Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 48

วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 2 ร ง มทรกซ์

เมทริกซ์ และดีเทอร์ มนิ ันต์


(Matrix and Determinant)

ใบความรู้ ที่ ความหมายและสั ญลักษณ์ ของเมทริกซ์

ความหมายและสั ญลักษณ์ของเมทริกซ์

บทนิยาม เมทริกซ์ (Martix) คือ กลุ่มของจานวนที่เรี ยงเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมมุมฉาก


โดยที่แต่ละแถวมีจานวนเท่าๆ กัน และอยูภ่ ายในเครื่ องหมาย [ ] หรื อ ( ) ก็ได้
a 11 a 12 a 1n แถวที่
a 21 a 22 a 2n แถวที่
A =
a m1 a n2 a mn m n
แถวที่ m

หลักที่ หลักที่ หลักที่ n

แต่ละจานวนในเครื่ องหมาย [ ] ว่า สม ชกข ง มทรกซ์


ตัวเลขที่เรี ยงกันในแนวนอน เรี ยกว่า ถว (Row)
ตัวเลขที่เรี ยงกันในแนวตั้ง เรี ยกว่า ลก (Column)
เรี ยกเมทริ กซ์ที่มี m แถว n หลัก ว่า เมทริ กซ์มีมิติ m n หรื อ m n เมทริ กซ์
a ij คือ สมาชิกของเมทริ กซ์ A ซึ่ งอยูใ่ นแถวที่ i หลักที่ j

ตัวอย่างที่ จากเมทริ กซ์ที่กาหนดให้ จงหา มิติของเมทริ กซ์และบอกสมาชิกแต่ละตัว


2 4
1 3 5
1) A = 2) B = 3 9
2 4 6
0 7

วิธีทา มิติของเมทริ กซ์ A เท่ากับ 2 3 .


มีสมาชิก คือ a11 1 , a12 3 , a13 5 , .
a 21 2 , a 22 4 , a 23 6 .
.
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 3 ร ง มทรกซ์

6
1 2
ตัวอย่างที่ กาหนด A = 4 5 9 , B= 7 และ C = จงหา
3 4
8
) 2a 11 b11 3c 22 = .

) a 11 c11 2a 13 b 21 = .

การเท่ากันของเมทริกซ์

บทนิยาม ถ้า A = [ a ij ] m n และ B = [ b ij ] m n


A = B ก็ต่อเมื่อ a ij = b ij หมายความว่า A = B ก็ต่อเมื่อ A และ B มีมิติเท่ากัน
และสมาชิกของ A และ B ในตาแหน่งเดียวกันมีค่าเท่ากัน

ตัวอย่างที่ จงพิจารณาว่าเมทริ กซ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้เท่ากันหรื อไม่


2 0 2 0
) =
1 3 1 3

3 5 1 2 5 1
2) .. ..
4 6 3 1 2 3

5 0 3 5 0 3
3) 6 1 7 .. . 6 1 7
4 2 9 4 2 9

ตัวอย่างที่ ถ้าเมทริ กซ์ที่กาหนดให้เป็ นเมทริ กซ์ที่เท่ากัน จงหาค่า x และ y


x 1 4 1
) =
3 0 3 y
x = 4 , y = 0

x 1 3 6 y 2
2) =
2 5 2 5
.
.
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 4 ร ง มทรกซ์

x2 1 2 1 3 2 1
3) 0 1 5 = 0 x 1 5
2x 1 6 8 5 6 8

x3 1 4 x 0 4 1
4) =
5 0 6 5 x 1 6
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 5 ร ง มทรกซ์

ใบกิจกรรมที่ ความหมายและสั ญลักษณ์ ของเมทริกซ์

จงตอบคาถามต่ อไปนี้
6 4
5 4 3 0
. ถ้า A = และ B = 2 8
1 6 2 9
9 7
1) มิติของ A = . .. มิติของ B =
2) จานวนสมาชิกของ A เท่ากับ ................. จานวนสมาชิกของ B เท่ากับ .................
) a 11 = . . a 14 = . a 22 = .. .. a 23 = .. ...
b 21 = . . b 22 = ... . b12 = . . . b 32 = . ..

. จงพิจารณาว่าเมทริ กซ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ เท่ากันหรื อไม่ เพราะเหตุใด


0 0 0
0 0
) กับ 0 0 0 ....................................................................................
0 0
0 0 0
0 3 3
) กับ ....................................................................................
0 4 4

. ถ้าเมทริ กซ์ที่กาหนดให้เป็ นเมทริ กซ์ที่เท่ากัน จงหาค่า x และ y


y 3 1 9 1
1) = ....................................................................................
x 5 6 4 6
....................................................................................

x 3 y 3
2) = ....................................................................................
2 y 2 2 2x
....................................................................................

....................................................................................

x y 1
3) = ....................................................................................
y 2x 8
....................................................................................

