Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 45

สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

Chapter 8 แคลคูลัส
8.1 ลิมติ ของฟังก์ชัน

สรุป
lim f(x) = L ก็ต่อเมื่อ lim+ f(x) = L = lim− f(x)
x →a x →a x →a

ข้อสังเกต

1. ลิมิตของ f(x) จะหาค่าได้เมื่อ ลิมิตทางซ้าย = ลิมิตทางขวา

2. ถ้า ลิมิตทางซ้าย  ลิมิตทางขวา แสดงว่า ลิมิตของ f(x) ไม่มีค่า (doesn’t exsist)

แบบฝึกหัดที่ 1 กำหนดกราฟของฟังก์ชัน f ดังรูป

จงหาค่าของ

1) f(0) = ………………………………. 2) lim− f(x) = ……………………………….


x →3

3) lim+ f(x) = ………………………………. 4) lim f(x) = ……………………………….


x →3 x →3

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 1


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

แบบฝึกหัดที่ 2 กำหนดกราฟของฟังก์ชัน f ดังรูป

จงหาค่าของ
1) f(-2) = ………………………………. 2) lim − f(x) = ……………………………….
x →−2

3) lim + f(x) = ………………………………. 4) lim f(x) = ……………………………….


x →−2 x →−2

5) f(2) = ………………………………. 6) lim+ f(x) = ……………………………….


x →2

7) lim− f(x) = ………………………………. 8) lim f(x) = ……………………………….


x →2 x →2

แบบฝึกหัดที่ 3 กำหนดกราฟของฟังก์ชัน g ดังรูป

จงหาค่าของ

1) g(0) = ………………………………. 2) lim− g(x) = ……………………………….


x →0

3) lim+ g(x) = ………………………………. 4) lim g(x) = ……………………………….


x →0 x →0

5) g(2) = ………………………………. 6) lim− g(x) = ……………………………….


x →2

7) lim+ g(x) = ………………………………. 8) lim g(x) = ……………………………….


x →2 x →2

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 2


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

ทฤษฎีบทที่สำคัญในการหาค่าของลิมิต
กำหนดให้ a, c, A, B เป็นจำนวนจริง ถ้า f และ g เป็นฟังก์ชันที่มีโดเมนและเรนจ์เป็นสับเซตของจำนวนจริง
โดยที่ lim f(x) = A และ lim g(x) = B แล้ว
x →a x →a

1. lim c = c
x →a

2. lim x = a
x →a

3. lim x n = an เมื่อ n เป็นจำนวนตรรกยะ


x →a

4. lim cf(x) = c lim f(x)


x →a x →a

5. lim[f(x) + g(x)] = lim f(x) + lim g(x) = A + B


x →a x →a x →a

6. lim[f(x) − g(x)] = lim f(x) − lim g(x) = A − B


x →a x →a x →a

7. lim[f(x)  g(x)] = lim f(x)  lim g(x) = A  B


x →a x →a x →a

 f(x)  lim f(x) A


8. lim   = x→a = เมื่อ B  0
  lim
x →a g(x)
x →a
g(x) B
n
9. lim  f(x)  =  lim f(x)  = A n
n
x →a  x→a 
10. lim n f(x) = n lim f(x) = n A
x →a x →a

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 3


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

แบบฝึกหัดที่ 1 จงหาค่าของลิมิตต่อไปนี้

1) lim x 2 2) lim(2x + 10)


x →2 x →4

x +1
3) lim 4) lim 4x 3
x →−10 3 x →2

เทคนิคการหาค่าลิมิต

เทคนิคที่ 1 การแยกตัวประกอบ/ดึงตัวร่วม

x2 + x
แบบฝึกหัดที่ 2 จงหาค่าของ lim
x →0 x

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 4


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

x2 − 1
แบบฝึกหัดที่ 3 จงหาค่าของ lim
x →1 x − 1

x2 − 9
แบบฝึกหัดที่ 4 จงหาค่าของ lim
x →−3 x + 3

x2 + x − 2
แบบฝึกหัดที่ 5 จงหาค่าของ lim 2
x →−1 x − 4x + 3

x2 − 4
แบบฝึกหัดที่ 6 จงหาค่าของ lim 3
x →2 x − 8

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 5


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

x 4 − 16
แบบฝึกหัดที่ 7 จงหาค่าของ lim
x →2 4 − x 2

x3 − x2 − x − 2
แบบฝึกหัดที่ 8 จงหาค่าของ lim
x →2 x −2

x 3 + 2x 2 − x − 2
แบบฝึกหัดที่ 9 จงหาค่าของ lim
x →−1 1+ x

x2 + x − 2
แบบฝึกหัดที่ 10 จงหาค่าของ lim 2
x →1 x − 2x + 1

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 6


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

เทคนิคที่ 2 เทคนิคการคูณด้วยสังยุค (conjugate)

