แผนที่ 11 การจัดหมู่และการแก้ปัญหาการจัดหมู่ - 3คาบ

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 17

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2561


ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4
รหัสวิชา ค 31102 ชื่อวิชาคณิตศาสตร์ 2
หน่วยการเรียนรู้ หลักการนับเบื้องต้น
และความน่า
จะเป็ น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 เรื่อง การจัดหมู่
เวลา 3 คาบ
1. มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็ น
และนำไปใช้
ตัวชี้วัด
1. เข้าใจและใช้หลักการบวก และการคูณ การเรียงสับ
เปลี่ยน และการจัดหมู่ในการแก้ปัญหา

2. คำถามสำคัญ
การจัดหมู่มีลักษณะอย่างไร และนำมาใช้ในการแก้โจทย์
ปัญหาได้อย่างไร

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้(K) : นักเรียน
1. อธิบายลักษณะของการจัดหมู่ได้
ด้านทักษะ/กระบวนการ(P) : นักเรียนสามารถ
1. นำความรู้เรื่องการจัดหมู่มาใช้ในการแก้ปัญหาใน
สถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2. ใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์เพื่อสื่อความหมายถึงการ
จัดหมู่ได้
ด้านคุณลักษณะ(A) : นักเรียน
1. มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน
2. มีระเบียบวินัย
สมรรถนะสำคัญ
1. ความสามารถในการคิด
2. ความสามารถในการสื่อสาร

4. สาระสำคัญ
การจัดหมู่ หมายถึง การนำสิ่งของที่มีความแตกต่างกัน
ทั้งหมดหรือเพียงบางส่วนมาจัดหมู่ โดยไม่ถือตำแหน่งหรือลำดับ
ก่อนหลังเป็ นสำคัญ
จำนวนวิธีจัดหมู่ของสิ่งของ n สิ่ง ซึ่งแตกต่างกันทั้งหมด ให้มี
หมู่ละ r สิ่ง (r<n หรือ r=n)

Cn,r =

5. สาระการเรียนรู้
การจัดหมู่ หมายถึง การนำสิ่งของที่มีความแตกต่างกัน
ทั้งหมดหรือเพียงบางส่วนมาจัดหมู่ โดยไม่ถือตำแหน่งหรือลำดับ
ก่อนหลังเป็ นสำคัญ
จำนวนวิธีจัดหมู่ของสิ่งของ n สิ่ง ซึ่งแตกต่างกันทั้งหมด ให้มี
หมู่ละ r สิ่ง (r<n หรือ r=n)

Cn,r =

ตัวอย่างที่ 1 มี ดินสอ 12 แท่ง ซึ่งมีสีแตกต่างกันทั้งหมด ต้องการ


หยิบทีละ 5 แท่ง จงหาวิธีที่แต่ละครั้งในการหยิบมา จะต้องมีดินสอสี
เขียวอยู่ด้วยเสมอ

วิธีทำ C12,5 =

C12,5 =

C12,5 =
= 11 x 9 x 8
C12,5 = 792
ตัวอย่างที่ 2 เด็กชายอันดามีหนังสือการ์ตูน 7 เล่ม เด็กหญิงฟ้ าใสมี
หนังสือการ์ตูน 9 เล่ม เด็กทั้งสองจะมีวิธีการแลกหนังสือกันคนละ 2
เล่ม ได้กี่วิธี
วิธีทำ เด็กชายอันดามีหนังสือการ์ตูน 7 เล่ม = C7,2
เด็กหญิงฟ้าใสมีหนังสือการ์ตูน 9 เล่ม = C9,2
เด็กทั้งสองจะมีวิธีการแลกหนังสือกันคนละ 2 เล่ม ได้
C7,2 x C9,2

= x

= x

= x

=
=9x2x7x6
C7,2 x C9,2 = 756
เด็กทั้งสองจะมีวิธีการแลกหนังสือกันคนละ 2 เล่ม ได้ 756 วิธี

