10

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 41

ลมฟ$าอากาศ

อุณหภูมิ น้ำในบรรยากาศ
ความชื้น (เมฆ หยาดน้ำฟ>า)

ความกดอากาศ ลม
ความดันอากาศ
ความดันอากาศ

อากาศมีแรงดันในทุกทิศทาง แรงที่อากาศกระทำต6อพื้นที่ 1 หน6วย เรียก


ความดันอากาศ (air pressure) เขียนความสัมพันธCไดEดังนี้

แรงดันอากาศทังหมด
, !
ความดันอากาศ (P) = ="
พื ,นที2ที2รองรับแรงดันอากาศทังหมด
,

ในการพยากรณCอากาศ เรียกความดันอากาศว6า ความกดอากาศ


อากาศที่มีความหนาแน.นน/อย ความกดอากาศต่ำ

น้ำหนักของอากาศ
อากาศที่มีความหนาแน.นมาก ความกดอากาศสูง

ผิวโลก
ความดันอากาศ 1 บรรยากาศ
(1 atmosphere หรือ 1 atm)

- ความดั น อากาศที ่ ร ะดั บ น้ ำ ทะเลมี ค ; า 76 เซนติ เ มตรของปรอท หรื อ


760 มิลลิเมตรของปรอท
- ความดัน 1 บรรยากาศ สามารถดันปรอทใหLขึ้นไปในหลอดแกLวปลายปPดไดLสูงถึง
76 เซนติเมตร หรือ 760 มิลลิเมตร
- หน;วยของความดันอากาศจึงมีหน;วยเปSนมิลลิเมตรของปรอท (mmHg)
- เรียกความดันของอากาศที่สามารถดันปรอทใหLสูงขึ้นไป 760 มิลลิเมตร ว;าเปSน
ความดัน 1 บรรยากาศ ซึ่งเปSนความดันอากาศที่ระดับน้ำทะเล
- ความดัน 1 บรรยากาศ = 1 atm = 760 mmHg = ความดันที่ระดับน้ำทะเล
1 บรรยากาศ = 760 mmHg
หน#วยวัดความดันของอากาศ = 1.013x105 N/m2
= 1.013 bar
= 1.013x105 Pa
• หน#วย บรรยากาศ
• หน#วย ปาสคาล (Pascal/Pa) 1 Pa = 1 N/m2

• หน#วย บาร8 (bar)


1 bar = 105 Pa = 105
N/m2

นักอุตุนิยมวิทยาวัดความดันอากาศในหนCวย มิลลิบารD (millibar) หรือ เฮกโตปาสคาล (hPa)


ป,จจัยที่มีผลต5อความดันอากาศ

1. ปริมาณหรือจำนวนโมเลกุลของอากาศ
- จำนวนโมเลกุ ล ของอากาศมาก โอกาสที ่ จ ะชนผนั ง ก็ ม าก
แรงดันอากาศก็มากตามไปดAวย ทำใหAความดันอากาศสูง
- เชG น การเปH า อากาศเขA า ไปในลู ก โปH ง การเติ ม ลมเขA า ไปใน
ยางรถ
ป,จจัยที่มีผลต5อความดันอากาศ

2. อุณหภูมิ
• ในระบบปPด : เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น โมเลกุลของอากาศมีพลังงานมากขึ้น เคลื่อนที่
ไดL เร็ ว ชนผนั ง ไดL ม ากขึ ้ น แรงดั น อากาศมากขึ ้ น ความดั น อากาศเพิ ่ ม ขึ ้ น
- บริเวณอุณหภูมิสูงมีความดันอากาศมากกว;าบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำ
• ในระบบเปPด : โมเลกุลของอากาศที่มีอุณหภูมิสูงเคลื่อนที่กระจัดกระจาย ชนพื้นผิว
นLอยลง ความดันอากาศต่ำ
- บริเวณอุณหภูมิสูงมีความดันอากาศนLอยกว;าบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำ
ป,จจัยที่มีผลต5อความดันอากาศ

3. ความหนาแน5นของอากาศ
• ความหนาแน7นของอากาศแปรผันตรงกับความดันอากาศ
• ความหนาแน6นของอากาศมากความดันอากาศก็จะมาก
• ความหนาแน6นของอากาศนEอยความดันอากาศก็จะนEอย
• ความหนาแน7นของอากาศแปรผกผันกับระดับความสูงของพื้นที่
• ระดับความสูงของพื้นที่มากความดันอากาศจะนEอย
• ระดับความสูงของพื้นที่นEอยความดันอากาศจะมาก
ความดันอากาศ
ความดันของอากาศ