x −1
แบบฝึกหัดที่ 11 จงหาค่าของ lim
x →1 x −1

3− x
แบบฝึกหัดที่ 12 จงหาค่าของ lim
x →9 9 − x

x 2 − 16
แบบฝึกหัดที่ 13 จงหาค่าของ lim
x →4 2 − x

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 7


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

2− x+3
แบบฝึกหัดที่ 14 จงหาค่าของ lim
x →1 x −1

เทคนิคที่ 3 การคิดลิมิตในรูปค่าสัมบูรณ์

x + 2x
แบบฝึกหัดที่ 15 จงหาค่าของ lim
x →0 3x

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 8


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

x −1
แบบฝึกหัดที่ 16 จงหาค่าของ lim
x →1 1 − x

x − 1 − x2 + 1
แบบฝึกหัดที่ 17 จงหาค่าของ lim+
x →1 2x − 2

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 9


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

1  x3 − 1 
แบบฝึกหัดที่ 18 จงหาค่าของ lim−
x →1 x + 1  x − 1 
 

2x 2 − 3x
แบบฝึกหัดที่ 19 จงหาค่าของ lim3
x → 2x − 3
2

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 10


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

เทคนิคที่ 4 การคิดลิมิตของฟังก์ชันแบบบอกเงื่อนไข

4 − x 2 ,x  1
แบบฝึกหัดที่ 20 กำหนดให้ f(x) =  จงหา lim f(x)
 2 + x 2
,x  1 x →1

 x +1 เมื่ อ x 0
 1− x

แบบฝึกหัดที่ 21 กำหนดให้ f(x) =  x + 1 เมื่ อ 0  x  2
 2
 x − 5x + 9 เมื่ อ x 2

จงหา

1) lim f(x)
x →0

2) lim+ f(x)
x →2

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 11


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

x −2
แบบฝึกหัดที่ 22 lim− มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (วิชาสามัญ คณิต 1 2562)
x →2 x 2 + 5x − 14

1 1 1 1
1. − 2. − 3. 0 4. 5.
5 9 9 5

1+ x + 1− x
แบบฝึกหัดที่ 23 จงหาค่าของ lim
x →0 x

2x + 5 − 2x 2 + 1
แบบฝึกหัดที่ 24 จงหาค่าของ lim
x →2 x −2

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 12


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

8.2 ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน

ทฤษฎีบท
f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ x = a ก็ต่อเมื่อ
1. f(a) หาค่าได้

2. lim f(x) หาค่าได้ ( lim− f(x) = lim+ f(x)


x →a x →a x →a

3. lim f(x) = f(a)


x →a

 x 2 + 2 , x  1
แบบฝึกหัดที่ 25 กำหนด f(x) = 
 4 − x , x  1
จงพิจารณาว่า f มีความต่อเนื่องที่ x = 1 หรือไม่

 x 2 − 9 , x  −3

แบบฝึกหัดที่ 26 กำหนด f(x) =  x + 3
,x = 3
 −6

จงพิจารณาว่า f มีความต่อเนื่องที่ x = -3 หรือไม่

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 13


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

 x2 − 1
 x3 − 1 , x  1
แบบฝึกหัดที่ 27 กำหนด f(x) = 
,x =1
 3
 2
จงพิจารณาว่า f มีความต่อเนื่องที่ x = 1 หรือไม่

ax − x − 1 , x  2
 2

แบบฝึกหัดที่ 28 กำหนดให้ f(x) =  เมื่อ a เป็นจำนวนจริง


 x − a , x  2

จงหาค่าของ a ที่ทำให้ฟังก์ชัน f ต่อเนื่องทุกจุด

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 14


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

 ax + b เมื่ อ x 2

แบบฝึกหัดที่ 29 กำหนดให้ f(x) =  1 − x เมื่ อ 2  x  4 เมื่อ a, b เป็นจำนวนจริง
 2
 x − ax − b เมื่ อ x4