....................................................................................
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 6 ร ง มทรกซ์

แบบฝึ กทักษะที่ 1

3 4 1 2
1. ให้ A = 5 6 7 4
6 2 7 5
1.1 จงบอกมิติของเมทริ กซ์ A 1.2 จงเขียนสมาชิกในแถวที่สอง
1.3 จงเขียนสมาชิกในหลักที่สาม 1.4 จงหาค่าของ a 13 , a 23 และ a 34
1 0 0
2. ให้ B = 0 1 0 จงหาสิ่ งต่างๆ ต่อไปนี้ของเมทริ กซ์
0 0 1
2.1 มิติ 2.2 สมาชิกในแถวที่สอง
2.3 สมาชิกในหลักที่สอง 2.4 b12
2.5 สาหรับ b ij 0 , i และ j มีความสัมพันธ์กนั อย่างไร
2.6 สาหรับ b ij 0 , i และ j มีความสัมพันธ์กนั อย่างไร
3. จงบอกจานวนสมาชิกของเมทริ กซ์ที่มีมิติตามที่กาหนดให้ในแต่ละข้อต่อไปนี้
3.1 2 2 เมทริ กซ์ 3.2 3 5 เมทริ กซ์
3.3 m n เมทริ กซ์ 3.4 n n เมทริ กซ์
4. จงหาค่าของตัวแปรที่ทาให้สมการเมทริ กซ์ที่กาหนดให้ในแต่ละข้อเป็ นจริ ง
4.1 x y 3 1 = 0 3 y
x 1 y 2 3 4 3 3
4.2 =
1 4 x y 4 3
3 1 y 3 1 x
4.3 x 1 0 2 = 4 0 y 1
2x 4 1 6 4 1
x y 3 2 3
4.4 =
2x 2y 2 1 2

5. ถ้า x2 x + 1 = 0 แล้วเมทริ กซ์ต่อไปนี้ เท่ากันหรื อไม่


x2 x x2 x 1 0
, 2
0 x 0 x 1
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 7 ร ง มทรกซ์

เมทริกซ์ บางชนิดทีค่ วรรู้

1. เมทริ กซ์ จัตุรัส (Square matrix)

เมทริ กซ์ A = [aij] m n จะเป็ นเมทริ กซ์จตั ุรัส ก็ต่อเมื่อ m = n


แสดงว่า เมทริ กซ์จตั ุรัส คือ เมทริ กซ์ที่มีจานวนแถวเท่ากับจานวนหลัก
ถ้า A = [aij] m n เป็ นเมทริ กซ์จตั ุรัสแล้ว เส้นทแยงมุมที่ลากจากมุมบนซ้ายมือมายังมุมล่าขวามือ
จะผ่านสมาชิก a11 , a22 , a33 , , amn เส้นทแยงมุมนี้ เรี ยกว่า เส้ นทแยงมุมหลัก (main diagonal)

0 2 1 7
4 5 3 2
ตัวอย่าง เมทริ กซ์จตั ุรัส
3 1 5 1
5 2 9 8
เส้นทแยงมุมหลัก
2. เมทริกซ์ ศูนย์ (Zero matrix)

ถ้า A = [aij] m n เราจะเรี ยก A ว่าเป็ นเมทริ กซ์ศูนย์ ก็ต่อเมื่อ aij = 0


เมื่อ i = 1, 2, 3, , และ = 1, 2, 3, ,
กล่าวอย่างง่ายๆ ว่า เมทริ กซ์ศูนย์เป็ นเมทริ กซ์ที่มีสมาชิกทุกตัวเท่ากับศูนย์
ถ้า A เป็ นเมทริ กซ์ศูนย์ที่มีมิติ m n เราจะใช้สัญลักษณ์แทน A ดังนี้
A = 0 m n หรื อ A = 0
0 0 0
0 0
ตัวอย่าง เมทริ กซ์ศูนย์ที่มีมิติ 2 2 คือ , เมทริ กซ์ศูนย์ที่มีมิติ 3 3 คือ 0 0 0
0 0
0 0 0
3. เมทริกซ์ เอกลักษณ์ (Identity matrix)

ถ้า A = [aij] m n เป็ นเมทริ กซ์จตั ุรัสแล้ว เราจะเรี ยก A ว่าเป็ น เมทริ กซ์เอกลักษณ์ มิติ n n
1 เมื่อ i j
ก็ต่อเมื่อ aij =
0 เมื่อ i j
ใช้สัญลักษณ์ In แทนเมทริ กซ์เอกลักษณ์ที่มีมิติ n n

1 0 0
1 0
ตัวอย่าง I2 = , I3 = 0 1 0
0 1
0 0 1
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 8 ร ง มทรกซ์

ใบความรู้ ที่ การบวกและการลบเมทริกซ์

การบวกและการลบเมทริกซ์

บทนิยาม ถ้าเมทริ กซ์ A = [ a ij ] m n และ B = [ b ij ] m n


. A + B = [ a ij + b ij ] m n
. A B = [ a ij b ij ] m n

ข้ อสั งเกต
เมทริ กซ์ A และ B จะบวกและลบกันได้ ก็ต่อเมื่อ
1. A และ B ต้องมีมิติเท่ากัน
2. ให้นาสมาชิกในตาแหน่งเดียวกันมาบวกกัน
3. ผลลัพธ์จะมีมิติเท่าเดิม
ในกรณี ที่ A A จะได้เมทริ กซ์ใหม่ที่มีสมาชิกทุกตัวเป็ นศูนย์ และใช้สัญลักษณ์ แทน เมทริกซ์ ศูนย์

