Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 71

ลม

WIND
อุปกรณ'การทดลอง

1. กระดาษรูปก,นหอย
2. เทียน 4 อัน
3. ไม,ปลายแหลม
4. ดินน้ำมัน
จากการทดลองสังเกตเห็นสิ่ง
ใดบ5าง ?
ถ5าครูเลื่อนเทียนเข5าใกล5กับ
กระดาษมากขึ้น จะเปEน
อยFางไร ?
อุณหภูมิต่ำ
อุณหภูมิต่ำ

บริเวณเทียนไขและโดยรอบ มีอุณหภูมิ อุณหภูมิต่ำ


เทFากันหรือไมF ?
อุณหภูมิต่ำ
อุณหภูมิสูง

อุณหภูมิสูง

อุณหภูมิสูง

อุณหภูมิต่ำ อุณหภูมิสูง อุณหภูมิต่ำ


หลักการจากการทดลอง

อากาศร2อนจะ
ลอยตัวขึ้น

อากาศเย็นจะ
เข2ามาแทนที่
สาเหตุของการเกิดลม

1. อากาศที่สองบริเวณมีอุณหภูมิต8างกัน คือ อุณหภูมิสูง-ต่ำ


2. อากาศรA อ นมี ค วามหนาแน8 น นA อ ย ความกดอากาศต่ ำ
ขยายตั ว สู ง ขึ ้ น อากาศเย็ น ที ่ ม ี ค วามหนาแน8 น มากกว8 า
ความกดอากาศสูงเขAามาแทนที่

https://www.scimath.org/video-science/item/9914-2019-03-04-06-48-46
อากาศจะเคลื่อนที่ต0อไปอย0างไร

อากาศอุณหภูมิต่ำ ลม อากาศอุณหภูมิสูง
อากาศอุณหภูมิต่ำ ลม อากาศอุณหภูมิสูง
แรงที่เกิดจากความแตกต1างของความกดอากาศ
Pressure gradient force (PGF)

ความกดอากาศสู
อากาศอุณหภูมิต่ำง ลม อากาศอุณหภูมิสูงำ
ความกดอากาศต่
กลไกการหมุนเวียนอากาศในธรรมชาติ

960 hPa 960 hPa

1010 hPa 1010 hPa

สถาบันส่งเสริมการสอน
กลไกการหมุนเวียนอากาศในธรรมชาติ
960 hPa

960 hPa 968 hPa


960

อากาศขยายตัวออก

1010 hPa 1006


1010 hPa
พื้นดินอุณหภูมิสูง

สถาบันส่งเสริมการสอน
กลไกการหมุนเวียนอากาศในธรรมชาติ
960 hPa

960 hPa 968 hPa

1012
1010 hPa 1006 hPa
พื้นดินอุณหภูมิสูง

สถาบันส่งเสริมการสอน
กลไกการหมุนเวียนอากาศในธรรมชาติ
960 hPa

960 hPa 968 hPa

1012 hPa 1006 hPa


พื้นดินอุณหภูมิสูง

สถาบันส่งเสริมการสอน
ลม (wind)

ลมเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความกดอากาศสูง
(อุณหภูมิต่ำ) ไปยังบริเวณที่มีความกดอากาศต่ำ
(อุณหภูมิอากาศสูง)
การเคลื่อนที่ของลม
ลมจะพัดจากบริเวณที่มี
ความกดอากาศสูงไปยังบริเวณที่มีความกดอากาศต่ำ

อากาศร2อน อากาศเย็น
ความกดอากาศต่ำ ความกดอากาศสูง
สรุป ลม
เกิดจากความแตกต?างของอุณหภูมิ

อากาศเย็น ลอยตัวสูงขึ้น
อุณหภูมิต่ำ เกิดกระแสลม ความกดอากาศต่ำ
ความกดอากาศสูง อุณหภูมิสูง
เข2ามาแทนที่
จมตัวลง อากาศรFอน
สรุป ลม
- คือการเคลื่อนที่ของกระแสอากาศในแนวราบขนานกับพื้นผิวโลก
- เคลื ่ อ นที ่ จ ากบริ เวณที ่ ม ี ค วามกดอากาศสู ง (อุ ณ หภู มิ ต่ ำ ความหนาแนI น
อากาศมาก อากาศจมตัวลง) ไปยังบริเวณที่มีความกดอากาศต่ำ (อุณหภูมิสูง
ความหนาแนIนอากาศนNอย อากาศขยายตัว ลอยตัวสูงขึ้น)
- ปPจจัยที่มีผลตIอการเคลื่อนที่ของลม เชIน ความกดอากาศระหวIาง 2 บริเวณ
ระยะหIางระหวIางสองบริเวณและสภาพแวดลNอม หรือสิ่งกีดขวางทางเดิน
ของลม
สรุป