ระดับความสูง

ภาพแสดงความหนาแน-นของอากาศ ณ ระดับความสูงต-าง ๆ จากผิวโลก


ป,จจัยที่มีผลต5อความดันอากาศ

4. ระดับความสูงเหนือน้ำทะเล
• ที่ระดับความสูงเดียวกัน ความดันของอากาศจะเท6ากัน
• ความสูงจากระดับน้ำทะเลเปMนระยะทางต6าง ๆ กัน ความดันอากาศมีค6า
ไม6เท6ากัน
- เมื ่ อ ความสู ง จากระดั บ น้ ำ ทะเลเพิ ่ ม ขึ ้ น ความดั น อากาศมี ค 6 า ลดลง
- เมื่อความสูงจากระดับน้ำทะเลลดลง ความดันอากาศมีค6าเพิ่มขึ้น
• ความดันอากาศแปรผกผันกับความสูงจากระดับน้ำทะเล
ตารางแสดงความดันอากาศ
ณ ระดับความสูงต5าง ๆ จากระดับทะเล

ที่มา : pixabay.com/GraphicMama-team
ถ"าความสูงจาก
ระดั บ น้ ำ ทะเลเพิ ่ ม ขึ ้ น
ทุก ๆ 11 เมตร ความ
ดันของอากาศจะลดลง
1 mmHg หรือทุกความ
สูง 1,000 ฟุต ระดับ
ปรอทจะลดลง 1 นิ้ว
เราสามารถนำค6าความดันอากาศที่วัดไดEจากบารอมิเตอรCแบบปรอท
มาคำนวณหาความสูงจากระดับน้ำทะเลไดE เนื่องจาก
ระดับปรอทในบารอมิเตอรbลดลง 1 มิลลิเมตรทุก ๆ ระยะความสูง 11 เมตรจากระดับน้ำทะเล

ความสูงจากระดับน้ำทะเล = ( 760 - ความดันของอากาศ ณ จุดนั้น ) X 11


ตัวอย7าง ยอดเขา B วัดความดันอากาศไดE 600 มิลลิเมตรของปรอท จงหา
ความสูงจากระดับน้ำทะเลของยอดเขา
จากสูตร
ความสูงจากระดับน้ำทะเล = ( 760 - ความดันของอากาศ) x 11
ตั ว อย7 า ง บอลลู น ลอยสู ง จากระดั บ น้ ำ ทะเล 1,100 เมตร จงหา
ความดันอากาศของบอลลูน ณ ขณะนั้น
จากสูตร
ความสูงจากระดับน้ำทะเล = ( 760 - ความดันของอากาศ) x 11
ตัวอย7าง เครื่องมือวัดความดันอากาศบนบอลลูนอ6านค6าไดE 640 มิลลิเมตร
ของปรอท อยากทราบว6าบอลลูนอยู6สูงจากระดับน้ำทะเลเท6าใด
จากสูตร
ความสูงจากระดับน้ำทะเล = ( 760 - ความดันของอากาศ) x 11
สรุป
• ความดันอากาศเปลี่ยนแปลงได4โดยมีป6จจัยสำคัญ คือระดับความสูงของพื้นที่
และอุณหภูมิของอากาศ พื้นที่ที่มีระดับความสูงมาก ความดันอากาศมีคJาต่ำ
สJวนพื้นที่ที่มีความสูงน4อย ความดันอากาศจะมีคJาสูง เนื่องจากแรงโน4มถJวงของ
โลกทำให4บริเวณใกล4พื้นผิวโลกมีโมเลกุลอากาศอยูJหนาแนJนกวJาบริเวณที่อยูJ
สูงขึ้นไป อากาศบริเวณใกล4ผิวโลกจึงมีความดันมากกวJาอากาศบริเวณที่อยูJสูงขึ้น
ไป นอกจากนั้นอุณหภูมิอากาศยังสJงผลตJอความดันอากาศ เนื่องจากอากาศที่มี
อุณหภูมิสูงกวJาจะเคลื่อนที่ได4อ ยJางอิสระกวJา จึงมีความหนาแนJนน4อยกวJา
อากาศที่มีอุณหภูมิสูงกวJาจึงมีความดันอากาศต่ำกวJา
ตัวติดผนังติดกับผนังดังภาพได/อย2างไร ?
หน/า 119
ทิศทางของแรงที่อากาศกระทำในล/อ
รถเปFนอย2างไร ? หน/า 119
ความดั น อากาศ ณ ระดั บ ความสู ง ต2 า ง ๆ
จากผิ ว โลก มี ก ารเปลี ่ ย นแปลงหรื อ ไม2
อย2างไร ? P.120
ความสัมพันธU
ระหว2างความดัน
อากาศกับความสูง
จากพื้นโลกควรเปFน
อย2างไร
ให/สร/างแบบจำลอง
หรือเขียนแผนภาพ
อธิบาย
ความสัมพันธU
ดังกล2าว p.120
นักเรียนคิดว/าความดันอากาศเกี่ยวข6องอย/างไรกับอาการ
หูอื้อเมื่อขึ้นลิฟทBไปยังชั้นสูง ๆ ของตึก p.120
ในระบบป'ดและระบบเป'ดอุณหภูมิมีผลต7อความดัน
เหมือนหรือแตกต7างกันอย7างไร ? p.122
บริ เ วณผิ ว โลกอุ ณ หภู ม ิ อ ากาศส7 ง ผลต7 อ การ
เปลี่ยนแปลงความดันอากาศอย7างไร ? p.123
บอลลูนลอยอยู7ในอากาศไดLอย7างไร ? p.123
ปMจจัยใดบLางที่ส7งผลต7อความดันอากาศ? p.123
มี ข 6 อ แนะนำสำหรั บ นั ก ปO น เขาว/ า ไม/ ค วรเปลี ่ ย นแปลง
ระดั บ ความสู ง เกิ น 500 เมตรต/ อ วั น เหตุ ใ ดจึ ง เปS น
เช/นนั้น? p.123
บุ ค คลกลุ 7 ม ใดบL า งไดL ร ั บ ผลกระทบจากการ
เปลี่ยนแปลงความดันอากาศ ? p.123
อากาศมีแรงกระทำในทิศทางลงเท7านั้น ขLอความ
ขLางตLนกล7าวถูกหรือผิด อย7างไร
เราสามารถวัดความกดอากาศได/
อย1างไร ??
ความดันอากาศ