สมบัติการบวกเมทริกซ์

ให้ A , B , C เป็ น m n เมทริ กซ์


1. สมบัติปิดการบวก (A + B เป็ น m n เมทริ กซ์)
2. สมบัติการสลับที่การบวก (A + B = B + A)
3. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มการบวก ((A + B) + C = A + (B + C))
4. สมบัติการมีเอกลักษณ์การบวก (A + = A = + A)
เรี ยก ว่าเป็ น เอกลักษณ์การบวก
5. สมบัติการมีอินเวอร์สการบวกของ A คือ A (A + ( A) = = ( A) + A)

ตัวอย่าง จงหาผลลัพธ์ของเมทริ กซ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้


1 2 4 1 1 3 1 1 2 1 4 3 0 1 1
) = =
0 3 5 1 5 4 0 1 3 ( 5) 5 ( 4) 1 2 1

2 5 3 0
2) + = .
0 1 5 6
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 9 ร ง มทรกซ์

ใบกิจกรรมที่ การบวกและการลบเมทริกซ์

2 1 4 4 1 0
. กาหนด A = , B= และ C = จงหาคาตอบในแต่ละข้อ
4 3 4 4 0 1
) (A + B) + C = . .. .
. .. .
. .. .
2) A (B C) = . .. .
. .. .
. .. .
3) A (B + C) = . .. .
. .. .
. .. .
4) A + (B C) = . .. .
. .. .
. .. .

2. จงหาเมทริ กซ์ X ในแต่ละข้อต่อไปนี้


4 3 2 4 1 4
) + +X =
8 2 1 3 2 5

. .
. .
. .
. .
. .
2 1 3 2 0 3
2) 0 2 2 +X = 8 5 1
1 1 0 3 1 1

. .
. .
. .
. .
. .
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 10 ร ง มทรกซ์

3 5
3. กาหนด A = จงหาเมทริ กซ์ X ในแต่ละข้อต่อไปนี้
4 6
) A+X = A
.. .
.. .
.. .

2) A X = A
.. .
.. .
.. .

3) A + X = 0
.. .
.. .
.. .

2 4
4) A X =
0 5
.. .
.. .
.. .

1 0
5) A + X =
0 1
.. .
.. .
.. .
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 11 ร ง มทรกซ์

แบบฝึ กทักษะที่ 2

1. จงพิจารณาว่าเมทริ กซ์ที่กาหนดให้ในแต่ละข้อต่อไปนี้ บวกกันได้หรื อไม่ ถ้าบวกกันได้จงหาผลบวก


1 3 2 5
1.1 ,
5 2 3 4
0 7 5 2 3
1.2 ,
3 1 2 1 2
1
1.3 6 , 2 7 8
5
1 5 3 2 6 4
1.4 2 7 9 , 2 1 0
1 3 0 1 4 3

1 4 0 1 2 1
2. กาหนด A = , B= และ C =
3 5 3 2 0 5
2.1 จงหา (A + B) + C
2.2 จงหา A + (B + C)
2.3 จงพิจารณาว่า (A + B) + C และ A + (B + C) เท่ากันหรื อไม่

3. ถ้า A เป็ น 3 4 เมทริ กซ์ และ B เป็ น 4 3 เมทริ กซ์ จะหา A + B ได้หรื อไม่

2 2
4. ถ้า A = จงหาเมทริ กซ์ที่บวกกับ A แล้วได้
4 3
4.1 A
4.2 0
1 0
4.3
0 1
1
2
4.4 2
1 5
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 12 ร ง มทรกซ์

ใบความรู้ ที่ การคูณเมทริกซ์

การคูณเมทริกซ์ ด้วยจานวนจริง

บทนิยาม ถ้า A = [ a ij ] m n และ c เป็ นจานวนจริ ง แล้ว cA = [ ca ij ] m n

หลักการ เมื่อเอาจานวนจริ ง c คูณสมาชิกทุกตัว ผลลัพธ์จะมีมิติเท่าเดิม

สมบัติการคูณเมทริกซ์ ด้วยจานวนจริง
ถ้า c , d เป็ นจานวนจริ งใด ๆ A และ B เป็ น m n เมทริ กซ์
1. (cd)A = c(dA)
2. c(A + B) = cA + cB
3. (c + d)A = cA + dA
4. (1)A = A
5. ( 1)A = A
6. 0A =
7. c =

ตัวอย่างที่ จงหาผลลัพธ์ของเมทริ กซ์ต่อไปนี้

) 5 2 1 3 = ( 4) 5 ( 4) ( 2) ( 4) (1) ( 4) ( 3)
= 20 8 4 12

1 4 6 8
2) = .
2 10 12 4

3 4 5 8
ตัวอย่างที่ กาหนดให้ A = , B= จงหา
1 2 7 3

) A = ...
...

