Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 7

ชื่อ-สกุล................................................................ชั้นม. 5/……เลขที่........

พฤติกรรมของคลื่นเสียง
การสะท้อนเสียง
การหักเห
การแทรกสอด
การเลี้ยวเบน

การสะท้อนเสียง (Reflection)
เสียงมีสมบัติการสะท้อนโดยเป็นไปตามกฎการสะท้อนคือ มุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน โดยรังสีตก
กระทบ และรังสีสะท้อนต้องอยู่ในระนาบเดียวกัน แต่โดยปกติเสียงที่เดินทางในอากาศจะแผ่ออกโดยรอบ
เหมือนผิวทรงกลมที่ขยายตัวกว้างขึ้น ดังนั้น การสะท้อนเสียงจากผิวสะท้อน จะได้เสียงเพียงบางส่วนที่สะท้อน
กลับเท่านั้น

การเคลื่อนที่ของเสียงไปกระทบสิ่งกีดขวาง ส่งผลให้เกิดการสะท้อนกลับของเสียงที่เรียกว่า “เสียง


สะท้อน” (Echo) ซึ่งโดยปกติแล้ว เสียงที่ผ่านไปยังสมองจะติดประสาทหูราว 0.1 วินาที ดังนั้นเสียงที่สะท้อน
กลับมาช้ากว่า 0.1 วินาที ทาให้หูของเราสามารถแยกเสียงจริงและเสียงสะท้อนออกจากกันได้
การสะท้อนขึ้นอยู่กับลักษณะของผิวสะท้อน พื้นผิวแข็งจะมีการสะท้อนได้ดีกว่าผิวอ่อนนุ่ม

การสะท้อนจะเกิดขึ้นได้เมื่อสิ่งกีดขวางหรือผิวสะท้อนมีขนาดเท่ากับหรือโตกว่าความยาวคลื่นที่ตก
กระทบ
จากสาเหตุนี้ ถ้าต้องการให้คลื่นสะท้อนกับวัตถุที่มีขนาดเล็กได้ จะต้องให้คลื่นมีความยาวคลื่นน้อย
นั่นคือ ความถี่ของเสียงจะต้อง มีค่าสูง เรียกเครื่องกาเนิดคลื่นเสียง ความถี่สูงว่า โซนาร์ (sonar)
โซนาร์

เครื่องโซนาร์ SONAR (sound navigation and ranging) เป็นเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์สาหรับ


ตรวจหาวัตถุใต้น้า ใช้สาหรับค้นหาเรือดาน้า หาตาแหน่งของเรือที่จมในทะเล หาฝูงปลา และหยั่งความลึกของ
ท้องทะเลได้อย่างดี (ที่มาhttp://www.neutron.rmutphysics.com/science-news/index.php?option=com_content&task=view&id=2150&Itemid)

หลักการของเครื่องโซนาร์
คลื่นเสียงจากโซนาร์จะเดินทางผ่านน้าลงไปกระทบกับวัตถุหรือก้นทะเล แล้วคลื่นเสียงจะสะท้อน
กลับสู่เครื่องโซนาร์ และเครื่องโซนาร์จะวัดเวลาที่คลื่นเสียงเคลื่อนที่ไปและกลับ สามารถนาข้อมูลที่ได้มา
𝑣
คานวณหาระยะทางที่คลื่นเสียงเดินทางไปได้ดังสมการ 𝑣 =
𝑣

ตัวอย่าง
เรือหาปลาลาหนึ่งตรวจหาฝูงปลาด้วยโซนาร์ โดยส่งคลื่นกลของเสียงด้วยความถี่สูงลงไปในทะเลถ้าฝูง
ปลาอยู่ห่างจากเครื่องกาเนิดคลื่นไปทางหัวเรือเป็นระยะ 120 เมตร และอยู่ ลึกจากผิวน้าเป็นระยะ 90 เมตร
หลังจากส่งคลื่นกลจากโซนาร์ไปเป็นเวลานานเท่าใด จึงจะได้รับคลื่นที่สะท้อนกลับมา กาหนดให้ความเร็วเสียง
ในน้าทะเลเท่ากับ 1,500 เมตร/วินาที (ที่มาhttp://119.46.166.126/self_all/selfaccess11/m5/physics5_2/lesson2/content1.php
สืบค้น วันที่ 7/9/63) (เฉลย 0.2 วินาที )
ลองทาดู
ถ้าต้องการคัดขนาดผลไม้ โดยอาศัยการสะท้อนของเสียงจากโซนาร์ โดยต้องการแยกผลไม้ ขนาด
ใหญ่กว่าและเล็กกว่า 8 เซนติเมตร ออกจากกัน เมื่อเสียงมีความเร็วในอากาศ 340 เมตร/วินาที จงหาความถี่ที่
เหมาะสมของคลื่นโซนาร์ (ที่มาhttp://119.46.166.126/self_all/selfaccess11/m5/physics5_2/lesson2/content1.php สืบค้น วันที่
7/9/63) (เฉลย 4.25 kHz)