จงหาค่าของ a, b ที่ทำให้ฟังก์ชัน f ต่อเนื่องทุกจุด

แบบฝึกหัดที่ 30 กำหนดกราฟของฟังก์ชัน f ดังนี้

ข้อใดไม่ถูกต้อง (PAT1 2565)


1. f(0) = f(3) 2. lim f(x) = 2
x →2

1 3
3. lim− f(x) = lim+ f(x) 4. f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง  , 
x →0 x →1 2 2
5. f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง [1,2)

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 15


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

 3 − x ,x  3

แบบฝึกหัดที่ 31 กำหนด f(x) =  3 − x โดยที่ a เป็นจำนวนจริง
,x  3
ax + 10

ถ้า f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนเซตของจำนวนจริง จงหาค่าของ f(a − 6) + f(a) + f(a + 6)


(PAT1 ก.พ. 61)

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 16


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

8.3 อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

ทฤษฎีบท

ให้ f เป็นฟังก์ชัน

อนุพันธ์ (derivative) ของฟังก์ชัน f ที่ x เขียนแทนด้วย f (x) คือ

f(x + h) − f(x)
f (x) = lim
h→0 h
Note เราสามารถเขียนสัญลักษณ์อนุพันธ์ของฟังก์ชันได้หลายแบบ คือ

dy d
f (x) = = f(x) = y
dx dx

สรุปสูตรการหาอนุพันธ์
d
1. (c) = 0
dx
d
2. (x) = 1
dx
d n
3. (x ) = nx n−1
dx
d df(x)
4.  cf(x)  = c
dx dx
d d d
5.  f(x)  g(x)  = f(x)  g(x)
dx dx dx
d d d
6.  f  g  = f (g) + g (f)
dx dx dx
d d
g (f) − f (g)
d  f  dx dx
7.   = 2
dx  g  g

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 17


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

แบบฝึกหัดที่ 32 จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้
1 1 3 2
1) f(x) = 3x 8 + 9x −2 − x 4 + 5 2) f(x) = + 2 + 3
2 x x x

1
3) f(x) = 4 x + 6 3 x + 4) f(x) = (4x 2 + x − 1)(x − 2)
x

1 3
5) f(x) = ( 5 x − 1)  x 9 + x  6) f(t) =
9  t2 + 1

x −10x
7) g(x) = 8) f(x) =
x 3 − 2x 2 3
x +1

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 18


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

แบบฝึกหัดที่ 33 กำหนด f(x) = x 3 − 2x 2 + 1 จงหา f (x) และ f (−2)

1
แบบฝึกหัดที่ 34 กำหนด f(x) = 2 x − จงหา f (1)
x

2x − 1
แบบฝึกหัดที่ 35 กำหนด f(x) = จงหา f (2)
x +1

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 19


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

8.4 การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันประกอบ (กฎลูกโซ่)

สูตร 1 ถ้า f หาอนุพันธ์ได้ที่ x และ g หาอนุพันธ์ได้ที่ f(x) แล้ว

(g f)(x) = g(f(x))  f (x)

สูตร 2

dy dy du
= 
dx du dx

จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน y = (2x + 1)
3
แบบฝึกหัดที่ 36

แบบฝึกหัดที่ 37 จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน y = x 2 + 3x − 1

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 20


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน y = ( x 2 + x − 1)
20
แบบฝึกหัดที่ 38

 1 −5
แบบฝึกหัดที่ 39 กำหนด y =  2x +  จงหา f (2)
 x

แบบฝึกหัดที่ 40 กกำหนดให้ F(x) = f(g(x)) จงหา F(2) เมื่อ g(2) = 4, g(2) = 5, f (2) = 6
และ f (4) = 9

1 2
แบบฝึกหัดที่ 41 ให้ f(x) = 2
+ x และ g(x) = x 3 + 1 จงหา ( g f ) (1)
x

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 21


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

แบบฝึกหัดที่ 42 ให้ f เป็นฟังก์ชัน โดยที่ f (x) = 2x + 1 ถ้า h(x) = f(x 2 ) แล้ว h(x) เท่ากับเท่าใด
(วิชาสามัญ คณิต 1 2565)
1. 4x + 2 2. 2x 2 + 1
3. 4x 2 + 2x 4. 4x 3 + 2x
5. 4x 3 + 4x

