Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 19

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2561


ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4
รหัสวิชา ค 31102 ชื่อวิชา คณิตศาสตร์ 2 หน่วย
การเรียนรู้ หลักการนับเบื้องต้น
และความน่า
จะเป็ น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 เรื่อง ความน่าจะเป็ น
เวลา 3 คาบ
1. มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็ น
และนำไปใช้
ตัวชี้วัด
1. หาความน่าจะเป็ นและนำความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ น
ไปใช้

2. คำถามสำคัญ
ความน่าจะเป็ นมีลักษณะอย่างไร นำไปใช้ในการแก้ปัญหา
สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างไรบ้าง

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้(K) : นักเรียน
1. อธิบายลักษณะความน่าจะเป็ นได้
ด้านทักษะ/กระบวนการ(P) : นักเรียนสามารถ
1. นำความรู้เรื่องความน่าจะเป็ นมาใช้ในการแก้ปัญหาใน
สถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2. ใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์เพื่อสื่อความหมายถึงความ
น่าจะเป็ นได้
ด้านคุณลักษณะ(A) : นักเรียน
1. มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน
2. มีระเบียบวินัย
สมรรถนะสำคัญ
1. ความสามารถในการคิด
2. ความสามารถในการสื่อสาร
4. สาระสำคัญ
ความน่าจะเป็ น (Probability)
ความน่าจะเป็ น คือ จำนวนที่แสดงให้ทราบว่าเหตุการณ์ใด
เหตุการณ์หนึ่ง มี โอกาสเกิดขึ้นมากหรือน้อยเพียงใด สิ่งที่จำเป็ น
ต้องทราบและทำความเข้าใจคือ
1. แซมเปิลสเปซ (Sample Space )
2. แซมเปิลพ้อยท์ (Sample Point)
3. เหตุการณ์ (event)
4. การทดลองสุ่ม (Random Experiment)

5. สาระการเรียนรู้
ความน่าจะเป็ น (Probability)
ความน่าจะเป็ น คือ จำนวนที่แสดงให้ทราบว่าเหตุการณ์ใด
เหตุการณ์หนึ่ง มี โอกาสเกิดขึ้นมากหรือน้อยเพียงใด สิ่งที่จำเป็ น
ต้องทราบและทำความเข้าใจคือ
1. แซมเปิลสเปซ (Sample Space )
2. แซมเปิลพ้อยท์ (Sample Point)
3. เหตุการณ์ (event)
4. การทดลองสุ่ม (Random Experiment)
1. แซมเปิ ลสเปซ (Sample Space) เป็ นเซตที่มีสมาชิกประกอบด้วย
สิ่งที่ต้องการ ทั้งหมด จากการทดลองอย่างใดอย่างหนึ่ง บางครั้ง
เรียกว่า Universal Set เขียนแทนด้วย S เช่น ในการโยนลูกเต๋า
ถ้าต้องการดูว่าหน้าอะไรจะขึ้นมาจะได้ S =  1, 2, 3, 4, 5, 6 
2. แซมเปิ ลพ้อยท์ (Sample Point) คือ สมาชิกของแซมเปิลสเปซ
(Sample Space )
เช่น S = H , T  ค่า Sample Point คือ H หรือ T
3. เหตุการณ์ (event) คือ เซตที่เป็ นสับเซตของ Sample Space
หรือเหตุการณ์ที่เราสนใจ จากการทดลองสุ่ม
4. การทดลองสุ่ม (Random Experiment) คือ การกระทำที่เรา
ทราบว่าผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นมีอะไรบ้าง แต่ไม่สามารถบอก
ได้อย่างถูกต้องแน่นอนว่าจะเกิดผลอะไรจากผลทั้งหมดที่เป็ นไป
ได้เหล่านั้น
5. ความน่าจะเป็ น P(E) =
ข้อควรจำ
1. เหตุการณ์ที่แน่นอน คือ เหตุการณ์ที่มีความน่าจะเป็ น = 1
เสมอ
2. เหตุการณ์ที่เป็ นไปไม่ได้ คือ เหตุการณ์ที่มีความน่าจะเป็ น =
0
3. ความน่าจะเป็ นใด ๆ จะมีค่าไม่ต่ำกว่า 0 และ ไม่เกิน 1 เสมอ
4. ในการทดลองหนึ่งสามารถทำให้เกิดผลที่ต้องการอย่างมี
โอกาสเท่ากันและมีโอกาสเกิดได้ N สิ่ง และเหตุการณ์ A มี
จำนวนสมาชิกเป็ น n ดังนั้นความน่าจะเป็ นของ A คือ P(A)