2) 3A 2B = ...
...
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 13 ร ง มทรกซ์

การคูณเมทริกซ์ ด้วยเมทริกซ์

บทนิยาม ถ้า A = [ a ij ] m n และ B = [ b ij ] n p ผลคูณ AB = C โดยที่ C = [ c ij ] m p


เมื่อ c ij = a i1b1j + a i2 b 2j + … + a in b nj

หลักการ เมทริ กซ์คูณกันได้ เมื่อจานวนหลักของตัวตั้งเท่ากับแถวของตัวคูณ

สมบัติการคูณเมทริกซ์ ด้วยเมทริกซ์
ถ้า A , B , C เป็ น n n เมทริ กซ์ c เป็ นจานวนจริ งใด ๆ
1. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มการคูณ (AB)C = A(BC)
2. สมบัติการแจกแจง A(B + C) = AB + AC
(A + B)C = AC + BC
3. สมบัติการมีเอกลักษณ์การคูณ AIn = A = InA
เรี ยก In ว่ าเป็ นเอกลักษณ์ การคูณ
4. c(AB) = (cA)B = A(cB)

ตัวอย่ างการคูณเมทริกซ์ ด้วยเมทริกซ์


a 11 a 12 b11 b12
กาหนด A = , B=
a 21 a 22 b 21 b 22

a 11b11 a 12b 21 a 11b12 a 12b 22


AB =
a 21b11 a 22b 21 a 21b12 a 22b 22

3 4 5 8
ตัวอย่างที่ กาหนดให้ A = , B= จงหา AB
1 2 7 3

(3 ( 5)) ( 4 7) (3 8) ( 4 3)
วิธีทา AB =
( 1 ( 5)) (2 7) ( 1 8) (2 3)

15 ( 28) (24) ( 12)


=
5 14 8 6

43 12
=
19 2
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 14 ร ง มทรกซ์

2
ตัวอย่างที่ กาหนดให้ A = 3 4 , B= จงหา AB
1
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

2 1 0 0 1
ตัวอย่างที่ 5 กาหนดให้ A = 1 0 1 ,B= 2 2 จงหา AB และ BA
3 1 5 4 1

AB = . BA =
..
..
..
..

ตัวอย่างที่ 6 จงหาจานวนจริ ง x ที่สอดคล้องกับสมการในแต่ละข้อต่อไปนี้


1
2x
1
1) 1 2 x 1 = x 4 2) 3 x 6 2x = 0
x
3
x
วิธีทา 2 x 2 3x = x 4 .
2x + 2 + 3x = x 4 .
5x + 2 = x 4 .
4x = 6 .
6
x= .
4
3
x= .
2
3
ดังนั้น x = .
2
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 15 ร ง มทรกซ์

ใบกิจกรรมที่ การคูณเมทริกซ์

2 1 0 1 1 2
1. กาหนดให้ A = , B= และ C = จงหา
1 2 2 0 1 2
) A + 2B 3C
.
.
.

2) 2[5(A B) + 3C]
.
.
.

3) A2
.
.
.
2 5 1 3 2 0 1 2 5
2. ให้ A = ,B= และ C =
1 0 4 1 0 5 2 4 0
5
จงหาเมทริ กซ์ X จากสมการ X 2A 2{2X X 3B } 4C
2
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 16 ร ง มทรกซ์

3. จงหาผลคูณของเมทริ กซ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้
1
1
1) 2 5 2) 5 2 6 2
6
4
. .
. .
. .
. .

1 1
1 2 2 1 2 1 0
3) 4) 2 0
3 4 3 2 1 0 2
3 2
. .
. .
. .
. .
. ..

0 4 1 0
4. กาหนดให้ A = , I= จงหา
2 3 0 1
) AI = ... . .
... . .
2) I2 = ... .
... . .
) IA = .. ... ... .
... ..

5. จงหาค่า x และ y ในแต่ละข้อต่อไปนี้


1 1 x 2
) = ..
1 2 y 4
..
1 0 x 3
2) = ..
0 1 y 12
..
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 17 ร ง มทรกซ์

แบบฝึ กทักษะที่ 3
5 6 1 1 1 2
1. กาหนดให้ A = , B= และ C = จงหา
2 2 3 0 1 3
. A + 3B 4C 1.2 - 4 [5(A B) + 2C]
2
1.3 A + 1 (C + B)
3 2

2 5 1 3 2 7 1 3 8
2. กาหนดให้ A = , B= และ C =
0 1 4 1 0 5 2 4 0
จงหาเมทริ กซ์ X จากสมการเมทริ กซ์ต่อไปนี้
1
. (X + A) = 2(X + B) 3C 2.2 2X + A = 3{X + (2X + B)} + C
2

3. จงหาผลคูณต่อไปนี้
1 2
. 4 3 1 3 . 4 5 1 2
4 6
1
1 5 4 3 4
2 3 2 1
. 2 3 4 2 . 5
3 0 5 7
3 2 3 2 0
4