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 22


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

8.5 เส้นสัมผัสเส้นโค้ง

บทนิยาม กำหนดให้ y = f(x) เป็นสมการเส้นโค้ง

1) เส้นสัมผัสเส้นโค้งของ f ที่จุด P(x, y) จะมีความชันเท่ากับ f (x)


2) ความชันของเส้นโค้ง f ณ จุด P(x, y) คือ ความชันของเส้นสัมผัสเส้นโค้ง ณ จุด P(x, y)

Note 1) การหาสมการเส้นสัมผัสโค้ง หาได้จากสูตร y − y1 = m(x − x1 )


2) ถ้าเส้นตรงสองเส้นขนานกัน แล้ว ความชันของเส้นตรงทั้งสองจะเท่ากัน
3) ถ้าเส้นตรงสองเส้นตั้งฉากกัน แล้ว ผลคูณของความชันของเส้นตรงทั้งสองเท่ากับ -1

แบบฝึกหัดที่ 43 กำหนดเส้นโค้ง y = x จงหา


2

1) ความชันของเส้นสัมผัสโค้งที่จุด (3, 9) 2) สมการของเส้นสัมผัสโค้ง ณ จุด (3, 9)

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 23


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

แบบฝึกหัดที่ 44 กำหนดเส้นโค้ง y = x − 3x + 2 จงหา


2

1) ความชันของเส้นสัมผัสโค้งที่จุด (3, 2)

2) สมการของเส้นสัมผัสโค้ง ณ จุด (3, 2)

3) สมการของเส้นตรงที่ตั้งฉากกับเส้นตรงที่สัมผัสเส้นโค้งที่จุด (3, 2)

แบบฝึกหัดที่ 45 จงหาจุดบนเส้นโค้ง y = x 2 − 3x − 4 ที่มีความชันของเส้นสัมผัสเท่ากับ 1

6
แบบฝึกหัดที่ 46 สมการของเส้นสัมผัสเส้นโค้ง y = ที่จุด (1, 3) ตรงกับข้อใดต่อไปนี้
x +1
(วิชาสามัญ คณิต 1 2561)
1. x + y = 4 2. 3x − 2y = −3
3. 3x + 2y = 9 4. 2x − 3y = −7
5. 2x + 3y = 11

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 24


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

8.6 อนุพันธ์อันดับสูง

ให้ y = f(x)

/ dy
อนุพันธ์อันดับหนึ่งของ f(x) เขียนแทนด้วย f / (x) หรือ y หรือ
dx

// d2 y //
อนุพันธ์อันดับสองของ f(x) เขียนแทนด้วย f (x) หรือ y หรือ 2
dx

/// /// d3 y
อนุพันธ์อันดับสามของ f(x) เขียนแทนด้วย f (x) หรือ y หรือ 3
dx

(4) d4 y
(4)
อนุพันธ์อันดับสี่ของ f(x) เขียนแทนด้วย f (x) หรือ y หรือ 4
dx

(5) d5 y
(5)
อนุพันธ์อันดับห้าของ f(x) เขียนแทนด้วย f (x) หรือ y หรือ 5
dx

กำหนด y = x − x + 2x + 1 จงหา y , y , y และ y


5 4 / // / / / (4)
แบบฝึกหัดที่ 47

แบบฝึกหัดที่ 48 จงหา f (3) เมื่อ f(x) = 2x 4 + 10

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 25


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

8.7 การประยุกต์ของอนุพันธ์
เราสามารถนำความรู้เรื่องอนุพันธ์ไปประยุกต์ใช้ได้ในหลาย ๆ หัวข้อ ดังนี้

1. การเคลื่อนที่แนวตรง
2. ค่าต่ำสุดและค่าสูงสุดของฟังก์ชัน
3. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับค่าสูงสุดหรือค่าต่ำสุด

8.7.1 การเคลื่อนที่แนวตรง

ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์

s ds
v= v=
t dt

v dv
a= a=
t dt

สรุป ..............................................................................................................................................