คุณสมบัติของความน่าจะเป็ น
ให้ A เป็ นเหตุการณ์ใด ๆ และ S เป็ นแซมเปิลสเปซ โดยที่
AS

1. 0  P(A)  1
2. ถ้า A = 0 แล้ว P(A) = 0
3. ถ้า A = S แล้ว P(A) = 1
4. P(A) = 1 - P(A/) เมื่อ A/ คือ นอกจาก A

คุณสมบัติของความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์


ให้ A และ B เป็ นเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์

1. P(AB) = P(A) + P(B) - P(AB)


2. P(AB) = P(A) + P(B) เมื่อ AB = 0
ในกรณีนี้เรียก A และ B ว่า เป็ นเหตุการณ์ที่ไม่เกิดร่วมกัน
(Mutually exclusive events)
ตัวอย่างที่ 1 มีคน 10 คน ซึ่งใน 10 คนนี้ มีปารมีและภูผารวมอยู่ด้วย
ถ้าจัดคน 10 คน นั่งเป็ นวงกลม จงหาความน่าจะเป็ นที่ปารมีและภูผา
จะนั่งติดกัน
วิธีทำ ทบทวนสูตรในการหาค่าความน่าจะเป็ นก่อน P(E) =

n(S) คือ จำนวนวิธีทั้งหมดที่จะจัดคน 10 คนนั่งเป็ น


วงกลม
n(E) คือ จำนวนวิธีจัดคนนั่งเป็ นวงกลมโดยที่ปารมีและ
ภูผาจะต้องนั่งติดกัน
จะได้
n(S) = (10-1)! = 9! จัดของเป็ นวงกลม
ใช้สูตร (n-1)!
n(E) = (9-1)! 2! = 8!2! แนวคิดคือจับปารมีและ
ภูผามัดรวมกันเป็ นหนึ่งมัดเดียวกัน ฉนั้นจะเหลือสิ่งของ 9 สิ่ง
มาจัดเป็ นวงกลมได้ (9-1)! วิธี และปารมี กับ ภูผา สามารถนำ
มาสลับที่กันอีกสองวิธีหรือก็คือ 2! นั่นเอง

ดังนั้น P(E) = =

ความน่าจะเป็ นที่ปารมีและภูผาจะนั่งติดกันคือ

ตัวอย่างที่ 2 กล่องใบหนึ่งมีบัตร 5 ใบ ซึ่งเขียนหมายเลข 1,2,3,4,5


กำกับไว้ ถ้าหยิบบัตรจากกล่องใบนี้พร้อมกัน 3 ใบ จงหาความน่าจะ
เป็ นที่ผลรวมของแต้มบนบัตรมากกว่า 10
วิธีทำ n(S) คือ จำนวนวิธีทั้งหมดในการหยิบบัตร 5 ใบโดยหยิบ
พร้อมกันครั้งละ 3 ใบ
จะได้n(S) = C5,3 = 10
n(E) คือ จำนวนวิธีที่บัตร 3 ใบที่หยิบมาพร้อมกันผมรวมของ
หมายเลขในบัตรมากกว่า 10
จะได้n(E) = {(3,4,5) ,(4,5,2)} = 2