ตัวอย่างที่ 3 ก้อยมีเสื้อสีแดงแบบต่าง ๆ กันอยู่ 6 ตัว และเสื้อสีขาว


แบบต่างกันอีก 4 ตัว จะมีวิธีกี่วิธีที่ก้อยจะหยิบเสื้อมา 5 ตัวที่มีสีคละ
กัน โดยหยิบได้เสื้อสีแดงมากกว่าสีขาว
วิธีทำ
กรณี 1 หยิบได้เสื้อสีแดง 4 ตัว และสีขาว 1 ตัว
ขั้นที่ 1 หยิบเสื้อสีแดงมา 4 ตัว จากทั้งหมด 6 ตัว ทำได้ 6! /
(6-4)! . 4! = 15 วิธี
ขั้นที่ 2 หยิบเสื้อสีขาวมา 1 ตัว จากทั้งหมด 4 ตัว ทำได้ 4! /
(4-1)! . 1! = 4 วิธี
แสดงว่า กรณีนี้ สามารถหยิบเสื้อได้เท่ากับ 15 . 4 = 60
วิธี
กรณี 2 หยิบได้เสื้อสีแดง 3 ตัว และสีขาว 2 ตัว
ขั้นที่ 1 หยิบเสื้อสีแดงมา 3 ตัว จากทั้งหมด 6 ตัว ทำได้ 6! /
(6-3)! . 3! = 20 วิธี
ขั้นที่ 2 หยิบเสื้อสีขาวมา 1 ตัว จากทั้งหมด 4 ตัว ทำได้ 4! /
(4-2)! . 2! = 6 วิธี
แสดงว่า กรณีนี้ สามารถหยิบเสื้อได้เท่ากับ 20 . 6 = 120
วิธี
ดังนั้น จำนวนวิธีที่จะหยิบได้เสื้อสีแดงมากกว่าเสื้อสีขาว
ทั้งหมด = 60 + 120 = 180 วิธี

ตัวอย่างที่ 4 ชาย 6 คน และหญิง 6 คน ในจำนวนนี้มีนายสมบัติ และ


นางสาวสมศรี รวมอยู่ด้วย ถ้าให้ผู้ชายไปจับคู่กับผู้หญิง จะมีวิธีการ
จับคู่กี่วิธี เมื่อ
1. ไม่มีเงื่อนไขใดเพิ่มเติม
วิธีทำ จำนวนวิธีการจับคู่ = จำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยน
ของชาย 6 คน
(หรือของหญิง 6 คน)
= 6!
= 720 วิธี

2. นายสมบัติจับคู่กับนางสาวสมศรี
วิธีทำ จำนวนวิธีของการจับคู่โดยสมบัติจับคู่กับสมศรี =
1×5!
= 120 วิธี
3. นายสมบัติไม่จับคู่กับนางสาวสมศรี
วิธีทำ จำนวนวิธีของการจับคู่โดยสมบัติไม่จับคู่กับสมศรี = 5×
5!
=
600 วิธี (หรือ 720 – 120 =
600 วิธี)
ตัวอย่างที่ 5 กำหนดจุด 10 จุด บนเส้นรอบวงของวงกลมวงหนึ่ง ถ้า
ต้องการลากส่วนของเส้นตรงเชื่อมจุด 10 จุดนี้จะมีส่วนของเส้นตรงที่่
เชื่อมจุดเหล่านี้มากที่สุดกี่เส้น
วิธีทำ ข้อนี้ใช้การจัดหมู่ เพราะว่า ถ้ามีจุด A และ B อยู่บน
วงกลม เราลากเส้นเชื่อม AB หรือ BA มันก็คือเส้นเชื่อมอันเดียวกัน
อย่าหลงไปใช้การเรียงสับเปลี่ยนเด็ดขาด เขาถามว่ามีทั้งหมดกี่เส้น
มันจะเกิดเส้นเชื่อมได้ต้องเลือกจุดสองจุดในวงกลมมาแล้วลากเส้น
เชื่อมกัน
ดังข้อนี้ คือ หา C10,2 มีสิ่งของคือจุดต่างกัน 10 จุดเลือกมา
คราวละก็คือเลือกจุดมาคราวละ 2 จุดเพื่อสร้างเส้นเชื่อม