บารอมิเตอรAปรอท แอนนิรอยดAบารอมิเตอรA บารอกราฟ

บารอมิเตอร@ชนิดตDาง ๆ
ความดันอากาศ คือ แรงที่อากาศกระทำต-อพื้นที่ผิวหนึ่ง ๆ

เครื่องมือที่ใช/วัดความดันอากาศ
บารอมิเตอรAปรอท
• ประกอบดLวยหลอดแกLวยาวที่ปMดปลายดLานหนึ่งไวL และทำใหLเปPนสุญญากาศ นำไปคว่ำลงในอ-าง
ที่บรรจุปรอทไวL อากาศภายนอกจะกดดันใหLปรอทเขLาไปอยู-ในหลอดแกLวในระดับหนึ่งของ
หลอดแกL ว ระดั บ ของปรอทจะเปลี ่ ย นแปลงไปตามความกดดั น ของอากาศ โดยความดั น
1 บรรยากาศจะดันปรอทใหLสูงขึ้นไปไดL 76 เซนติเมตร หรือ 760 มิลลิเมตร
ระดับปรอท
ระดับปรอท
ในหลอดแกLว ความดัน ในหลอดแกLว
สูงขึ้น อากาศ
ต่ำลง
สูงขึ้น
ความดัน
อากาศต่ำลง

หลักการทำงานของบารอมิเตอรAปรอท
ความดันอากาศ คือ แรงที่อากาศกระทำต-อพื้นที่ผิวหนึ่ง ๆ

เครื่องมือที่ใช/วัดความดันอากาศ แอนิรอยดAบารอมิเตอรA

• ชนิดไม-ใชLปรอทหรือของเหลวแบบอื่น ๆ เปPนบารอมิเตอรAที่จะทำเปPนตลับโลหะแลLวนำเอาอากาศออก
จนเหลือนLอย (คลLายจะทำใหLเปPนสุญญากาศ) เมื่อมีแรงจากอากาศมากดตลับโลหะ จะทำใหLตลับโลหะ
มีการเคลื่อนไหว ถLาความดันอากาศภายนอกมากจะดันผิวของตลับโลหะใหLยุบลง แต-ถLาความดันของ
อากาศภายนอกนLอย อากาศภายในจะดันผิวของตลับโลหะขึ้นมา ทำใหLเข็มที่ติดไวLกับตัวตลับชี้บอก
ความกดดันของอากาศโดยทำสเกลบอกระดับความดันของอากาศไวL
เข็มชี้บอก
ระดับ
ตลับโลหะ

แรงดันอากาศภายนอกที่สูงขึ้น
จะดันตลับโลหะใหLยุบตัว
แอนิรอยดAบารอมิเตอรA หลักการทำงานของแอนิรอยดAบารอมิเตอรA
ความดันอากาศ คือ แรงที่อากาศกระทำต-อพื้นที่ผิวหนึ่ง ๆ

อัลติ
• มิพัเฒตอร)
นามาจากแอนนิรอยด/บารอมิเตอร/ ที่นำมาประยุกต/ให=ใช=ความกดดันของอากาศวัดระดับความสูง
ซึ่งอHานคHาจากหน=าปIดออกมาเปJนระดับความสูง ใช=ในเครื่องบิน ใช=สำหรับติดตัวนักกระโดดรHมเพื่อ
บอกระดั บความสู ง ที ่ อยู H สู ง จากระดั บน้ ำทะเล โดยใช= หลั กการเมื ่ อความสู ง เพิ ่ มขึ ้ นความดั นและ
ความหนาแนHนของอากาศจะมีคHาลดลง
• ความดั น อากาศจะลดลงประมาณเทH า กั บ 1 มิ ล ลิ เ มตรของปรอททุ ก ๆ ระยะสู ง 11 เมตร
จากระดับน้ำทะเล
ความดันอากาศ คือ แรงที่อากาศกระทำต-อพื้นที่ผิวหนึ่ง ๆ

บารอกราฟ

• พัฒนามาจากแอนนิรอยด/บารอมิเตอร/ แตHจะมีเข็มชี้ที่มีปากกาบันทึกความกดดันอากาศแบบตHอเนื่อง
ลงบนกระดาษกราฟที่หมุนอยูHตลอดเวลาด=วยลานนาUิกาในลักษณะเปJนเส=นกราฟ

You might also like