกลไก (mechanical solidarity)
เป น ลั ก ษณะของสั ง คมบุ พ กาล มี ข นาดเล็ ก เศรษฐกิ จ และ
เทคโนโลยี อ ยู ใ นระดั บ ต่ํ า มี ก ารแลกเปลี่ ย น สิ น ค า น อ ย ชุ ม ชน
จําเปนตองมีความเปนปกแผนมาก
• 2. แบบความเปนปกแผนแบบองคกร (organic solidarity) มี
ลักษณะตรงขามกับสังคมแบบแรก เปนลักษณะของสังคมสมัยใหม
มี ข นาดใหญ และซั บ ซ อ นมี เ ทคโนโลยี สู ง คนเกื อ บทั้ ง หมดต า ง
ทํางานเฉพาะอยาง มีการแลกเปลี่ยนสินคาและบริการมาก ทุกคน
ตองพึ่งพากันมากขึ้น
• ความแตกตางของสังคมสองแบบนี้ จึงทําใหกระบวนการระงับขอ
พิพาทมีลักษณะแตกตางกัน สังคมใดมีระดับความซับซอนนอย การ
ระงับขอพิพาทมักจะเนนที่การประนีประนอม สังคมใดที่มีความ
ซับซอนมาก การระงับขอพิพาทมักจะเนนการบังคับตามกฎเกณฑ
อยางเครงครัด
ความหมายของกฎหมาย
• หมายถึงกฎที่สถาบัน หรือผูมีอํานาจสูงสุดในรัฐตราขึ้น หรือที่เกิดขึ้น
จากจารี ต ประเพณี อั น เป น ที่ ย อมรั บ นั บ ถื อ เพื่ อ ใช ใ นการบริ ห าร
ประเทศ เพื่อใชบังคับบุคคลใหปฏิบัติตาม หรือเพื่อกําหนดระเบียบ
แหงความสัมพันธระหวางบุคคล หรือระหวางบุคคลกับรัฐ กฎเกณฑ
คําสั่งหรือขอบังคับ ที่บัญญัติถึงสิทธิและหนาที่ ความสัมพันธระหวาง
กัน เพื่อควบคุมความประพฤติของมนุษยในสังคมนั้น ๆ ซึ่งผูมีอํานาจ
สูงสุด หรือรัฏฐาธิปตยเปนผูบัญญัติขึ้น ผูใดฝาฝน มีสภาพบังคับ
ความหมายของกฎหมาย

• นักปราชญทางกฎหมายมากมาย ตางไดนิยามความหมายของ
กฎหมายแตกตางกันไปในหลายแนวความคิด โดยมีเหตุและ
ผลต า งกั น อย า งไรก็ ต าม การจั ด กลุ ม แนวความคิ ด ดั ง กล า ว
สามารถแบ ง ได เ ป น 2 กลุ ม ใหญ อั น ได แ ก สํ า นั ก ความคิ ด
กฎหมายฝายธรรมชาติ (Natural Law ) และสํานักความคิด
กฎหมายฝายบานเมือง ( Positive Law )
• สํานักความคิดกฎหมายฝายธรรมชาติ (Natural Law ) มีวิวัฒนาการมา
ตั้งแตสมัยกรีก โดยมีแนวความคิดวา กฎหมายมีอยูเองตามธรรมชาติ เกิดขึ้น
เองโดยมนุษย ไมไดทําขึ้น กฎหมายธรรมชาติมีมาดวยกัน 3 ทางคือ
• 1. เกิดจากธรรมชาติโดยตรง เหมือนปรากฎการณอื่น ๆ ของโลก
• 2. เกิดจากพระเจา โดยพระเจาเปนผูกําหนดใหมีขึ้น แนวความคิดนี้มา
จากศาสนาคริสต
• 3. เกิดจากความรูสึกผิดของมนุษยเอง วาสิ่งไหนผิดสิ่งไหนถูก ควรทํา
หรือไมควรทํา
• ความหมายของกฎหมาย ตามแนวความคิดของกฎหมาย
ของสํ า นั ก ความคิ ด กฎหมายฝ า ยบ า นเมื อ ง (Positive
Law) ซึ่ ง จอห น ออสติ น ปราชญ อั ง กฤษได ก ล า วว า
กฎหมายคือคําสั่งบัญชาของรัฐของรัฏฐาธิปติย ซึ่งบังคับ
ใชกฎหมายทั้งหลาย ถาผูใ ดไมป ฏิบัติตามโดยปกติแล ว
ผูนั้นตองรับโทษ
หน้าที่ของกฎหมาย