นั่นคือ P(E) =

=
ความน่าจะเป็ นที่ผลรวมของแต้มมากกว่า 10 คือ 15

ตัวอย่างที่ 3 นักเรียนชาย 4 คน นักเรียนหญิง 4 คน ยืนเรียงแถวหน้า


กระดาน จงหาความน่าจะเป็ นที่นักเรียนชายและนักเรียนหญิงจะยืน
สลับกัน
วิธีทำ n(S) คือ จำนวนวิธีจัดคน 8 คนยืนสลับที่กัน
n(S) = 8!
n(E) คือ จำนวนวิธีจัดคนให้ยืนโดยที่หญิง ชาย ยืน
สลับกัน
n(E) = 4!4!2

นั่นคือ P(E) =

=
P(E) =
ดังนั้น ความน่าจะเป็ นที่นักเรียนชายและนักเรียนหญิงจะยืนสลับกัน

ตัวอย่างที่ 4 ในการสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัย โอกาสที่นาย


ชิงชัยจะสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้เท่ากับ 0.7 โอกาสที่นายขยันดี
สอบเข้ามหาวิทยาลันได้ เท่ากับ 0.6 โอกาสที่อย่างน้อย 1 คนใน 2
คนนี้สอบเข้ามหาวิทยาลัยได้ เท่ากับ 0.8 จงหาความน่าจะเป็ นที่คน
ทั้งสองเข้ามหาวิทยาลัยได้ทั้งคู่
วิธีทำ ให้ A เป็ นเหตุการณ์ที่นายชิงชัยสอบเข้า
มหาวิทยาลัยได้
B เป็ นเหตุการณ์ที่นายขยันดีสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้
สิ่งที่โจทย์กำหนดให้คือ P(A) = 0.7 , P(B) = 0.6 และ
P(AB) = 0.8
หมายเหตุ คำว่าอย่างน้อย 1 คนใน 2 คน คือ เหตุการณ์
AB นั่นเอง

P(AB) = P(A) + P(B) - P(A B)


0.8 = 0.7 + 0.6 - P(A B)
P(A B) = 1.3 - 0.8
= 0.5

ตัวอย่างที่ 5 กล่องใบหนึ่งมีลูกแก้วขนาดเดียวกัน 13 ลูก เป็ นสีแดง


6 ลูก สีขาว 4 ลูก และสีเหลือง 3 ลูก โดยที่ลูกแก้วทุกลูกแตกต่างกัน
ถ้าสุ่มหยิบลูกแก้วออกมา 3 ลูก จงหาความน่าจะเป็ นที่จะได้ลูกแก้วสี
ต่างกันทั้ง 3 ลูก
วิธีทำ n(S) คือ หยิบลูกแก้วออกมา 3 ลูก จากทั้งหมด
13 ลูก
n(S) = C13,3

=
=
= 13x2x11
= 286
n(E) คือ การหยิบลูกแก้วออกมา 3 ลูก แล้วได้สีต่างกัน
n(E) = C6,1 x C4,1 x C3,1