อัตราเร็วลม
– https://www.scimath.org/video-science/item/8083-2018-05-02-06-13-20
– หากความแตกตIางระหวIางคIาความกดอากาศของสองบริเวณ
มีคIามาก ลมจะมีอัตราเร็วสูง
– ถNาระยะหIางระหวIางสองบริเวณมีคIามาก ลมจะมีอัตราเร็วต่ำ
หย/อมความกดอากาศ
หยFอมความกดอากาศสูง (High pressure areas)

- บริเวณที่มีความกดอากาศสูงกว5าบริเวณข7างเคียง
- ทางอุตุนิยมวิทยาใช7ตัวอักษร H แทนบริเวณที่มีความกด
อากาศสูงในแผนที่อากาศ
- บริเวณนี้จะมีสภาพท7องฟJาแจ5มใสและอากาศหนาวเย็น
หย/อมความกดอากาศ
หยFอมความกดอากาศต่ำ (Low pressure areas)

- บริเวณที่มีความกดอากาศต่ำกว5าบริเวณข7างเคียง
- ทางอุตุนิยมวิทยาใช7ตัวอักษร L แทนบริเวณที่มีความกด
อากาศต่ำในแผนที่อากาศ
- บริเวณนี้จะมีเมฆมาก หากมีความกดอากาศต่ำมากก็จะ
เกิดพายุได7
เส2นความกดอากาศเทDา (isobar)
เส?นที่ลากผHานจุดที่มีความกดอากาศ
เทHากัน
เนื่องจากโลกหมุนรอบตัวเองจึงเกิดแรงที่มีผลต5อทิศทางของลม
- ลมที่พัดบริเวณพื้นผิวโลกจะพัดเข7าสู5ศูนยUกลางบริเวณความกด
อากาศต่ำโดยทำมุมประมาณ 30๐ กับเส7นความกดอากาศเท5า
- ลมจะพัดออกจากบริเวณความกดอากาศสูงโดยทำมุมประมาณ
30๐ กับเส7นความกดอากาศเท5า

ในซีกโลกเหนือและซีกโลกใต, กระแสลมจะพัดในลักษณะตรงข,ามกัน
ซีกโลกเหนือ
- กระแสลมพัดออกจากความกดอากาศสูง ในทิศตามเข็มนาKิกา
- กระแสลมพัดเขLาสูMความกดอากาศต่ำ ในทิศทวนเข็มนาKิกา
anticyclone

cyclone
การหมุนทวนเข็มนาVิกาของบริเวณความกดอากาศต่ำในซีกโลกเหนือ บริเวณเหนือประเทศไอซeแลนดe
ซีกโลกใตV

- กระแสลมพัดออกจากความกดอากาศสูง ในทิศทวนเข็มนาKิกา
- กระแสลมพัดเขLาสูMความกดอากาศต่ำ ในทิศตามเข็มนาKิกา
การหมุนตามเข็มนาIิกาของบริเวณความกดอากาศต่ำในซีกโลกใตAบริเวณทางใตAของประเทศออสเตรเลีย
ประเภทของลม
แบ.งได1เป4น 4 ประเภท ได1แก.

1. ลมประจำเวลา
2. ลมประจำฤดู
3. ลมประจำปdหรือลมประจำภูมิภาค
4. ลมแปรปรวนหรือลมพายุ (เรียนในเนื้อหาถัดไป)
ลมประจำเวลา
เป4นลมที่มักจะเกิดในบริเวณหนึ่งๆ ในช.วงเวลาต.างกันในรอบ
วัน คือ กลางวันและกลางคืน โดยจะเกิดบริเวณพื้นที่ที่ใกล1กันแต.มี
ลักษณะภูมิประเทศแตกต.างกัน ซึ่งในเวลากลางวันและกลางคืน
อุณหภูมิระหว.างสองพื้นที่จะต.างกันด1วย เช.น

1. ลมบก - ลมทะเล
2. ลมหุบเขา - ลมภูเขา
ลมประจำเวลา
ลมบก (land breeze)
ลมประจำเวลา
ลมทะเล (sea breeze)
ชาวประมงใช2ประโยชนRจากลมบกในการออกเรือสูDทะเล
ลมประจำเวลา
ลมหุบเขา (Valley breeze)