• 4.1 ควบคุมสังคม
• 4.2 ระงับขอพิพาทระหวางบุคคล
• 4.3 กอใหเกิดความยุติธรรมทางสังคม
กฎหมายมีหน้าที่ในการควบคุมสังคม

• โดยสั ญ ชาติ ญ าณของมนุ ษ ย เหนื อ สิ่ ง อื่ น ใด มนุ ษ ย ต อ งการ


“เสรีภาพ” ที่ปราศจากการหนวงเหนี่ยวกักขัง กดขี่ ขมเหง แต
ถามนุษยใชเสรีภาพจนเกินขอบเขตก็อาจปลวงล้ําเสรีภาพของ
บุคคลอื่นได
กฎหมายมีหน้าที่ในการระงับข้อพิพาท
ระหว่างบุคคล
• ในบางครั้ง การแตกกันทางดานความคิด ความตองการ และการกระทําของ
บุคคลยอมกอใหเกิดความขัดเเยง หรือความไมลงรอยกัน จนกลายเปน”ขอ
พิพาท”ที่ตางฝายตางคิดวา ตนเองเปนฝายถูก กฎหมายจึงมีบทบาทสําคัญ
ในการระงับขอพิพาทตามกระบวนการของการระงับขอพิพาทตามที่ได
บัญญัติไว
• กระบวนการระงับขอพิพาททางกฎหมายนั้นมีหลายแบบ เชน การระงับขอ
พิพาทโดยคูกรณีเอง เชน การเจรจาประนีประนอมยอมความ ซึ่งอาจเปน
กรณีการระงับขอพิพาทโดยการไกลเกลี่ย โดยมีบุคคลที่สามทําหนาที่เปนคน
กลางไกลเกลี่ย หรือระงับขอพิพาทโดยการตัดสินชี้ขาดของผูพิพากษา
กฎหมายก่อให้เกิดความยุติธรรมในสังคม