C10,2 =

=
C10,2 = 45
ดังนั้น ถ้าต้องการลากส่วนของเส้นตรงเชื่อมจุด 10 จุดนี้จะมีส่วนของ
เส้นตรงที่่เชื่อมจุดเหล่านี้มากที่สุด 45 เส้น
ตัวอย่างที่ 6 ในการเลือกกรรมการ 3 คน จากสมาชิกสโมสร 20 คน
ซึ่งมีสมชายเป็ นสมาชิกสโมสรแห่งนี้ จะมีวิธีคัดเลือกได้กี่วิธี โดยที่
1. สมชายต้องได้รับการคัดเลือกให้เป็ นกรรมการ
วิธีทำ สมชายต้องได้รับการคัดเลือกให้เป็ นกรรมการ
ข้อนี้เขาบอกว่าสมชายต้องรับเลือกเป็ นกรรมการ ก็คือ
พูดง่ายๆตอนนี้สมชายเป็ นกรรมการไปแล้ว ดังนั้นจำนวนวิธีใน
คัดเลือกในข้อนี้ คือ C19,2 สมชายเป็ นกรรมการแล้วเหลือแค่ให้
เลือก 19 คน และเลือกกรรมการได้เพียง 2 คนเพราะกรรมการ
อีกหนึ่งคนคือสมชาย

C19,2 =

C19,2 =

C19,2 =
C19,2 = 19 x 9 = 171 วิธี
ดังนั้น สมชายต้องได้รับการคัดเลือกให้เป็ นกรรมการ 171 วิธี
2. ใน 20 คน มี 2 คน เป็ นสามีภรรยากัน จะถูกเลือกเป็ นกรรมการทั้ง
2 คนไม่ได้
วิธีทำ ใน 20 คน มี 2 คน เป็ นสามีภรรยากัน จะถูกเลือกเป็ น
กรรมการทั้ง 2 คนไม่ได้
กรณีที่ 1 สามีเป็ นกรรมการ แสดงว่าภรรยาต้องไม่เป็ น
กรรมการ
สามีได้เป็ นกรรมการแล้ว 1 คนต้องเลือกอีก 2 คนมาเป็ น
กรรมการให้ครบ 3 คนในสองคนที่เลือกมาต้องไม่เลือก
ภรรยา
จะได้จำนวนวิธี C18,2 = 153 วิธี
ที่ต้องเหลือ 18 เพราะต้องลบออก 2 คนคือลบสามีออก
เพราะสามีเป็ นกรรมการแล้ว และลบภรรยาออกด้วยเพราะ
สามีเป็ นกรรมการภรรยาต้องไม่เป็ นกรรมการตามเงื่อนไข
โจทย์
กรณีที่ 2 ภรรยาเป็ นกรรมการ แสดงว่าสามีไม่เป็ นกรรมการ ก็
จะได้คำตอบเหมือนกับกรณีที่ 1 คือ 153 วิธี
กรณีที่ 3 ทั้งสามีและภรรยาไม่เป็ นกรรมการจำนวนวิธี
คือ C18,3 = 816 วิธี
ดังนั้นจำนวนวิธีทั้งหมด คือ 153+153+816 = 1,112
วิธี
6. ภาระงาน/ชิ้นงาน
การหาโจทย์ปัญหาเรื่องการจัดหมู่ จากข้อสอบเข้า
มหาวิทยาลัย/ข้อสอบ O-NET