แบบฝึกหัดที่ 49 ให้ s(t) = 2t + t เป็นฟังก์ชันแสดงตำแหน่งของวัตถุที่เคลื่อนที่ในแนวราบ (หน่วยเป็น


2

เมตร) ขณะเวลา t วินาที จงหา


1) ระยะห่างของวัตถุจากตำแหน่งเริ่มต้นขณะเวลา 10 วินาที

2) ความเร็วของวัตถุขณะเวลา 10 วินาที

3) ความเร่งของวัตถุขณะเวลา 10 วินาที

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 26


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

8.7.2 ค่าสูงสุดและค่าต่ำสุดของฟังก์ชัน

ฟังก์ชันเพิ่มและฟังก์ชันลด

ฟังก์ชันเพิ่ม ฟังก์ชันลด

บทนิยาม กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชันที่มีโดเมนและเรนจ์เป็นสับเซตของเซตของจำนวนจริง และ A เป็นสับเซตของ


โดเมน
- f เป็นฟังก์ชันเพิ่ม บน A ก็ต่อเมื่อ สำหรับ x1 และ x2 ใด ๆ ใน A
ถ้า x 1  x 2 แล้ว f(x 1 )  f(x 2 )
- f เป็นฟังก์ชันลด บน A ก็ต่อเมื่อ สำหรับ x1 และ x2 ใด ๆ ใน A
ถ้า x 1  x 2 แล้ว f(x 1 )  f(x 2 )

ทฤษฎีบท ให้ f เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้บนช่วง A ซึ่งเป็นสับเซตของโดเมนของฟังก์ชัน f


- ถ้า f (x)  0 สำหรับทุก x บนช่วง A แล้ว f เป็นฟังก์ชันเพิ่มบนช่วง A
- ถ้า f (x)  0 สำหรับทุก x บนช่วง A แล้ว f เป็นฟังก์ชันลดบนช่วง A

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 27


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

ค่าสูงสุดและค่าต่ำสุดสัมพัทธ์

จุดสูงสุดสัมพัทธ์ คือ ................................................................................


จุดต่ำสุดสัมพัทธ์ คือ ................................................................................
จุดวิกฤติ คือ ................................................................................
ทฤษฎีบท 1. ถ้า f มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์หรือต่ำสุดสัมพัทธ์ที่ x = c แล้ว f (c) = 0

2. เรียกค่า c ที่ทำให้ f (c) = 0 หรือ f (c) หาค่าไม่ได้ ว่า ค่าวิกฤติ

( )
และเรียกจุด c,f(c) ว่า จุดวิกฤติ

ขั้นตอนในการหาจุดต่ำสุดสัมพัทธ์หรือสูงสุดสัมพัทธ์
ขั้นที่ 1 หาค่าวิกฤติ คือ ค่า c ที่ทำให้ f (c) = 0

ขั้นที่ 2 นำค่าวิกฤต c ที่ได้จากขั้นที่ 1 ไปตรวจสอบว่าเป็นค่าต่ำสุดสัมพัทธ์หรือสูงสุดสัมพัทธ์

วิธีการตรวจสอบที่ 1 การตรวจสอบโดยใช้อนุพันธ์อันดับ 1

1) ถ้าความชันเปลี่ยนจาก บวก เป็น ลบ จุดดังกล่าวจะเป็นจุดสูงสุดสัมพัทธ์

2) ถ้าความชันเปลี่ยนจาก ลบ เป็น บวก จุดดังกล่าวจะเป็นจุดต่ำสุดสัมพัทธ์

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 28


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

วิธีการตรวจสอบที่ 2 ตรวจสอบโดยใช้อนุพันธ์อันดับ 2

1) ถ้า f (c)  0 แล้ว จุดดังกล่าวเป็นจุดต่ำสุดสัมพัทธ์

2) ถ้า f (c)  0 แล้ว จุดดังกล่าวเป็นจุดสูงสุดสัมพัทธ์

3) ถ้า f (c) = 0 สรุปไม่ได้ กลับไปใช้วิธีการตรวจสอบที่ 1

แบบฝึกหัดที่ 50 จงหาค่าวิกฤติ จุดวิกฤติ ช่วงที่ทำให้ฟังก์ชันเพิ่ม-ลด ค่าสูงสุดและต่ำสุดสัมพัทธ์ของฟังก์ชัน


(ถ้ามี) ของฟังก์ชัน f(x) = 2x 3 + 3x 2 − 12x − 7

แบบฝึกหัดที่ 51 จงหาค่าวิกฤติ จุดวิกฤติ ช่วงที่ทำให้ฟังก์ชันเพิ่ม-ลด ค่าสูงสุดและต่ำสุดสัมพัทธ์ของฟังก์ชัน