• ความยุติธรรมในสังคม หรือ ความเปนธรรมในสังคม เปนถอยคํา


ที่ถกเถียงเพื่อหาความหมายที่แทจริงกันอยูเสมอ วาเกิดขึ้นหรือ
มีขึ้นไดหรือไมในสังคม อยางไรถึงเรียกวาความเปนธรรมหรือ
ความยุติธรรมในสังคม เพราะเมื่อสภาพของสังคมมันเปลี่ยนไป
แนวความคิดในเรื่องความเปนธรรมหรือความยุติธรรมในสังคมก็
เปลี่ยนไปไดเชนกัน
ลักษณะทัว่ ไปของกฎหมาย
• 5.1 กฎหมายเปนคําสั่งหรือขอบังคับที่เกิดจากรัฎฐาธิปตยหรือ
ผูมีอํานาจในการปกครองบานเมืองเปนผูบัญญัติขึ้น เพื่อใช
กําหนดควบคุมความประพฤติของบุคคล
• 5.2 กฎหมายเปนคําสั่งหรือขอบังคับที่ใชไดทั่วไปกับบุคคลที่อยู
ในรัฐ
• 5.3 กฎหมายเปนขอบังคับที่ใชไดเสมอไป
• 5.4 กฎหมายเปนขอบังคับที่ตองปฏิบัติตาม
• 5.5 กฎหมายจะตองมีสภาพบังคับ
ลักษณะทัว่ ไปของกฎหมาย
• 5.1 กฎหมายเปนคําสั่งหรือขอบังคับที่เกิดจากรัฎฐาธิปตยหรือ
ผู มี อํ า นาจในการปกครองบ า นเมื อ งเป น ผู บั ญ ญั ติ ขึ้ น เพื่ อ ใช
กําหนดควบคุมความประพฤติของบุคคล
ลักษณะของกฎหมายยอมเปนคําสั่งหรือขอบังคับ หาเปน
เพียงแตเพียงนโยบายของผูปก-ครอง คําประกาศ คําเชิญชวน ไม
ถื อ ว า เป น กฎหมายเพราะไม ไ ด มี ลั ก ษณะเป น การสั่ ง การ หรื อ
บังคับใหบุคคลตองปฏิบัติตาม
• คําวารัฎฐาธิปตย หรือผูมีอํานาจในการปกครองบานเมืองนั้นขอ
อยูกับระบบการปกครองของแตละรัฐวามีรูปแบบการปกครอง
แบบใด
5.2 กฎหมายเปนคําสั่งหรือขอบังคับที่ใชได
ทั่วไปกับบุคคลที่อยูในรัฐ
• โดยหลักการการบังคับใชกฎหมาย กฎหมายยอมบังคับใชไดกับ
บุคคลทุกคนที่อยูในรัฐ ไมวาจะเปนพลเมืองของรัฐ (เรียกวาหลัก
นิติรัฐ)
นิติรัฐ legal state = ทุกคนตองอยูภายใตกฎหมาย
นิติธรรม rule of law = กม.ที่ใชบังคับตองเปนธรรม
กฎหมายของรัฐนั้นเชนเดียวกัน เมื่อบุคคลกระทําความผิด
แลว จะอางไมไดวาไมรูวามีกฎหมายในเรื่องนี้บังคับใช ตามหลัก
กฎหมายทั่วไปวา”ความไมรูกฎหมายไมใชขอแกตัวใหพนผิด”
5.3. กฎหมายเปนขอบังคับที่ใชไดเสมอไป

• เมื่อมีการบัญญัติกฎหมายออกมาบังคับใชแลว กฎหมายยอมใชบังคับได
เสมอไปจนกวาจะถูกยกเลิก หรือมีกฎหมายใหมบัญญัติออกมายกเลิก
กฎหมายเกา สําหรับประเทศไทยเมื่อกฎหมายผานกระบวนการทางนิติ
บัญญัติแลวก็จะประกาสใชในราชกิจจานุเบกษา
• ราชกิจจานุเบกษา ถือเปนสิ่งพิมพประเภทวารสารฉบับแรกของรัฐบาล
ไทย ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาอยูเจาหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลา
โปรดกระหมอมใหจัดพิมพขึ้นเริ่มออกฉบับแรก เมื่อวันจันทรขึ้น 1 ค่ํา
เดือน 5 ปมะเมีย ตรงกับวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2410
5.4 กฎหมายเปนขอบังคับที่ตองปฏิบัติตาม

• การปฏิบัติตามกฎหมาย หมายถึงการที่บุคคลอยูในรัฐ จะตองผูกพันที่จะ


กระทําการหรืองดเวนการกระทําตามเงื่อนไขที่กําหมายบัญญัติ ดังนั้น คํา
วา”ปฏิบัติตาม”จึงอยูในความหมายที่วา”กระทําการหรืองดเวนกระทํา
การ”
• กระทําการ หมายถึง กระทําตามเงื่อนไขที่กฎหมายบัญญัติใหกระทํา
อาจจะตองภายในระยะเวลาที่กําหนด ภายในสถานที่กําหนด หรือกระทํา
ประการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนด
• การงดเวนกระทําการ คือ การไมกระทําการในกรณีที่กฎหมายบัญญัติ
หามมิใหกระทํา ยอมอยูในความหมายของคําวา “ปฏิบัติตาม”
5.5 กฎหมายจะต้องมีสภาพบังคับ