เกิดขึ้นเนื่องจากในเวลากลางวันพื้นที่บริเวณ
ไหลIเขาไดNรับความรNอนมากกวIาบริเวณพื้นที่ราบ
หุ บ เขา ณ ระดั บ สู ง เดี ย วกั น ทำใหN อ ากาศรN อ น
บริเวณไหลIเขายกตัวลอยสูงขึ้น (ความกดอากาศ
ต่ำ) เกิดเมฆคิวมูลัสลอยอยูIเหนือยอดเขา อากาศ
เย็นบริเวณหุบเขาเคลื่อนตัวเขNาแทนที่ ทำใหNเกิดลม
พัดจากเชิงเขาขึ้นสูIลาดเขา เรียกวIา “ลมหุบเขา”
(Valley breeze)
ลมประจำเวลา
ลมภูเขา (Mountain breeze)

หลังจากดวงอาทิตยWตก พื้นที่ไหลIเขาสูญเสียความรNอน อากาศเย็นตัวอยIางรวดเร็ว


จมตัวไหลลงตามลาดเขา เกิดลมพัดลงสูIหุบเขา เรียกวIา “ลมภูเขา” (Mountain
breeze)
ลมประจำฤดู
ลมมรสุม
1. ลมมรสุมฤดูรEอน

2. ลมมรสุมฤดูหนาว
ลมมรสุม
ลมมรสุ ม เกิ ด จากความแตกต0 า งของอุ ณ หภู มิ
ระหว0างพื้นทวีปกับพื้นมหาสมุทร ซึ่งเกิดเปFนบริเวณ
กวGางและมีช0วงเวลาในการเกิดนาน
ลมมรสุมฤดูหนาว
- อุณหภูมิบนพื้นทวีปลดต่ำกว9าบนพื้นผิวน้ำ
- บริเวณพื้นทวีปมีความกดอากาศสูงกว9าความกดอากาศเหนือพื้นน้ำ
- ลมพัดจากภาคพื้นทวีปเขFาสู9ภาคพื้นน้ำ
ความกดอากาศสูง ความกดอากาศต่ำ
ลมพัด
- นำความหนาวเย็นและแห7งแล7งสู5ดินแดนต5าง ๆ ที่ลมพัดผ5าน
ลมมรสุมฤดูหนาว
• ในประเทศไทยจะเรียกอีกชื่อวMาลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
• ลมพั ด จากประเทศจี น และไซบี เ รี ย ผM า นภาคเหนื อ และภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยมาจนถึงบริเวณอMาวไทยตอนใตL
• อากาศมีความหนาวเย็นตั้งแตMกลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธV
ลมมรสุมฤดูรEอน
- อุณหภูมิบนพื้นทวีปสูงกว9าบนพื้นผิวน้ำ
- บริเวณพื้นทวีปมีความกดอากาศต่ำกว9าความกดอากาศเหนือพื้น
น้ำ
- ลมพัดจากภาคพื้นน้ำเขFาสู9ภาคพื้นทวีป
ความกดอากาศต่ำ ความกดอากาศสูง
ลมพัด
- นำความชุ5มชื้นของพื้นน้ำเข7ามา จึงทำให7เกิดฝนในพื้นที่ที่พัดผ5าน
ลมมรสุมฤดูรEอน
• ในประเทศไทยจะเรียกอีกชื่อวMาลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต5
• พัดจากมหาสมุทรอินเดียผMานอMาวไทย แลLวปะทะขอบฝXYงตะวันออกของ
อMาวไทย
• พัดผMานไทยตั้งแตMกลางเดือนพฤษภาคมจนถึงกลางเดือนตุลาคม
• ขณะพัดผMานประเทศไทยจะพัดพาไอน้ำจากมหาสมุทรมาดLวยจำนวนมาก
ทำใหLมีฝนตกชุก
มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ มรสุมตะวันตกเฉียงใตL
H L

L
H
มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ มรสุมตะวันตกเฉียงใตL
H L

L
H
เครื่องมือที่ใช5วัดทิศทางและอัตราเร็วของลม

1 ศรลม
• ใช2วัดทิศทางของลม
• เมื่อมีลมพัดมาลมจะดันบริเวณหางศรลม ทำให2หัว
ลูกศรที่เปVนปลายแหลมหันชี้ไปทางทิศลมที่พัดมา
• ศรลมขนานกับทิศทางที่ลมพัดมา