= x x
= 6x4x3
= 72

นั่นคือ P(E) = = 0.25


ดังนั้น ความน่าจะเป็ นที่จะได้ลูกแก้วสีต่างกันทั้ง 3 ลูกคือ
0.25

ตัวอย่างที่ 6 ชายคนหนึ่งมีเสื้ออยู่ 5 ตัว เป็ นเสื้อสีขาว 3 ตัว สีฟ้า 2


ตัว และมีกางเกงขายาว 4 ตัว เป็ นกาเกงสีขาว 1 ตัว สีเทา 3 ตัว ถ้า
ชายคนนี้แต่งตัวออกจากบ้านโดยไม่เจาะจงแล้ว จงหาความน่าจะ
เป็ นที่ชายคนนี้จะสวมเสื้อและกางเกงสีต่างกัน
วิธีทำ n(S) คือจำนวนวิธีในการแต่งตัวทั้งหมด มีเสื้อให้
เลือก 5 ตัว และมีกางเกงให้เลือก 4 ตัว
n(S) = 5×4 = 20 วิธี
n(E) คือจำนวนวิธีที่ชายคนนี้แต่งตัวโดยเสื้อและกางเกงสี
ต่างกัน จะแบ่งการคิดออกเป็ น 2 กรณี
กรณี 1 คือชายคนนี้แต่งตัวโดยใส่เสื้อสีขาว
เพราะฉะนั้นเขาเลือกใส่เสื้อได้ 3 วิธีแต่กางเกงเขา
ห้ามเป็ นสีขาวฉนั้นเขาต้องใส่กางเกงเทาเลือกได้ 3 วิธี
เพราะกางเกงสีเทามีสามตัว จำนวนวิธีทั้งหมดในการแต่ง
ตัวแบบนี้คือ 3×3=93×3=9
กรณี 2 คือชายคนนี้แต่งตัวโดยใส่เสื้อสีฟ้า
เพราะฉะนั้นเขาเลือกใส่เสื้อได้ 2 วิธีและกางเกงเขา
ใส่กางเกงสีขาวก็ได้ สีเทาก็ได้ทำได้ 4 วิธีเพราะฉะนั้น
จำนวนวิธีในการแต่งตัวแบบนี้คือ 2×4=82×4=8
ดังนั้น n(E)=9+8=17
ดังนั้น ความน่าจะเป็ นที่ชายคนนี้จะสวมเสื้อและกางเกงสีต่าง

กันคือ P(E)=

6. ภาระงาน/ชิ้นงาน
การหาโจทย์ปัญหาเรื่องความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์จาก
ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย/ข้อสอบ O-NET

7. การวัดและประเมินผล
สิ่งที่ต้องการ
วิธีการ เครื่องมือที่
วัดและ เกณฑ์การประเมิน
ประเมิน ใช้
ประเมิน
1. ความรู้ (K)
1. อธิบาย การสังเกต แบบสังเกต ผ่าน หมายถึง
ลักษณะความ พฤติกรรม พฤติกรรม นักเรียน อธิบาย
น่าจะเป็ นได้ ลักษณะความน่า
จะเป็ นได้ถูกต้อง
ไม่ผ่าน หมายถึง
อธิบายลักษณะ
ความน่าจะเป็ น
ได้ไม่ถูกต้อง
2. ทักษะ/กระบวนการ (P)
1. นำความรู้ การทำแบบ แบบฝึกหัด นักเรียนสามารถนำ
เรื่องความน่า ฝึกหัดใน ความรู้เรื่องความน่า
จะเป็ นมาใช้ใน ชั้นเรียน จะเป็ นมาใช้ในการ
สิ่งที่ต้องการ
วิธีการ เครื่องมือที่
วัดและ เกณฑ์การประเมิน
ประเมิน ใช้
ประเมิน
การแก้ปัญหา แก้ปัญหาใน
ในสถานการณ์ สถานการณ์ต่าง ๆ
ต่าง ๆ ได้ ได้ถูกต้องไม่น้อย
กว่าร้อยละ 60 ของ
จำนวนแบบฝึกหัด
ทั้งหมด
2. ใช้ การทำแบบ แบบฝึกหัด นักเรียนสามารถใช้
สัญลักษณ์ทาง ฝึกหัดใน สัญลักษณ์ทาง
คณิตศาสตร์ ชั้นเรียน คณิตศาสตร์เพื่อสื่อ
เพื่อสื่อความ ความหมายถึงความ
หมายถึงความ น่าจะเป็ นได้ถูกต้อง
น่าจะเป็ นได้

3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
1. นักเรียนมี การสังเกต แบบสังเกต นักเรียนมีส่วนร่วมใน
ส่วนร่วมใน พฤติกรรม พฤติกรรม กิจกรรมการเรียนอยู่
กิจกรรมการ การมีส่วน ในระดับ ดี ขึ้นไป
เรียน ร่วมในชั้น
เรียน
2. มีระเบียบ การสังเกต แบบสังเกต นักเรียนมีระเบียบ
วินัย พฤติกรรม พฤติกรรม วินัย อยู่ในระดับ ดี
ในชั้นเรียน ขึ้นไป