• สภาพบังคับ (SANCTION) แบงออกเปน 2 ประเภท คือ


• 5.5.1 สภาพบังคับในทางอาญา
• 5.5.2 สภาพบังคับในทางแพง
• 1 สภาพบังคับในทางอาญา ที่สําคัญคือโทษ สําหรับประเทศไทย
นั้น โทษทางอาญา ได บั ญ ญั ติ ไ ว ต ามมาตรา 18 แห ง ประมวล
กฎหมายอาญา คื อ ประหารชี วิต จํา คุก กัก ขั ง ปรั บ และริ บ
ทรัพยสิน ซึ่งการลงโทษจะลงโทษสถานใดนั้น ขึ้นอยูกับลักษณะ
ความผิดที่กระทํา
• สภาพบังคับในทางเเพง หากผูใดฝาฝนกฎหมายแพง ซึ่งวาดวย
ความสัมพันธระหวางเอกชนกับเอกชนดวยกัน สภาพบังคับหรือ
วิธีการที่จะลงโทษผูละเมิดจะเเตกตางจากสภาพบังคับในทาง
อาญา
• สภาพบังคับในทางแพง มีหลายวิธีการ แตวิธีที่สําคัญ คือ
การชดใช ค า เสี ย หาย หรื อ การชดใช ค า สิ น ไหมทดแทน
เพื่อเปนการเยียวยาความเสียหาย ใหแกผูไดรับผลกระทบ
จากการที่ ผู นั้ น ได ฝ า ฝ น กฎหมาย เช น กรณี ผิ ด สั ญ ญา
ในทางแพง หรือ การละเมิด
ประโยชนของการศึกษาวิชากฎหมาย