หัวลูกศร

หางศรลม
เครื่องมือที่ใช5วัดทิศทางและอัตราเร็วของลม

2 มาตรวัดความเร็วลม หรือแอนีมอมิเตอรR (anemometer)


• หรือแอนีมอมิเตอรR (anemometer)
• ใช2วัดความเร็วลมเมื่อมีลมพัดมาปะทะด2านเว2าของถ2วย
จะทำให2ถ2วยหมุนรอบแกนกลาง
• จำนวนรอบการหมุนของถ2วยจะเปVนสัดสDวนโดยตรงกับ
อัตราเร็วลม สามารถอDานคDาความเร็วลมได2จากตัวเลขที่
หน2าป^ดเครื่อง
เครื่องมือที่ใช5วัดทิศทางและอัตราเร็วของลม

3 แอโรเวน (aerovane)
• บอกได2ทั้งความเร็วและทิศทางของลม
• สD ว นหั ว เปV น ใบพั ด ใช2 ใ นการวั ด ความเร็ ว ลม
สDวนหางจะแบนชDวย ให2แอโรเวนเบนชี้ไปทางด2าน
ที่ลมพัดมาเพื่อบอกทิศทางลม
ความกดอากาศและลม
ü ในทางอุตุนิยมวิทยาเรียกความดันอากาศว.า ความกดอากาศ
ü ลมจะมีทิศทางเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความกดอากาศสูงกว.าไปยังบริเวณที่มีความกดอากาศ
ต่ำกว.า
ü อัตราเร็วลม (wind speed) ขึ้นอยู.กับความแตกต.างระหว.างค.าความกดอากาศของสอง
บริเวณที่ลมเคลื่อนที่ไป และระยะห.างระหว.างสองบริเวณนั้น
ü หากความแตกต.างระหว.างค.าความกดอากาศของสองบริเวณมีค.ามาก ลมจะมีอัตราเร็วสูง
ü ถ1าระยะห.างระหว.างสองบริเวณมีค.ามาก ลมจะมีอัตราเร็วต่ำ
มนุษยjมีวิธีปlองกันบ5านเรือนและทรัพยjสินไมFให5ได5รับความเสียหายจากลมที่มีอัตราเร็ว
มากได5อยFางไร ? หน5า 128
ลมสIงผลตIอสภาพแวดลEอมและสิ่งมีชีวิตอยIางไร ? หนEา 129
ลมเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีอุณหภูมิอากาศสูงไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิ
อากาศต่ำ ขVอความขVางตVนกล1าวถูกหรือผิด อย1างไร ?
จากภาพ บริเวณ A และ B ในแผนที่ลมบริเวณใดมีความกดอากาศ
สูงกว1ากัน เพราะเหตุใด*
ความยาวลูกศรดังภาพแสดงอัตราเร็วลม 10 เมตรต1อวินาที และ
5 เมตรต1อวินาทีตามลำดับ ใหVเรียงลำดับ อักษร C D E แสดง
บริเวณที่มีอัตราเร็วลมจากนVอยไปมาก ตามลำดับ*
หย1อมความกดอากาศสูงหมายถึงอะไร และในแผนที่อากาศ
ใชVตัวอักษรใดแทนบริเวณนี้
หย1อมความกดอากาศต่ำหมายถึงอะไร และในแผนที่อากาศ
ใชVตัวอักษรใดแทนบริเวณนี้
จากรูปแผนที่อากาศแสดงหยRอมความกดอากาศ
และการพัดเวียนของลม ใหLตอบคำถามตRอไปนี้

• บริเวณ ก คือ........................................
• อากาศบริเวณ ก จะมีอุณหภูมิ.......กวMาบริเวณ
ขLางเคียง
• เป]นบริเวณซีกโลก...........
จากภาพแสดงการเกิดลมเวลาชนิดหนึ่ง

• ภาพนี้แสดงการเกิด............
• อากาศบริเวณ ก มีอุณหภูมิ.......กวMาอากาศ
บริเวณ ข
• อากาศบริ เ วณ ก มี ค วามกดอากาศ.....
กวMาอากาศบริเวณ ข
จากภาพ ถ(าตำบล ก และตำบล ข อยู3ที่ซีกโลกเหนือ
จงพิ จ ารณาว3 า จะเกิ ด ลมพั ด จากทำบลใดไปตำบลใด
และในทิศทางใด

You might also like