0 1 2 1 1 0 0 0
. กาหนดให้ A = ,B= , I2 = ,0= จงหา
3 5 0 3 0 1 0 0
4.1 BA 4.2 AB
4.3 A2 4.4 IB
4.5 0B 4.6 I22

5. จงพิจารณาว่าเมทริ กซ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้คูณกันได้หรื อไม่ ถ้าคูณได้จงหาผลคูณ


1 0
2 1 4 4
. 5 4 . 2 4 5 7
1 0 4 3
3 4
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 18 ร ง มทรกซ์

ใบความรู้ ที่ ทรานสโพสของเมทริกซ์ (Transpose of a matrix)

ทรานสโพสของเมทริกซ์

บทนิยาม ถ้า A = [ a ij ] m n แล้ว เมทริ กซ์สลับเปลี่ยนของ A จะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ At


At หมายถึง เมทริ กซ์ [ b ij ] n m โดยที่ b ij = a ji เมื่อ = 1, 2, 3, , และ = 1, 2, 3, ,

สมบัติของทรานสโพส
1. ถ้า A เป็ นเมทริ กซ์ใด ๆ แล้ว (A t ) t = A
2. ถ้า A เป็ นเมทริ กซ์ใด ๆ แล้ว (kA)t = k A t
3. ถ้า A และ B เป็ นเมทริ กซ์ที่มีมิติ m n แล้ว (A B) t = A t B t
4. ถ้า A เป็ นเมทริ กซ์ที่มีมิติ m n และ B เป็ นเมทริ กซ์ที่มีมิติ n p แล้ว (AB)t = B t A t
5. ( A)t = - A t
6. (A n ) t = ( A t ) n , n I

ตัวอย่างที่ จงหาทรานสโพสของเมทริ กซ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้


2 1 5
5 8
1) A = 2) B = 3 4 7
7 3
4 0 6
5 7
จะได้ A t = จะได้ B t = ..
8 3
.
.

6 3
ตัวอย่างที่ กาหนด A = จงหาค่าตัวแปรในแต่ละข้อที่ทาให้ A = A t
x y
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
1 0
1 2 5
ตัวอย่างที่ กาหนด A = , B= 2 1 จงหา (Bt)t + 2At
2 3 9
3 2
. .. .
. .. .
. .. .
. .. .
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 19 ร ง มทรกซ์

ใบกิจกรรมที่ ทรานสโพสของเมทริกซ์ (Transpose of a matrix)

1. จงหาทรานสโพสของเมทริ กซ์ของเมทริ กซ์ที่กาหนดให้แต่ละข้อ


1 5 0
)A= 2 6 1 , A t = ………………………………..…………………………….......…..
3 0 4
………………………………..…………………………….......…..
………………………………..…………………………….......…..
3 2
2) B = , 2B t = ………………………………..…………………………….......…..
4 5
………………………………..……………………………….........
………………………………..……………………………….........

2 1 1 0 3 1
2. กาหนด A = , B= และ C = จงหา
4 3 5 2 2 5
) (A + B) t
. .
. .
. .
. .

) At + Bt
. .
. .
. .
. .

) AB + 2C t
. .
. .
. .
. .
. .
. .
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 20 ร ง มทรกซ์

แบบฝึ กทักษะที่ 4

1. กาหนดเมทริ กซ์ A , B , C , D และ E ดังนี้


1 0 3 -1 3 2 -4 5
1 2 0 3 -2
A= , B= 2 1 , C= 4 1 0 , D= และ E = 1 1 -1
2 1 4 2 0
3 2 2 1 3 2 2 0
จงหา
. AB และ BA 1.2 AB + Dt
1.3 BA 2C2 1.4 AtBt + 2E
1.5 BA(C + E)

2. กาหนดเมทริ กซ์ A , B และ C ดังนี้


1 2
1 3 1 3 2
A= , B= และ C = 0 1
2 -1 1 3 0
3 -2
จงหา
. ABC 2.2 AB + ACt
2.3 A2 2BC

1 1 2
3. กาหนดให้ A =
-1 1 3
จงหาเมทริ กซ์ X ที่ทาให้ขอ้ ความต่อไปนี้ เป็ นจริ ง
. A + X = 2A X 3.2 AAt = 2I2 + X
3.3 2AtA = X I3
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 21 ร ง มทรกซ์

ใบความรู้ ที่ ดีเทอร์ มนิ ันต์ (Determinant)

ดีเทอร์ มินันต์ (Determinant)

บทนิยาม ดีเทอร์มินนั ต์ (Determinant) คือ ค่าตัวเลขจานวนใดจานวนหนึ่ง และมีเพียงจานวนเดียวเท่านั้น


ที่สอดคล้องกับเมทริ กซ์จตั ุรัส
ถ้า A เป็ นเมทริ กซ์จตั ุรัส จะเขียนแทนดีเทอร์ มินันต์ ของ A ด้ วย det(A) หรือ A