7. การวัดและประเมินผล
สิ่งที่ต้องการ
วิธีการ เครื่องมือที่
วัดและ เกณฑ์การประเมิน
ประเมิน ใช้
ประเมิน
1. ความรู้ (K)
1. อธิบาย การสังเกต แบบสังเกต ผ่าน หมายถึง
ลักษณะของ พฤติกรรม พฤติกรรม นักเรียน อธิบาย
การจัดหมู่ได้ ลักษณะของการ
จัดหมู่ได้ถูกต้อง
ไม่ผ่าน หมายถึง
อธิบายลักษณะ
สิ่งที่ต้องการ
วิธีการ เครื่องมือที่
วัดและ เกณฑ์การประเมิน
ประเมิน ใช้
ประเมิน
ของการจัดหมู่ได้
ไม่ถูกต้อง
2. ทักษะ/กระบวนการ (P)
1. นำความรู้ การทำแบบ แบบฝึกหัด นักเรียนสามารถนำ
เรื่องการจัดหมู่ ฝึกหัดใน ความรู้เรื่องการจัดหมู่
มาใช้ในการแก้ ชั้นเรียน มาใช้ในการแก้ปัญหา
ปัญหาใน ในสถานการณ์ต่าง ๆ
สถานการณ์ ได้ถูกต้องไม่น้อยกว่า
ต่าง ๆ ได้ ร้อยละ 60 ของ
จำนวนแบบฝึกหัด
ทั้งหมด
2. ใช้ การทำแบบ แบบฝึกหัด นักเรียนสามารถใช้
สัญลักษณ์ทาง ฝึกหัดใน สัญลักษณ์ทาง
คณิตศาสตร์ ชั้นเรียน คณิตศาสตร์เพื่อสื่อ
เพื่อสื่อความ ความหมายถึงการจัด
หมายถึงการ หมู่ได้ถูกต้อง
จัดหมู่ได้

3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
1. นักเรียนมี การสังเกต แบบสังเกต นักเรียนมีส่วนร่วมใน
ส่วนร่วมใน พฤติกรรม พฤติกรรม กิจกรรมการเรียนอยู่
กิจกรรมการ การมีส่วน ในระดับ ดี ขึ้นไป
เรียน ร่วมในชั้น
เรียน
2. มีระเบียบ การสังเกต แบบสังเกต นักเรียนมีระเบียบวินัย
วินัย พฤติกรรม พฤติกรรม อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป
ในชั้นเรียน
4. สมรรถนะสำคัญ
1. ความ การสังเกต แบบสังเกต นักเรียน 80% ของชั้น
สามารถในการ พฤติกรรม พฤติกรรม เรียนมีความสามารถ
คิด ในการคิด
สิ่งที่ต้องการ
วิธีการ เครื่องมือที่
วัดและ เกณฑ์การประเมิน
ประเมิน ใช้
ประเมิน
2. ความ การสังเกต แบบสังเกต นักเรียน 80% ของชั้น
สามารถในการ พฤติกรรม พฤติกรรม เรียนมีความสามารถ
สื่อสาร การสื่อสาร ในการสื่อสาร
กับครูในชั้น
เรียน

8. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
คาบที่ 1 - 2
ขั้นนำ
1. ครูนำเข้าสู่บทเรียน โดยการทบทวนนิยามของการเรียง
ของสับเปลี่ยนที่แตกต่างกันทั้งหมด ดังนี้
วิธีการเรียงสับเปลี่ยน (Permutation) คือการเรียง
สิ่งของโดยคำนึงถึงตำแหน่งของสิ่งขอแต่ละสิ่งเป็ นที่
สำ คั ญ ที่สุด โ ด ย จ ะ ใ ช้บ ท นิย า ม ที่ว่า "ถ้า n เ ป็ น
จำนวนเต็มบวก จะใช้แฟกทอเรียล (factorial) n โดย
เป็ นผลคูณตั้งแต่ 1 ถึง n เขียนเเทนด้วย n!"
แฟกทอเรียล
เมื่อ n เป็ นจำนวนเต็มใด ๆ แล้ว n! = 1 x 2 x 3 x
4 x … x n-1 x n
วิธีเรียงสับเปลี่ยนของเป็ นเส้นตรง
1. มีของ n สิ่งที่ต่างกันนำมาเรียงสับเปลี่ยนทั้งหมด n
สิ่ง
วิธีเรียงสับเปลี่ยน = n!
ขั้นสอน
2. มีของ n สิ่งที่ต่างกันนำมาเรียงสับเปลี่ยนทั้งหมด r
1.สิ่งอธิบายนิยามของการจัดหมู่
(r ≤ n) (Combination) ดังนี้
วิธีเรียงสับเปลี่ยน = Pn,r
การจัดหมู่ หมายถึง การนำสิ่งของที่มีความแตกต่าง
กันทั้งหมดหรือเพียงบางส่วนมาจัดหมู่ โดยไม่ถือ
Pn,r =
ตำแหน่งหรือลำดับก่อนหลังเป็ นสำคัญ
จำนวนวิธีจัดหมู่ของสิ่งของ n สิ่ง ซึ่งแตกต่างกัน

ทั้งหมด ให้มีหมู่ละ r สิ่ง (r<n หรือ r=n) Cn,r =


2. ย ก ตั ว อ ย่ า ง ที่ 1 บ น ก ร ะ ด า น โ ด ย ใ ช้ Microsoft
PowerPoint “มี ดิน ส อ 12 แ ท่ ง ซึ่ง มีสีแ ต ก ต่ า ง กั น
ทั้งหมด ต้องการหยิบทีละ 5 แท่ง จงหาวิธีที่แต่ละครั้งใน
การหยิบมา จะต้องมีดินสอสีเขียวอยู่ด้วยเสมอ” จากนั้น
ให้เวลานักเรียนใช้นิยามของการจัดหมู่ทำด้วยตนเอง
3. ครูสาธิตประกอบการอธิบายเพื่อเฉลยตัวอย่างที่ 1
4. ย ก ตั ว อ ย่ า ง ที่ 2 บ น ก ร ะ ด า น โ ด ย ใ ช้ Microsoft
PowerPoint “เด็กชายอันดามีหนังสือการ์ตูน 7 เล่ม เด็ก
หญิงฟ้าใสมีหนังสือการ์ตูน 9 เล่ม เด็กทั้งสองจะมีวิธีการ
แลกหนังสือกันคนละ 2 เล่ม ได้กี่วิธี” จากนั้นให้เวลา
นักเรียนใช้นิยามของการจัดหมู่ทำด้วยตนเอง
5. สุ่มนักเรียน 1 คน เฉลยบนกระดาน จากนั้นครูยกตัวอย่าง
ที่ 2 บนกระดาน และใช้กระบวนการสาธิตประกอบการ
อธิบาย
6. ย ก ตั ว อ ย่ า ง ที่ 3 บ น ก ร ะ ด า น โ ด ย ใ ช้ Microsoft
PowerPoint “ก้อยมีเสื้อสีแดงแบบต่าง ๆ กันอยู่ 6 ตัว
และเสื้อสีขาวแบบต่างกันอีก 4 ตัว จะมีวิธีกี่วิธีที่ก้อยจะ
หยิบเสื้อมา 5 ตัวที่มีสีคละกัน โดยหยิบได้เสื้อสีแดง
มากกว่าสีขาว” ครูใช้กระบวนคำถามนำเพื่อให้นักเรียนนำ
ไปสู่กระบวนการแก้ปัญหา
7. ให้เวลานักเรียนใช้นิยามของการเรียงสับเปลี่ยนทำด้วย
ตนเอง จากนั้น สุ่มนักเรียน 1 คน เฉลยบนกระดาน
8. ยกตัวอย่างที่ 4.1 บนกระดาน โดยใช้ Microsoft
PowerPoint “ชาย 6 คน และหญิง 6 คน ในจำนวนนี้มี
นายสมบัติ และนางสาวสมศรี รวมอยู่ด้วย ถ้าให้ผู้ชายไป
จับคู่กับผู้หญิง จะมีวิธีการจับคู่กี่วิธี เมื่อ ไม่มีเงื่อนไขเพิ่ม
เติม” ครูใช้กระบวนการตั้งคำถาม ประกอบการอธิบาย
เพื่อแนะให้นักเรียนเกิดกระบวนการแก้ปัญหาในข้อ 4.1
9. ยกตัวอย่างที่ 4.2 โดยใช้ Microsoft PowerPoint
“ชาย 6 คน และหญิง 6 คน ในจำนวนนี้มีนายสมบัติ และ
นางสาวสมศรี รวมอยู่ด้วย ถ้าให้ผู้ชายไปจับคู่กับผู้
หญิง จะมีวิธีการจับคู่กี่วิธีเมื่อสมบัติต้องจับคู่กับสมศรี”
ครูใช้กระบวนการตั้งคำถาม ประกอบการอธิบายเพื่อแนะ
ให้นักเรียนเกิดกระบวนการแก้ปัญหาในข้อ 4.2
10. ย ก ตั ว อ ย่า ง ที่ 4.3 บ น ก ร ะ ด า น โ ด ย ใ ช้ Microsoft
PowerPoint “เมื่อเงื่อนไข คือ นายสมบัติไม่จั บ คู่กับ
นางสาวสมศรี” จากนั้นใช้กระบวนการสอนแบบตั้งคำถาม
เพื่อให้เกิดกระบวนการคิดเพื่อแก้ปัญหา
11. ยกตัวอย่างที่ 5 – 6 บนกระดาน โดยใช้ Microsoft
PowerPoint จากนั้นใช้กระบวนการสอนแบบตั้งคำถาม
เพื่อให้เกิดกระบวนการคิดเพื่อแก้ปัญหา