(ถ้ามี) ของฟังก์ชัน f(x) = −x 3 − 3x 2 + 9x + 10

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 29


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

ค่าสูงสุดและค่าต่ำสุดสัมบูรณ์

แบบฝึกหัดที่ 52 จงหาค่าสูงสุดและต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน f(x) = 2x 3 − 3x 2 − 36x + 42 บนช่วงปิด


[-5, 5]

แบบฝึกหัดที่ 53 จงหาค่าสูงสุดและต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน f(x) = x 3 − 3x + 2 บนช่วงเปิด [0, 2]

แบบฝึกหัดที่ 54 จงหาค่าสูงสุดและต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน f(x) = x 4 − 8x 2 + 12 บนช่วงเปิด [-2, 4]

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 30


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

แบบฝึกหัดที่ 55 ให้ฟังก์ชัน f : → โดยที่ f(x) = −x 3 + ax 2 + bx + c เมื่อ a, b และ c เป็น


จำนวนจริง ถ้า f(0) = 3 และ f มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์ที่ x = 1 และค่าต่ำสุดสัมพัทธ์ที่ x = -1 แล้ว f(1)
เท่ากับเท่าใด (วิชาสามัญ คณิต 1 2564)
1. -1 2. 1 3. 3 4. 5 5. 7

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 31


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

แบบฝึกหัดที่ 56 กำหนดให้ f(x) = x 3 + ax 2 + bx + c เมื่อ a, b, c เป็นจำนวนจริง


ถ้า f มีค่าวิกฤติที่ x = -1 และ x = 2 แล้วพิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก) f มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์ที่ x = -1
ข) f มีค่าต่ำสุดสัมพัทธ์ที่ x = 2
ค) บนช่วง (-1, 2) f เป็นฟังก์ชันเพิ่ม
ง) บนช่วง (−, − 1) f เป็นฟังก์ชันลด
จำนวนข้อความที่ถูกต้องเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (วิชาสามัญ คณิต 1 2563)
1. 0 (ไม่มีข้อความที่ถูกต้อง) 2. 1
3. 2 4. 3
5. 4

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 32


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

แบบฝึกหัดที่ 57 กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วงเปิด (0, 6) และกราฟของ f  เป็นดังรูป

ข้อใดไม่ถูกต้อง (PAT1 2564)


1. f มีจุดวิกฤตที่ x = 1
2. f มีค่าต่ำสุดสัมพัทธ์ที่ x = 1 และ x = 4
3. f มีค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์บนช่วง [2, 5]
4. f เป็นฟังก์ชันเพิ่มบนช่วง (1, 3)
5. f เป็นฟังก์ชันค่าคงตัวบนช่วง (0, 1)

แบบฝึกหัดที่ 58 ให้ c เป็นจำนวนจริง และให้ f(x) = −x 3 − 12x 2 − 45x + c สำหรับทุกจำนวนจริง x


ถ้าค่าสูงสุดสัมพัทธ์ของ f เท่ากับ 53 แล้วค่าของ f(c) เท่ากับเท่าใด (PAT1 2563)

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 33


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

แบบฝึกหัดเพิ่มเติม
1. ให้ f(x) = x 3 + ax 2 − bx + 2 มีค่าต่ำสุดสัมพัทธ์เป็น -1 ที่ x = 1 จงหา a + b (แนว A-Level คณิต1)

2. กำหนดให้ a, b, c, d เป็นจำนวนจริง และ f(x) = ax 3 + bx 2 + cx + d โดยที่ f มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์เป็น 2 ที่


x = 1 และ f (1) = −4 ถ้า f(0) = 1 แล้ว f มีค่าต่ำสุดสัมพัทธ์ที่จุดใด (แนว A-Level คณิต1)

3. กำหนดให้ f(x) = x 3 + cx 2 − 9x เมื่อ c เป็นจำนวนจริง ถ้าค่าวิกฤติหนึ่งของ f คือ 1 แล้ว f เป็นฟังก์ชันลดใน


เซตใดต่อไปนี้ (แนว A-Level คณิต1)
ก. (-3, 1) ข. (−, − 3)  (1, ) ค. (−1, 4) ง. (−, − 1)  (4, )

4. กำหนดสมการเส้นโค้ง f(x) = ax 3 + bx 2 + 8x − 2 เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริง ถ้าฟังก์ชันนี้มีจุดต่ำสุด