การหาค่ าดีเอร์ มินันต์

. ถ้า A = a เป็ นเมทริ กซ์ที่มีมิติ แล้ว det(A) = a

ตัวอย่างที่ 1 จงหาดีเทอร์ มินนั ต์ของเมทริ กซ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้


1) A = [5] det (A) = 5
2) B = [-10] det (B) = .
3) C = [0] det (C) = .
4) D = [ 3 ] det (D) = .
5

a b
2. ถ้า A = เป็ นเมทริ กซ์ที่มีมิติ แล้ว det(A) = ad – bc
c d

ตัวอย่างที่ 2 จงหาดีเทอร์ มินนั ต์ของเมทริ กซ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้


2 4
1) A = det (A) = 2(5) 3(4) = 10 12 = 2
3 5
3 6
2) B = (B) = .
-5 -2
3 0
3) C = (C) = .
-2 0
3 0
4) D = (D) = .
0 -2
1 1
5) E = (E) = .
2 2
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 22 ร ง มทรกซ์

a b c
3. ถ้า A = d e f เป็ นเมทริ กซ์ที่มีมิติ แล้ว
g h i
a b c a b
det(A) = d e f d e = (aei + bfg + cdh) – (gec + hfa + idb)
g h i g h

ตัวอย่างที่ 3 จงหาดีเทอร์ มินนั ต์ของเมทริ กซ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้


4 1 6 4 -1
) A= 3 2 2 3 -2 det (A) = ( 56 + 2 + 90) (12 + 40 + ( 21))
1 5 7 -1 5
= 36 31 = 5
1 4 7
2) B = 2 5 8 det (B) = ..
3 6 9
= ..
2 3 4
3) C = 1 0 2 det (C) = ..
0 5 6
= ..
1 2 3
4) D = 2 0 1 det (D) = ..
1 2 3
= ..

x 4
ตัวอย่างที่ 4 กาหนด A = ถ้า det (A) = 0 จงหา x
4 x

. .
. .
. .
. .
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 23 ร ง มทรกซ์

การคานวณหาดีเทอร์ มินันต์ โดยการกระจายโคแฟคเตอร์

วิธีน้ ีใช้ได้สาหรับเมทริ กซ์จตั ุรัส n n , n 2

บทนิยาม กาหนดให้ A = [ a ij ] m n สัญลักษณ์ M ij (A) แทนเมทริ กซ์ที่เกิดจากการตัดแถวที่ i หลักที่ j


ของ A ออกไป ค่าดีเทอร์ มินนั ต์ของ M ij (A) เรียกว่า ไมเนอร์ (minor) ของ a ij

4 1 0
ตัวอย่างที่ กาหนด A = 3 2 1 จงหาไมเนอร์ของสมาชิกทุกตัวในเมทริ กซ์น้ ี
1 5 0
2 1
1) M 11 (A) = =0 5= 5 2) M 12 (A) =
5 0

1 0
3) M 13 (A) = 4) M 21 (A) = =0 0=0
5 0

5) M 22 (A) = 6) M 23 (A) =

7) M 31 (A) = 8) M 32 (A) =

9) M 33 (A) =

บทนิยาม กาหนดให้ A = [ a ij ] m n โคแฟกเตอร์ (cofactor) ของสมาชิก a ij หรื อตัวประกอบร่ วมเกี่ยวของ a ij


ของ A จะเขียนแทนด้วย C ij (A) หมายถึงผลคูณของ M ij (A) และ (- ) i j
C ij (A) = (- ) i j M ij (A)

1 2 2
ตัวอย่างที่ 4 กาหนด A = 1 1 2 จงหา C12(A) , C21(A) , C23(A) , C33(A)
0 3 1
1 2
C12(A) = (-1)1+2M12(A) = (-1) = (-1)(-1 0) = (-1)(-1) = 1
0 1
C21(A) =

C23(A) =

C33(A) =
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 24 ร ง มทรกซ์

การหาดีเทอร์ มินันต์ อาจใช้แถวใดแถวหนึ่ง (หลักใดหลักหนึ่ง) เป็ นหลัก เช่น


ใช้ แถวที่ เป็ นหลัก จะได้
det (A) = a11C11 (A) + a12C12 (A) + a13C13 (A) + + a1nC1n (A)
ใช้ แถวที่ เป็ นหลัก จะได้
det (A) = a12C12 (A) + a 22C 22 (A) + a 32C32 (A) + + a m2 C m2 (A)

4 1 0
ตัวอย่างที่ 5 กาหนด A = 3 2 1 จงหาดีเทอร์มินนั ต์ของเมทริ กซ์ A (โดยการกระจายโคแฟคเตอร์)
1 5 0
วิธีทา det (A) = a 11C11 (A) + a 12C12 (A) + a 13C13 (A)
2 1 3 1
= 4(-1)1+1 + (-1)(-1)1+2 +0
5 0 1 0
= 4(0 5) + 1(0 ( 1))
= 20 + 1
= 19
det (A) = 19
1 0 1 1
0 2 1 0
ตัวอย่างที่ 6 กาหนด A = จงหา det (A)
3 1 4 2
6 5 0 1