ขั้นสรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปลักษณะของการจัดหมู่
2. มอบหมายให้นักเรียนหาโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการจัดหมู่
โดยเป็ นข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / O-NET เป็ นต้น

คาบที่ 3
1. ให้นักเรียนอาสาสมัครนำเสนอโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการ
จัดหมู่โดยใช้เครื่องฉายข้ามศีรษะ
2. ให้เวลานักเรียนในชั้นเรียนคนอื่น ๆ ใช้ความรู้ที่เรียนมานำ
มาแก้ปัญหาโจทย์ดังกล่าว
3. ครูเดินสำรวจกระบวนการคิดของนักเรียนรายบุคคล
4. ให้นักเรียนเจ้าของโจทย์ปัญหาดังกล่าว เป็ นผู้อธิบาย
เฉลย
5. ทำกระบวนการสอนข้อ 1 – 4 สำหรับโจทย์ปัญหาที่
นักเรียนมานำเสนอ จำนวน 5 – 6 ข้อ หรือ จนกว่าจะ
หมดคาบเรียน

9. สื่อ / แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 4
2. Microsoft PowerPoint
3. ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย/O-NET
4. เครื่องฉายข้ามศีรษะ
10. บันทึกหลังสอน
ผลการจัดการเรียนรู้
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
ปัญหา อุปสรรค
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………

ลงชื่อ...............................................................ครูผู้สอน
(นางสาววรเนตร พิชิตเกริกพล)
ตำแหน่งครู วิทยฐานะครูชำนาญ
การพิเศษ

แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์

พฤติกรรมที่สังเกต
ด้านความรู้
1. นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะของการจัดหมู่ได้
ด้านคุณลักษณะของนักเรียน
1. มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน
2. มีระเบียบวินัย
ด้านสมรรถนะสำคัญ
1. ความสามารถในการคิด
2. ความสามารถในการสื่อสาร