• 6.1 การศึกษาวิชาการทางดานกฎหมาย หรือ “นิติศาสตร” เปน


การศึกษาทางดานสังคมศาสตร ที่เกี่ยวกับการกําหนดบทบาท
และพฤติกรรมของมนุษยในสังคมโดยมาตราการทางกฎหมาย
กลาวไดวา กฎหมายนั้นเขามาเกี่ยวของกับชีวิตของมนุษยตั้งแต
แรกเกิดไปจนถึงวาระสุดทายของชีวิต คือ ตาย และยิ่งไปกวานั้น
หลังจากที่มนุษยตายแลว กฎหมายยังอาจตามไปเกี่ยวของอีก
หากมีผลตอเนื่อง เชน กฎหมายวาดวยมรดก
• 6.2 ทําใหรูถึงสิทธิและหนาที่ของบุคคลตามที่กฎหมายไดบัญญัติ
รับรองไวเพื่อความสงบสุขและความเปนระเบียบเรียบรอยของ
สังคม เชน เมื่อเราเปนลูกจาง ทํางานใหแกนายจาง เราก็ควรรูว า
สิ ท ธิ แ ละหน า ที่ ข องเราตามกฎหมายจ า งแรงงานและตาม
พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน รับรองไวอยางไร
• 6.3 เมื่อเรารูวากฎหมายบัญญัติไวอยางไร เราก็จําตองระมัดระวัง
ตนเอง เพื่อไมใหกระทําความผิดหรือฝาฝนกฎหมาย เชน เมื่อกฎหมาย
บัญญัติใหผูขับขี่รถยนตและผูที่นั่งขางคนขับ จะตองขาดเข็มขัดนิรภัย
• 6.4 ในปจจุบัน การประกอบอาชีพตาง ๆ กลาวไดวา กฎหมายเขามามี
สวนเกี่ยวของเพื่อใหการดําเนินงานเปนไปอยางสะดวกเรียบรอย และ
สอดคลองตองกันกับสภาพทางสังคม การประกอบธุรกิจก็เชนเดียวกัน
• 6.5 ประโยชนในทางการเมืองการปกครอง หากประชาชนไดรับทราบ
วาตนเองมีสิทธิและหนาที่อยางไรตามกฎหมาย และปฏิบัติหนาที่ได
อยางครบถวน
มูลเหตุที่ทาํ ให้เกิดกฎหมาย
• 7.1 ผูมีอํานาจสูงสุดของสังคม ของรัฐ หรือของประเทศ เปนผูออกกฎ
คําสั่งหรือขอบังคับขึ้น
• หรืออาจกลาวอีกประการหนึ่งวา “รัฎฐาธิปตย” ดังนั้น ขึ้นอยูกับวาใคร
เปนผูมีอํานาจสูงสุดในสังคม หรือรัฐใดมีระบอบการปกครองแบบใด
• รู ป แ บ บ ก า ร ป ก ค ร อ ง ใ น ร ะ บ อ บ ส ม บู ร ณ า ญ า สิ ท ธิ ร า ช อั น มี
พระมหากษัตริยเปนประมุขผูทรงไวซึ่งอํานาจสิทธิขาดในการปกครอง
ประเทศ พระบรมราชโองการที่ตรัสจากพระโอษฐหรือเปนลายลักษณ
อักษร ยอมเปนกฎหมายที่ราษฎรทุกคนตองยึดถือปฏิบัติ
• 7.2 ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ถือปฏิบัติกันมาควบคูกับสังคม
• ระเบียบแบบแผนของความประพฤติที่มนุษยปฏิบัติสืบตอกันมา
อาจเปนการเฉพาะกลุมใดกลุมหนึ่ง ทองถิ่นใดทองถิ่นหนึ่ง ซึ่ง
สั ง คมหนึ่ ง อาจมี ข นบธรรมเนี ย มประเพณี แ ตกต า งจาก
ขนบธรรมเนียมปประเพณีของอีกสังคมหนึ่งก็ได
• ขนบธรรมเนี ย มประเพณี อาจมี มู ล เหตุ สํ า คั ญ ที่ ทํ า ให เ กิ ด
กฎหมาย คอมมอนลอว (Common Low) เปนตน แมใน
ประเทศไทยเองก็ ยั ง ยอมรั บ ขนบธรรมเนี ย มประเพณี เ ป น
กฎหมายบานเมือง เชน ในกฎหมายครอบครัว มรดก เปนตน
• 7.3 ความเชื่อในเทพเจา บรรพบุรุษ หรือ คําสั่งสอนของศาสดาในศาสนา
ตาง ๆ ในสังคมบางสังคม หรือสังคมยุคโบราณ ความเชื่อในเทพเจาหรือ
คําสั่งสอนของบรรพบุรุษ ในเวลาตอมาอาจกลายเปนตัวบทกําหมายที่ใช
รวมกันในสังคม