4. สมรรถนะสำคัญ
1. ความ การสังเกต แบบสังเกต นักเรียน 80% ของ
สามารถในการ พฤติกรรม พฤติกรรม ชั้นเรียนมีความ
คิด สามารถในการคิด
2. ความ การสังเกต แบบสังเกต นักเรียน 80% ของ
สามารถในการ พฤติกรรม พฤติกรรม ชั้นเรียนมีความ
สื่อสาร การสื่อสาร สามารถในการ
กับครูในชั้น สื่อสาร
เรียน
8. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
คาบที่ 1 - 2
ขั้นนำ
1. ครูนำเข้าสู่บทเรียนให้นักเรียนในชั้นเรียนร่วมกันอภิปราย
ถึงความน่าจะเป็ นกับชีวิตประจำวัน ว่าเหตุการณ์ในชีวิต
ประจำวันใดบ้าง ที่เกี่ยวข้องกับความน่าจะเป็ น แล้วความ
น่าจะเป็ นมีประโยชน์ในการตัดสินใจในชีวิตประจำวันได้
อย่างไรบ้าง

ขั้นสอน
1. อธิบายนิยามและลักษณะของความน่าจะเป็ น
2. ร่วมอภิปรายคุณสมบัติของความน่าจะเป็ นร่วมกันทั้งชั้น
เรียน
3. ย ก ตั ว อ ย่ า ง ที่ 1 บ น ก ร ะ ด า น โ ด ย ใ ช้ Microsoft
PowerPoint “มีคน 10 คน ซึ่งใน 10 คนนี้ มีปารมีและ
ภูผารวมอยู่ด้วย ถ้าจัดคน 10 คน นั่งเป็ นวงกลม จง
หาความน่าจะเป็ นที่ปารมีและภูผาจะนั่งติดกัน” จากนั้น
ให้เวลานักเรียนใช้นิยามของความน่าจะเป็ นในการแก้
ปัญหา
4. ครูสาธิตประกอบการอธิบายเพื่อเฉลยตัวอย่างที่ 1
5. ยกตัวอย่างที่ 2 บนกระดาน โดยใช้ Microsoft
PowerPoint “กล่องใบหนึ่งมีบัตร 5 ใบ ซึ่งเขียน
หมายเลข 1,2,3,4,5 กำกับไว้ ถ้าหยิบบัตรจากกล่องใบนี้
พร้อมกัน 3 ใบ จงหาความน่าจะเป็ นที่ผลรวมของแต้มบน
บัตรมากกว่า 10”จากนั้นให้เวลานักเรียนใช้นิยามของการ
เรียงสับเปลี่ยนทำด้วยตนเอง
6. สุ่มนักเรียน 1 คน เฉลยบนกระดาน จากนั้นครูยกตัวอย่าง
ที่ 2 บนกระดาน และใช้กระบวนการสาธิตประกอบการ
อธิบาย
7. ย ก ตั ว อ ย่ า ง ที่ 3 บ น ก ร ะ ด า น โ ด ย ใ ช้ Microsoft
PowerPoint “นักเรียนชาย 4 คน นักเรียนหญิง 4 คน ยืน
เรียงแถวหน้ากระดาน จงหาความน่าจะเป็ นที่นักเรียน
ชายและนักเรียนหญิงจะยืนสลับกัน”
8. ให้เวลานักเรียนใช้นิยามของการเรียงสับเปลี่ยนทำด้วย
ตนเอง จากนั้น สุ่มนักเรียน 1 คน เฉลยบนกระดาน
9. ย ก ตั ว อ ย่ า ง ที่ 4 บ น ก ร ะ ด า น โ ด ย ใ ช้ Microsoft
PowerPoint “ในกา รส อบ คัดเ ลือกเ ข้า มห า วิทยา ลัย
โอกาสที่นายชิงชัยจะสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้เท่ากับ
0.7 โอกาสที่นายขยันดีสอบเข้ามหาวิทยาลันได้ เท่ากับ
0.6 โ อ ก า ส ที่อ ย่า ง น้อ ย 1 ค น ใ น 2 ค น นี้ ส อ บ เ ข้า
มหาวิทยาลัยได้ เท่ากับ 0.8 จงหาความน่าจะเป็ นที่คน
ทั้งสองเข้ามหาวิทยาลัยได้ทั้งคู่” ครูใช้กระบวนการตั้ง
คำ ถาม ประกอบการอธิบายเพื่อแนะให้นักเรียนเกิด
กระบวนการแก้ปัญหาในข้อ 4
10. ยกตัวอย่างที่ 5 โดยใช้ Microsoft PowerPoint “กล่อง
ใบหนึ่งมีลูกแก้วขนาดเดียวกัน 13 ลูก เป็ นสีแดง 6 ลูก สี
ขาว 4 ลูก และสีเหลือง 3 ลูก โดยที่ลูกแก้วทุกลูกแตก
ต่างกัน ถ้าสุ่มหยิบลูกแก้วออกมา 3 ลูก จงหาความน่าจะ
เป็ นที่จะได้ลูกแก้วสีต่างกันทั้ง 3 ลูก” ครูใช้กระบวนการ
ตั้งคำถาม ประกอบการอธิบายเพื่อแนะให้นักเรียนเกิด
กระบวนการแก้ปัญหาในข้อ 5
11. ย ก ตั ว อ ย่ า ง ที่ 6 บ น ก ร ะ ด า น โ ด ย ใ ช้ Microsoft
PowerPoint “ชายคนหนึ่งมีเสื้ออยู่ 5 ตัว เป็ นเสื้อสีขาว 3
ตัว สีฟ้า 2 ตัว และมีกางเกงขายาว 4 ตัว เป็ นกาเกงสีขาว
1 ตัว สีเทา 3 ตัว ถ้าชายคนนี้แต่งตัวออกจากบ้านโดยไม่
เจาะจงแล้ว จงหาความน่าจะเป็ นที่ชายคนนี้จะสวมเสื้อ
และกางเกงสีต่างกัน” จากนั้นใช้กระบวนการสอนแบบตั้ง
คำถามเพื่อให้เกิดกระบวนการคิดเพื่อแก้ปัญหา
ขั้นสรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปกระบวนการหาความน่าจะเป็ น
2. มอบหมายให้นักเรียนหาโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการวางเรียง
สับเปลี่ยนสิ่งของที่แตกต่างกันหมด โดยเป็ นข้อสอบเข้า
มหาวิทยาลัย / O-NET เป็ นต้น