10
สัมพัทธ์ที่  4,  แล้ว f เป็นฟังก์ชันลดในช่วงใด (แนว A-Level คณิต1)
 3
ก. (-3, 4) ข. (2, 4) ค. (1, 4) ง. (3, 4)

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 34


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

โจทย์ปญ
ั หาเกี่ยวกับค่าสูงสุดและค่าต่ำสุด

แบบฝึกหัดที่ 59 ต้องการนำลวดหนามยาว 1,000 เมตร มากั้นพื้นที่เป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากโดยที่พื้นที่ด้าน


หนึ่งอยู่ติดริมรั้วบ้าน จึงไม่ต้องขึงลวดหนามกั้น จงหาขนาดของรูปสี่เหลี่ยมดังกล่าวที่ทำให้ได้พื้นที่
มากที่สุด และจะได้พื้นที่ที่มากที่สุดเป็นเท่าใด

แบบฝึกหัดที่ 60 ผลบวกของเลขจำนวนหนึ่งกับสามเท่าของเลขอีกจำนวนหนึ่งเท่ากับ 60 จงหาว่า ผลคูณ


ของเลขสองจำนวนนี้มีค่ามากที่สุดเป็นเท่าใด

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 35


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

8.8 ปฏิยานุพันธ์และปริพันธ์ไม่จำกัดเขต

NOTE เราจะเขียนแทนรูปทั่วไปของปฏิยานุพันธ์ของ f ด้วยสัญลักษณ์  f(x)dx

ดังนั้น

 f(x)dx = F(x) + c
สูตรการหาปริพันธ์ไม่จำกัดเขต

1.  kdx = kx + c เมื่อ k,c เป็นค่าคงตัว

x a+1
2.  x dx =a
เมื่อ c เป็นค่าคงตัว และ a เป็นจำนวนจริงที่ a  1
a +1

3.  kf(x)dx = k  f(x)dx

4.  ( f(x)  g(x) ) dx =  f(x)dx   g(x)dx

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 36


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

แบบฝึกหัดที่ 61 จงหาค่าอินทิกรัลไม่จำกัดเขตในแต่ละข้อต่อไปนี้
1)  (x 2 − 2x + 5)dx 2)  (4x 3 − x −2 + 4)dx

1 1
3)  (8x 9 − x )dx 4)   2 + 3  dx
x x 

 23 − 43 
5)   x + x  dx  x ( x + 2x ) dx
2
6)
 

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 37


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

แบบฝึกหัดที่ 62 ถ้า f (x) = x และ f(2) = 2 แล้ว จงหา f(x)

แบบฝึกหัดที่ 63 ถ้า f (x) = 3x 2 − 4x + 6 โดยที่ f(1) = 7 แล้ว จงหา f(x)

แบบฝึกหัดที่ 64 จงหาสมการของเส้นโค้ง เมื่อกำหนดความชันของเส้นโค้งที่จุด (x, y) ใด ๆ คือ


x 2 − 3x + 2 และผ่านจุด (2, 1)

แบบฝึกหัดที่ 65 จงหาสมการของเส้นโค้ง เมื่อกำหนดความชันของเส้นโค้งที่จุด (x, y) ใด ๆ คือ


6 + 3x 2 − 2x 4 และผ่านจุด (1, 0)

แบบฝึกหัดที่ 66 กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชันซึ่ง f (x) = 6x − 2 และ f มีค่าต่ำสุดสัมพัทธ์เป็น -1 ที่ x = 1


จงหา f(x)

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 38


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

1
x3
แบบฝึกหัดที่ 67 ถ้าเส้นโค้งเส้นหนึ่งผ่านจุด (8, 10) และมีความชันของเส้นโค้งที่จุด (x, y) ใด ๆ เป็น
3
แล้วเส้นโค้งนี้ผ่านจุดในข้อใดต่อไปนี้ (วิชาสามัญ คณิต 1 2562)
1. (0, 0) 2. (0, 1) 3. (0, 2) 4. (0, 4) 5. (0, 6)

8.9 ปริพันธ์จำกัดเขต

แบบฝึกหัดที่ 68 จงหาปริพันธ์จำกัดเขตต่อไปนี้
4

1)  (x 3 + 3)dx
1

2)  (x 2 − 2x − 3)dx
0

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 39


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

8.10 พื้นที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง

การหาพื้นที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง มี 3 รูปแบบ ดังนี้