• 7.4 ความยุติธรรมหรือความเปนธรรมทางสังคม ยอมเปนมูลเหตุสําคัญที่
กอใหเกิดกฎหมายได เพราะการอยูรวมกันในสังคม ยอมตองการการ
ปฏิบัติที่เทาเทียมกัน ก็ยอมกอมีใหเกิดแรงผลักดันที่จะเรียกรองใหไดมา
ซึ่งความเปนธรรม และหากไดรับความเห็นชอบจากผูมีอํานาจในการ
ปกครอง ก็ยอมเปนที่มาสําคัญใหมีการยกเลิก แกไข เปลี่ยนแปลง หรือ
บัญญัติกฎหมายใชบังคับตอไป
• 7.5 ความคิดเห็นของนักปราชญและนักวิชาการทางกฎหมาย มี
สวนกอใหเกิดแนวทางหรือทฤษฎีทางกฎหมาย ในการปรับปรุง
แกไข หรือ บัญญัติกฎหมายใหมได
• 7.6 คําพิพากษาของศาลในบางประเทศ เชนประเทศอังกฤษ ที่
ใชระบบกฎหมายจารีตประเพณี (Common Law) คําพิพากษา
ของศาลที่ตัดสินแลว สามารถใชเปนบรรทัดฐานในการตัดสินคดี
ตอไป หากมีขอเท็จจริงและรูปคดีที่เกิดขึ้นเหมือนกันได ดังที่
เรียกวา Case Law หรือ ระบบ Judge-made Law
• ซึ่งหมายความวาเปนกฎหมายที่เกิดจากคําพิพากษาของศาลที่ได
ตัดสินมาแลว หรือ กฎหมายที่เกิดจากการที่ผูพิพากษาไดตัดสิน
และสามารถใชเปนบรรดฐานได แตสําหรับในประเทศไทย ที่ใช
กฎหมายแบบประมวลกฎหมาย (Civil Law System) คําพิพากษา
ของศาลไมถือวาเปนกฎหมาย หากมีการกระทําที่ฝาฝนกฎหมาย
เกิดขึ้น ถาการกระทํานั้นเขาตามลักษณะองคประกอบความผิด
ตามมาตรานั้น แตคําพิพากษาในคดีกอนๆ ก็อาจมีสวนชวยในการ
ตีความของศาลในสมัยหลังได
กฎหมายกับจารี ตประเพณี
• ขอบังคับหรือขอปฏิบัติที่มีลักษณะคลายคลึงกับกฎหมายอีกประการหนึ่ง
คือ จารีตประเพณี ซึ่งหมายถึง สิ่งที่มนุษยปฏิบัติตอเนื่องกันมาในสังคม
จารีตประเพณีอาจแตกตางกันไดตามกาละเทศะ แมชนชาติเดียวกันก็
อาจมีจารีตประเพณีแตกตางกันเพราะอยูคนละแหง จารีตประเพณีใน
สังคมหนึ่งอาจจะไมเหมาะสมหรือไมถูกตองในอีกสังคมหนึ่งก็ได ความ
คลายคลึงกันของจารีตประเพณี กับกฎหมาย ก็คือ การที่คนในสังคมตอง
ปฏิบัติตาม สวนความแตกตางที่สําคัญก็คือ จารีตประเพณีนั้น หากไม
ปฏิบัติตาม ก็ไมตองไดรับโทษตามที่กฎหมายบัญญัติไว เพียงแตเปนการ
ไดรับการลงโทษจากสังคม
• จารีตประเพณี หากไดรับการยอมรับในสังคมมาโดยตลอด
และเปน ที่ยอมรับนับถือกันโดยทั่วไป ก็อาจเปนกฎหมาย
ที่ใชบังคับกันไดในสังคมในที่สุด เชน จารีตประเพณีไทย
เกี่ยวกับ การหมั้น การใหสินสอด ของหมั้น
• กฎหมายไทยก็ยังยอมรับใหใชจารีตประเพณีทองถิ่นเปนบรรทัด
ฐานในการตัดสินคดีได หากปรากฎวาศาลไมสามารถหาตัวบท
กฎหมายใดมาปรับใชแกคดีได ดังที่บัญญัติไวในมาตรา 4 วรรค
2 แห ง ประมวลกฎหมายเพ ง และพาณิ ช ย ว า “ เมื่ อ ไม มี บ ท
กฎหมายที่ จ ะยกมาปรั บ คดี ไ ด ให วิ นิ จ ฉั ย คดี นั้ น ตามจารี ต
ประเพณี ท อ งถิ่ น ถ า ไม มี จ ารี ต ประเพณี เ ช น ว า นั้ น ให วิ นิ จ ฉั ย
เทียบบทกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง และถาบทกฎหมายเชนนั้น
ก็ไมมีดวย ใหวินิจฉัยตามหลักกฎหมายทั่วไป ”
กฎหมายกับศาสนา