คาบที่ 3
1. ให้นักเรียนอาสาสมัครนำเสนอโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความ
น่าจะเป็ นโดยใช้เครื่องฉายข้ามศีรษะ
2. ให้เวลานักเรียนในชั้นเรียนคนอื่น ๆ ใช้ความรู้ที่เรียนมานำ
มาแก้ปัญหาโจทย์ดังกล่าว
3. ครูเดินสำรวจกระบวนการคิดของนักเรียนรายบุคคล
4. ให้นักเรียนเจ้าของโจทย์ปัญหาดังกล่าว เป็ นผู้อธิบาย
เฉลย
5. ทำกระบวนการสอนข้อ 1 – 4 สำหรับโจทย์ปัญหาที่
นักเรียนมานำเสนอ จำนวน 5 – 6 ข้อ หรือ จนกว่าจะ
หมดคาบเรียน

9. สื่อ / แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 4
2. Microsoft PowerPoint
3. ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย/O-NET
4. เครื่องฉายข้ามศีรษะ

10. บันทึกหลังสอน
ผลการจัดการเรียนรู้
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
ปัญหา อุปสรรค
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………

ลงชื่อ...............................................................ครูผู้สอน
(นางสาววรเนตร พิชิตเกริกพล)
ตำแหน่งครู วิทยฐานะครูชำนาญ
การพิเศษ

แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์

พฤติกรรมที่สังเกต
ด้านความรู้
1. นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะของความน่าจะเป็ นได้
ด้านคุณลักษณะของนักเรียน
1. มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน
2. มีระเบียบวินัย
ด้านสมรรถนะสำคัญ
1. ความสามารถในการคิด
2. ความสามารถในการสื่อสาร

เกณฑ์การประเมินผล :
ด้านความรู้ 1 คะแนน หมายถึง อธิบายถูกต้อง
0 คะแนน หมายถึง อธิบายไม่
ได้/อธิบายผิด