.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 25 ร ง มทรกซ์

แบบฝึ กทักษะที่ 5

1. จงหาจานวนจริ ง x ที่สอดคล้องกับสมการต่อไปนี้
2 x 1
x 14
1.1 =2 1.2 1 0 1 =0
3 11
3 4 2

2. จงหาดิเทอร์ มินนั ต์ของเมทริ กซ์ต่อไปนี้


2 1 0
2.1 A = 4 2 1
4 2 1
2 2 3
2.2 B = 1 1 0
0 1 4
2 1 4
2.3 C = 1 4 2
3 6 6
3 8 3 0
2 3 0 0
2.4 D =
4 5 3 0
1 0 2 2
1 1 2 2
0 1 2 3
2.5 E =
1 0 1 2
2 1 0 1
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 26 ร ง มทรกซ์

ใบความรู้ ที่ 6 สมบัติของดีเทอร์ มนิ ันต์

กาหนดให้ A = [ a ij ] n n และ B = [ b ij ] n n โดยที่ a ij และ b ij R และ n > 2 แล้ว

. det(A) = det(A t )

ตัวอย่างที่ 1 จงหา det (A) และ det (At) ของเมทริ กซ์ A ต่อไปนี้
3 2 1
0 0
1.1 A = 1.2 B = 0 1 2
2 3
6 4 2
วิธีทา det (A) = 0 0 = 0
จาก det (A) = det (At)
det (At) = 0

. det(AB) = det(A) det(B)

1 -2 2 4 3 4
ตัวอย่างที่ 2 กาหนดให้ A = ,B= และ C = จงหา
3 -1 1 1 1 -1
2.1 det(AB) 2.2 det(BC)
วิธีทา det(A) = 1 ( 6) = 5
det(B) = 2 4 = 2
จาก det(AB) = det(A) det(B)
det(AB) = 5( 2) = 10

3. det(A n ) = [det(A)] n

2 1 3 2
ตัวอย่างที่ 3 กาหนดให้ A = ,B= จงหา
3 5 1 4
3.1 det(A2) 3.2 det(B3)
วิธีทา det(A) = 10 ( 3) = 13
จาก det(A n ) = [det(A)] n
det(A2) = 132 = 169
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 27 ร ง มทรกซ์

1
4. det(A 1 ) =
det(A)

1 2 2 6
ตัวอย่างที่ 4 กาหนดให้ A = ,B= จงหา
3 4 3 5
4.1 det(A-1) 4.2 det(B-1)
วิธีทา det(A) = 4 ( 6) = 2
1
จาก det(A-1) =
det(A)
1
det(A-1) =
2

5. เมทริ กซ์เอกฐาน (singular matrix) และเมทริ กซ์ไม่เอกฐาน (non - singular matrix)


ถ้า det(A) = 0 เรี ยก A ว่า เมทริกซ์ เอกฐาน หรื อ ซิงกูลาร์ เมทริกซ์
ถ้า det(A) 0 เรี ยก A ว่า เมทริกซ์ ไม่ เอกฐาน หรื อ นอนซิงกูลาร์ เมทริกซ์

ตัวอย่างที่ 5 จงตรวจสอบว่าเมทริ กซ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ เป็ นเมทริ กซ์เอกฐาน หรื อเมทรื กซ์ไม่เอกฐาน


4 0
2 6
5.1 A = 5.2 B = 1
1 3 0
2
วิธีทา det(A) = 6 6 = 0
เป็ นเมทริ กซ์เอกฐาน

1 4 0
2 1
5.3 C = 5.4 D = 2 1 0
3 3
3 1 0
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 28 ร ง มทรกซ์

. ถ้า A เป็ นเมทริ กซ์จตั ุรัสที่มีสมาชิกแถวใดแถวหนึ่ง (หลักใดหลักหนึ่ง) เป็ นศูนย์ทุกตัวแล้ว


det(A) = 0

ตัวอย่างที่ 6 จงหาดีเทอร์ มินนั ต์ของเมทริ กซ์ต่อไปนี้


1 4 0
0 0
6.1 A = 6.2 B = 2 1 0
3 2
3 1 0
วิธีทา เนื่องจากแถวที่ 1 มีสมาชิกทุกตัวเท่ากับ 0
det(A) = 0

7. ถ้า A มีสมาชิกสองแถว (หรื อ หลัก) ใดๆ เหมือนกันแล้ว


det(A) = 0

ตัวอย่างที่ 7 จงหาดีเทอร์ มินนั ต์ของเมทริ กซ์ต่อไปนี้


1 1 0
1 1
7.1 A = 7.2 B = 3 1 4
2 2
1 1 0
วิธีทา เนื่องจากหลักที่ 1 และหลักที่ 2
มีสมาชิกซ้ ากัน
det (A) = 0

8. ให้ A เป็ นเมทริ กซ์จตั ุรัส และ B เป็ นเมทริ กซ์ที่เกิดจากการสลับแถว (หลัก) คู่ใดคู่หนึ่ งของ A แล้ว
det (B) = det (A)