เกณฑ์การประเมินผล :
ด้านความรู้ 1 คะแนน หมายถึง อธิบายถูกต้อง
0 คะแนน หมายถึง อธิบายไม่
ได้/อธิบายผิด
ด้านที่คุณลักษณะของนักเรียน 2 คะแนน หมายถึง แสดง
พฤติกรรมเป็ นประจำ
1 คะแนน หมายถึง แสดงพฤติกรรม
เป็ นบางครั้ง
0 คะแนน หมายถึง ไม่แสดงพฤติกรรม
เลย

ด้านสมรรถนะสำคัญ 2 คะแนน หมายถึง แสดง


พฤติกรรมเป็ นประจำ
1 คะแนน หมายถึง แสดงพฤติกรรม
เป็ นบางครั้ง
0 คะแนน หมายถึง ไม่แสดงพฤติกรรม
เลย

แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์
ความรู้ คุณลักษณะของ สมรรถนะสำคัญ
นักเรียน
อธิบาย มีส่วน ความ ความ
การจัด ร่วม สามารถ สามารถ
มี
ชื่อ - นามสกุล หมู่ ใน ในการ ในการ
ระเบียบ
กิจกรรม คิด สื่อสาร
วินัย
การ
เรียน
1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0
1.
2.
3.
4.
5.
ความรู้ คุณลักษณะของ สมรรถนะสำคัญ
นักเรียน
อธิบาย มีส่วน ความ ความ
การจัด ร่วม สามารถ สามารถ
มี
ชื่อ - นามสกุล หมู่ ใน ในการ ในการ
ระเบียบ
กิจกรรม คิด สื่อสาร
วินัย
การ
เรียน
1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
14.
15.
16.
17.
18.
19.
20.
21.
22.
23.
24.
25.
26.
27.
28.
29.
30.
31.
ความรู้ คุณลักษณะของ สมรรถนะสำคัญ
นักเรียน
อธิบาย มีส่วน ความ ความ
การจัด ร่วม สามารถ สามารถ
มี
ชื่อ - นามสกุล หมู่ ใน ในการ ในการ
ระเบียบ
กิจกรรม คิด สื่อสาร
วินัย
การ
เรียน
1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0
32.
33.
34.
35.
36.
37.
38.
39.
40.

แบบสรุปการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์
ความรู้ คุณลักษณะของ สมรรถนะสำคัญ
นักเรียน
ชื่อ - นามสกุล
รวม รวม รวม
สรุปผล สรุปผล สรุปผล
คะแนน คะแนน คะแนน
1.
2.
3.
4.
ความรู้ คุณลักษณะของ สมรรถนะสำคัญ
นักเรียน
ชื่อ - นามสกุล
รวม รวม รวม
สรุปผล สรุปผล สรุปผล
คะแนน คะแนน คะแนน
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
14.
15.
16.
17.
18.
19.
20.
21.
22.
23.
24.
25.
26.
27.
28.
29.
30.
31.
32.
33.
34.
35.
ความรู้ คุณลักษณะของ สมรรถนะสำคัญ
นักเรียน
ชื่อ - นามสกุล
รวม รวม รวม
สรุปผล สรุปผล สรุปผล
คะแนน คะแนน คะแนน
36.
37.
38.
39.
40.

หมายเหตุ : ด้านความรู้ ผ่าน หมายถึง ได้คะแนนรวม


ตั้งแต่ 1 คะแนนขึ้นไป
ไม่ผ่าน หมายถึง ได้คะแนนรวมต่ำ
กว่า 0 คะแนน

ด้านคุณลักษณะของนักเรียน
ดีมาก หมายถึง ได้คะแนนรวม 3 –
4 คะแนน
ดี หมายถึง ได้คะแนนรวม 2 คะแนน
ปรับปรุง หมายถึง ได้คะแนนต่ำกว่า 2
คะแนน
ด้านสมรรถนะที่สำคัญ
ดีมาก หมายถึง ได้คะแนนรวม 3 –
4 คะแนน
ดี หมายถึง ได้คะแนนรวม 2 คะแนน
ปรับปรุง หมายถึง ได้คะแนนต่ำกว่า 2
คะแนน

You might also like