ด้านที่คุณลักษณะของนักเรียน 2 คะแนน หมายถึง แสดง


พฤติกรรมเป็ นประจำ
1 คะแนน หมายถึง แสดงพฤติกรรม
เป็ นบางครั้ง
0 คะแนน หมายถึง ไม่แสดงพฤติกรรม
เลย

ด้านสมรรถนะสำคัญ 2 คะแนน หมายถึง แสดง


พฤติกรรมเป็ นประจำ
1 คะแนน หมายถึง แสดงพฤติกรรม
เป็ นบางครั้ง
0 คะแนน หมายถึง ไม่แสดงพฤติกรรม
เลย

แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์
ความรู้ คุณลักษณะของ สมรรถนะสำคัญ
นักเรียน
อธิบาย มีส่วน ความ ความ
การ ร่วม สามารถ สามารถ
มี
ชื่อ - นามสกุล เรียงสับ ใน ในการ ในการ
ระเบียบ
เปลี่ยน กิจกรรม คิด สื่อสาร
วินัย
การ
เรียน
1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0
1.
2.
ความรู้ คุณลักษณะของ สมรรถนะสำคัญ
นักเรียน
อธิบาย มีส่วน ความ ความ
การ ร่วม สามารถ สามารถ
มี
ชื่อ - นามสกุล เรียงสับ ใน ในการ ในการ
ระเบียบ
เปลี่ยน กิจกรรม คิด สื่อสาร
วินัย
การ
เรียน
1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
14.
15.
16.
17.
18.
19.
20.
21.
22.
23.
24.
25.
26.
27.
28.
ความรู้ คุณลักษณะของ สมรรถนะสำคัญ
นักเรียน
อธิบาย มีส่วน ความ ความ
การ ร่วม สามารถ สามารถ
มี
ชื่อ - นามสกุล เรียงสับ ใน ในการ ในการ
ระเบียบ
เปลี่ยน กิจกรรม คิด สื่อสาร
วินัย
การ
เรียน
1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0
29.
30.
31.
32.
33.
34.
35.
36.
37.
38.
39.
40.

แบบสรุปการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์
ความรู้ คุณลักษณะของ สมรรถนะสำคัญ
นักเรียน
ชื่อ - นามสกุล
รวม รวม รวม
สรุปผล สรุปผล สรุปผล
คะแนน คะแนน คะแนน
1.
ความรู้ คุณลักษณะของ สมรรถนะสำคัญ
นักเรียน
ชื่อ - นามสกุล
รวม รวม รวม
สรุปผล สรุปผล สรุปผล
คะแนน คะแนน คะแนน
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
14.
15.
16.
17.
18.
19.
20.
21.
22.
23.
24.
25.
26.
27.
28.
29.
30.
31.
32.
ความรู้ คุณลักษณะของ สมรรถนะสำคัญ
นักเรียน
ชื่อ - นามสกุล
รวม รวม รวม
สรุปผล สรุปผล สรุปผล
คะแนน คะแนน คะแนน
33.
34.
35.
36.
37.
38.
39.
40.

หมายเหตุ : ด้านความรู้ ผ่าน หมายถึง ได้คะแนนรวม


ตั้งแต่ 1 คะแนนขึ้นไป
ไม่ผ่าน หมายถึง ได้คะแนนรวมต่ำ
กว่า 0 คะแนน

ด้านคุณลักษณะของนักเรียน
ดีมาก หมายถึง ได้คะแนนรวม 3 –
4 คะแนน
ดี หมายถึง ได้คะแนนรวม 2 คะแนน
ปรับปรุง หมายถึง ได้คะแนนต่ำกว่า 2
คะแนน
ด้านสมรรถนะที่สำคัญ
ดีมาก หมายถึง ได้คะแนนรวม 3 –
4 คะแนน
ดี หมายถึง ได้คะแนนรวม 2 คะแนน
ปรับปรุง หมายถึง ได้คะแนนต่ำกว่า 2
คะแนน

You might also like