• ศาสนา คือ ขอกําหนดเพื่อใหมนุษยพระพฤติคุณงามความดี ยอมปฏิบัติ


ตามคําสั่งสอนของศาสดาที่ใหกระทําหรืองดเวนการกระทําใด ๆ เพื่อ
หวังความสุขที่จะไดในอนาคต ศาสนาจึงเปนเรื่องของความเชื่อ
• ความแตกตางระหวางกฎหมายกับศาสนาคือ กฎหมายจะมีสภาพบังคับ
ทางแพงหรือทางอาญาแลวแตกรณี สวนศาสนานั้น สภาพบังคับคือผล
กรรมที่กระทําในโลกนี้ จะปรากฏผลในโลกหนา
• บทบัญญัติในศสานาอิสลาม ก็จะเปนกฎหมายลงโทษผูฝาฝนหากไดมี
การกระทําฝาฝนขอกําหนดตามบทบัญญัติของศาสนาอิสลาม
กฎหมายกับศีลธรรม
• ศีลธรรม เปนความรูสึกนึกคิดของมนุษยวาการกระทํา
อยางไรเปนการกระทําที่ชอบ และการกระทําอยางไรเปน
การกระทําที่ผิด ความคลายคลึงกันของกฎหมายและ
ศีลธรรมนั้น ก็คือการประพฤติปฏิบัติตาม
• การกระทํา หากกระทําผิดศีลธรรม ก็อาจเปนเรื่องผิดกฎหมาย
ดวย เชน ในกรณีที่เปนความผิดในตัวเอง ( Mala Inse ) คือ
ความผิดที่โดยลักษณะหรือโดยเนื้อแทแหงการกระทําแลวยอม
เปนความผิดอยางเห็นไดชัด ความผิดประเภทนี้ เชน การฆาคน
ตาย การลักทรัพย ซึ่งนอกจากผิดศีลธรรมแลว ยังผิดกฎหมาย
อีกดวย แตความผิดที่กฎหมายบัญญัติไววาเปน ความผิด ( Mala
Prohibita) ซึ่งโดยเนื้อแทของการกระทําแลว ไมไดเปนความผิด
แตเปนเพราะกฎหมายบัญญัติใหเปนความผิด
โครงร่ างของกฎหมาย
• โครงรางของกฎหมาย ยอมประกอบไปดวย 2 สวนดวยกัน สวนแรก คือ
หลักการของกฎหมาย (Principle) สวนที่สอง คือ เหตุผลหรือ
เจตนารมยของกฎหมาย (Rationale)
• 11.1 หลักการของกฎหมาย หมายถึง สาระสําคัญหรือใจความของ
กฎหมายทั้งฉบับ คือสิ่งที่ปรากฏเปนตัวบทกฎหมาย ที่ตองการบังคับใช
แกประชาชน หรือตองการใหประชาชนประพฤติปฏิบัติ
• 11.2 เหตุผลของกฎหมาย หรือ เจตนารมยของกฎหมาย หมายถึง สิ่งที่
อยูเบื้องหลังตัวบท กฎหมายหรือหลักการของกฎหมาย
การตีความกฎหมาย
• 12.1 การตีความตามตัวอักษร เปนการตีความตามถอยคําสํานวนในตัว
บทกฎหมาย บทกฎหมายใดที่มีความชัดเจนแนนอน
1. ในกรณี ที่ บ ทกฎหมายใช ภ าษาธรรมดา ก็ ต อ งเข า ใจว า มี
ความหมายที่เขาใจอยูตามธรรมดาของถอยคํานั้นๆ
2. ในกรณีที่บทกฎหมายใชภาษาเทคนิค หรือ ภาษาทางวิชาการ ก็
ตองเขาใจความหมายตามที่เขาใจกันในทางเทคนิคในทางวิชาการนั้นๆ
3. ในกรณี ที่ บ ทกฎหมายประสงค ที่ จ ะให ถ อ ยคํ า บางถ อ ยคํ า มี
ความหมายเปนพิเศษไปกวาที่เขาใจกันอยูในภาษาธรรมดา หรือภาษา
เทคนิค หรือในทางวิชาการกฎหมายจะกําหนดบทวิเคราะหศัพทหรือบท
นิยาม
•12.2 การตีความตามเจตนารมณ การตีความตาม
เจตนารมณนี้สําคัญมากเพราะกฎหมายตาง ๆ มี
ความมุงหมายหรือเจตนารมณทไี่ มเหมือนกัน

You might also like