การหักเหของเสียง (Refraction)
การหักเหของเสียง เกิดจากคลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งไปสู่ตัวกลางหนึ่ง โดยมีความเร็วเปลี่ยนไป
แต่ความถี่คงตัว อุณหภูมิที่เปลี่ยนทาให้ความเร็วของเสียงในอากาศเปลี่ยนไป และขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของ
ตัวกลาง เป็นไปตามกฎของสเนลล์ (Snell’s law) คือ
𝑣𝑣𝑣1 1 𝑣1 𝑣1
= = =√ ตัวกลางอากาศ
𝑣𝑣𝑣2 2 𝑣2 𝑣2

(นิรันดร์ สุวรัตน์, 2553)


สถานการณ์ที่เกิดฟ้าแลบแต่ไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง สามารถอธิบายโดยใช้สมบัติการหักเห ของคลื่น
เมื่ออุณหภูมิอากาศที่ผิวดิน มีอุณหภูมิสูงกว่าเสียงเดินทางจากตัวกลางที่มีความเร็วต่าสู่ตัวกลางที่มีความเร็วสูง
เสียงจะเคลื่อนที่เบนออกจากเส้นแนวฉากจนใน ที่สุดจะเกิดการสะท้อนกลับหมด เสียงจะเบนกลับตัวกลางเดิม

ตัวอย่าง

1. อุณหภูมิของอากาศมีความแตกต่างกันเป็น T1และ T2 ถ้าวัดความเร็วของเสียงในตัวกลาง 1 และ 2


ปรากฏว่าความเร็วในตัวกลางที่ 2 เป็น 2 เท่าของตัวกลางที่ 1 จงหาว่าอุณหภูมิแตกต่างกันกี่
เปอร์เซ็นต์ (เฉลย 75%)
2. เสียงเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีอุณหภูมิ 27 oC ไปสาบริเวณที่มีอุณภูมิเท่าใด จึงทาให้ความยาวคลื่นเป็น
3
เท่าของความยาวคลื่นเดิม (เฉลย402 oC)
2

ลองทาดู
1. คลื่นเสียงเคลื่อนที่ในอากาศจากบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง T1 โดยมีมุมตกกระทบเท่ากับ θ1 และ
มุมหักเห θ2 จงหาค่าอัตราส่วนระหว่าง sinθ1 กับ sinθ2 เมื่อ T1 = 5T2

2. ถ้าเสียงเดินทางจากตัวกลางหนึ่งไปยังตัวกลางสองโดยเพิ่มความยาวคลื่นเป็นสองเท่าของความ
ยาวคลื่นเดิม จงหามุมวิกฤตที่เกิดขึ้น (เฉลย 30o) (นิรันดร์ สุวรัตน์, 2553)
การแทรกสอดของคลื่นเสียง
เมื่อนาเสียงจากแหล่งกาเนิด เสียงที่เป็นแหล่งกาเนิดอาพันธ์ 2 แหล่งมารวมกัน เสียงจะเกิดการ
แทรกสอด เช่นเดียวกันกับคลื่นผิวน้า

ในการคานวณเกี่ยวกับการแทรกสอดของคลื่นเสียง

ตัวอย่าง
1. S1 และ s2 เป็นลาโพง วางห่างกัน 3 เมตร ในที่โล่ง Q เป็นผู้ฟังอยู่ห่างจาก s1 5เมตร และห่างจาก
s2 4 เมตร เสียงความถี่ต่าสุดที่หักล้างกันทาให้ Q ได้ยินเสียงเบาที่สุดเท่าไร ถ้าอัตราเร็วเสียงใน
อากาศเป็น 340 m/s (เฉลย 170 Hz) (นิรันดร์ สุวรัตน์, 2553)
2. จากรูป A และ B เป็นลาโพง 2 ตัว อยู่ห่างกัน 3 เมตร ผู้สังเกตยืนอยู่ที่จุด C ซึ่งได้ยิน
เสียงชัดเจน อยากทราบว่าเมื่อเขาเดินเป็นเส้นตรงจาก C เข้าหา B เขาจะรู้สึกได้ยินเสียงจางหายกี่
ครั้ง กาหนดให้ความยาวคลื่นของเสียงจากลาโพงทั้งสองเป็น 0.5 เมตร และมีเฟสตรงกัน (เฉลย
หักล้างกันบนเส้นตรง C ไปยัง B จานวน 4 ครั้ง)

การเลี้ยวเบนของเสียง
เสียงสามารถเคลื่อนที่อ้อมสิ่งกีดขวางได้ ทาให้เราได้ยินเสียงเสมอไม่ว่าจะอยู่ด้านหลังของสิ่งกีดขวาง
และการเลี้ยวเบนของคลื่นเสียง เป็นไปตามหลักของฮอยเกนต์ คือ ทุกๆ จุดบนหน้าคลื่นถือเสมือนเป็น
แหล่งกาเนิดคลื่นใหม่ (http://119.46.166.126/self_all/selfaccess11/m5/physics5_2/lesson2/content1.php) เสียงจะ
เลี้ยวเบนได้ดีต่อเมื่อ  = 𝑣

http://119.46.166.126/self_all/selfaccess11/m5/physics5_2/lesson2/content1.php

You might also like