รูปแบบที่ 1 f(x)  0 (พื้นที่แรเงาอยู่เหนือแกน x)

พื้นที่แรเงา (A) =  f(x)dx


a

ค้ง มี 3 รูปแบบ ดังนี้

รูปแบบที่ 2 f(x)  0 (พื้นที่แรเงาอยู่ใต้แกน x)

พื้นที่แรเงา (A) = −  f(x)dx


a

รูปแบบที่ 3 พื่นที่ระหว่างกราฟ 2 ฟังก์ชัน

พื้นที่แรเงา (A) = ....................................................

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 40


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

แบบฝึกหัดที่ 69 จงหาพื้นที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง y = x 2 กับแกน X เมื่อ x = 1 ถึง x = 4

แบบฝึกหัดที่ 70 จงหาพื้นที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง y = 9 − x 2 กับแกน X เมื่อ x = −3 ถึง x = 3

แบบฝึกหัดที่ 71 จงหาพื้นที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง y = 9 − x 2 กับแกน X เมื่อ x = −3 ถึง x = 3

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 41


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

แบบฝึกหัดที่ 72 ให้ f(x) = −x 2 + k เมื่อ k เป็นจำนวนจริงบวก ถ้าพื้นที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง y = f(x) กับ


แกน X เท่ากับ 36 ตารางหน่วย แล้ว f(-1) + f(1) เท่ากับเท่าใด (วิชาสามัญ คณิต 1 2565) (16)

แบบฝึกหัดที่ 73 ให้ L เป็นเส้นตรงที่มีความชันเท่ากับ -2 และสัมผัสพาราโบลา y = 17 − x 2


พื้นที่ปิดล้อมด้วยแกน X แกน Y และเส้นตรง L เท่ากับกี่ตารางหน่วย
(วิชาสามัญ คณิต 1 2564) (81)

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 42


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

แบบฝึกหัดที่ 74 ให้ a เป็นจำนวนจริงบวก ถ้าบริเวณที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง y = ax 2 + 2 แกน X เส้นตรง


x = 0 และเส้นตรง x = 5 มีพื้นที่เท่ากับ 135 ตารางหน่วย แล้วความชันของเส้นโค้ง y = ax 2 + 2
ที่ x = a เท่ากับเท่าใด (PAT1 2565) (18)

แบบฝึกหัดที่ 75 ถ้าพื้นที่ปิดล้อมด้วยกราฟของพาราโบลาซึ่งมีจุดยอดอยู่ที่ (0, -9) และแกน X มีค่าเท่ากับ 9


ตารางหน่วยแล้วสมการพาราโบลาคือข้อใดต่อไปนี้ (วิชาสามัญ คณิต 1 2563)
1. y = x 2 − 9 2. y = 2x 2 − 9
3. y = 4x 2 − 9 4. y = 8x 2 − 9
5. y = 16x 2 − 9

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 43


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

แบบฝึกหัดที่ 76 กำหนดให้ y = f(x) เป็นพาราโบลาที่มีจุดยอดอยู่ที่ (0, 0) และ y = g(x) เป็นพาราโบลาที่มี


จุดยอดอยู่ที่ (1, 4) ซึ่งมีกราฟดังรูป พื้นที่บริเวณที่แรเงา มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(วิชาสามัญ คณิต 1 2562)

4
1. 1 ตารางหน่วย 2. ตารางหน่วย
3
3 5
3. ตารางหน่วย 4. ตารางหน่วย
2 3
5. 2 ตารางหน่วย

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 44


สรุปคณิต A-Level Math 1 EP8 : แคลคูลัส

แบบฝึกหัดที่ 77 ให้ f(x) = 8 − x 2 และ g(x) = x 2 สำหรับทุกจำนวนจริง x


กราฟของ f และกราฟของ g ตัดกัน ดังรูป

ส่วนที่แรเงามีพื้นที่กี่ตารางหน่วย (PAT1 2565)


16 2 32 2
1. 2.
3 3
8 16
3. ( 4 2 + 1) 4. ( 2 + 2 )
3 3
32
5. ( 2 − 1)
3

ติดตามพวกเราได้ที่ สถาบันกวดวิชา The NEW GEN By P’MAC The NEW GEN 45

You might also like