ตัวอย่างที่ 8 จงหาดีเทอร์ มินนั ต์ของเมทริ กซ์ต่อไปนี้


1 2 1 1 2 1
8.1 A = 2 1 1 8.2 B = 1 1 2
1 1 0 0 1 1
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 29 ร ง มทรกซ์

จากสมบัติในข้อที่ ระบุเพียงว่าให้สลับระหว่างแถว หรื อสลับระหว่างหลักเพียงคูเ่ ดียว แต่ในบางครั้งจะ


พบว่า B เป็ นเมทริ กซ์ที่เกิดจากเมทริ กซ์ A โดยการสลับกันระหว่างแถว หรื อสลับกันระหว่างหลัก มากกว่า คู่
เช่น
a b c d e f
A= d e f , B= g h i
g h i a b c
จะพบว่า B เกิดจากการสลับที่ระหว่างแถวที่ และแถวที่ และนาผลที่ได้มาสลับกัน ระหว่างแถวที่
และแถวที่ อีกครั้งหนึ่ง ลักษณะเช่นนี้เรากล่าวว่า B เกิดจาก A โดยการสลับกันระหว่างแถวสองคู่ การกระทา
ดังกล่าว ถ้าเราทราบค่าดีเทอร์ มินนั ต์ของเมทริ กซ์ A เราจะทราบค่าดีเทอร์ มินนั ต์ของ B ด้วย ดังนี้
a b c g h i d e f
A= d e f C= d e f B= g h i
g h i a b c a b c
det(A) = k det(C) = - k det(B) = - (- k) = k
ดังนั้น เราสามารถสรุ ปเป็ นสมบัติของดีเทอร์ มินนั ต์ได้อีก ประการ ดังสมบัติขอ้ ที่

9. ให้ A เป็ นเมทริ กซ์จตั ุรัส และ B เป็ นเมทริ กซ์ที่เกิดจาก A โดยการสลับกันระหว่างแถว หรื อสลับกัน
ระหว่างหลักจานวน k คู่ แล้ว det(B) = (-1) k det(A)

a b c
ตัวอย่างที่ 9 กาหนดให้ A = d e f และ det(A) = 2 จงหาค่าดีเทอร์ มินนั ท์ของเมทริ กซ์ต่อไปนี้
g h i

c a b e d f
. B= f d e 9.2 C = b a c
i g h h g i
วิธีทา หลักที่ สลับกับหลักที่
และหลักที่ สลับกับหลักที่
จะเห็นว่า มีการสลับกัน คู่
จาก det(B) = (-1) k det(A)
= (-1) 2 2
=1 2
=2
det(A) = 2
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 30 ร ง มทรกซ์

10. ให้ A เป็ นเมทริ กซ์จตั ุรัส และ B เป็ นเมทริ กซ์ เกิดจากการคูณสมาชิกในแถวใดแถวหนึ่ง
(หรื อคูณหลักใดหลักหนึ่ง) ของเมทริ กซ์ A ด้วยค่าคงตัว k 0 แล้ว det(B) = k det(A)

ประโยชน์ของสมบัติขอ้ ที่ คือ ช่วยทาให้สมาชิกของเมทริ กซ์ที่ตอ้ งการหาดีเทอร์มินนั ต์มีขนาดเล็กลง


เพื่อสะดวกในการกระจาย
ตัวอย่างที่ 10.1 จงหาดีเทอร์ มินนั ต์ของเมทริ กซ์ต่อไปนี้
6 3 9 6 3 9 2 1 3 2 1 1
10.1.1 4 4 6 = 22 2 3 = 2 32 2 3 = 2 3 32 2 1
1 1 6 1 1 6 1 1 6 1 1 2
2 1 1 2 1
= 18 2 2 1 2 2 = 18(5 0) = 90
1 1 2 1 1
5 3 1
10.1.2 10 6 2 = .
5 3 3
= .
5 3 1
10.1.3 10 6 4 = .
15 3 3
= .

a b c
ตัวอย่างที่ 10.2 กาหนดให้ d e f = 3 จงหาค่าของ
g h i
2a 3b 4c
10.2.1 2d 3e 4f
2g 3h 4i
.
.
.
d e f
10.2.2 3a 3b 3c
g h i
.
.
.
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 31 ร ง มทรกซ์

11. ให้ A เป็ นเมทริ กซ์จตั ุรัสมิติ n n และ k เป็ นค่าคงตัว จะได้วา่ det(kA) = k n det(A)

ตัวอย่างที่ 11 กาหนดให้ A , B และ C เป็ นเมทริ กซ์ที่มีมิติ 2 2 , 3 3 และ 4 4 ตามลาดับ


และถ้า det(A) = 10 , det(B) = - 15 และ det(C) = 8 แล้ว จงหา
11.1 det(5A)
= .
11.2 det(- 4B)
= .
11.3 det( 1 C )
2
= .
ข้ อสั งเกต ถ้า A เป็ นเมทริ กซ์ที่มีมิติ n n จะได้วา่
det(A) เมื่อ n เป็ นจานวนคู่่่
det(-A) = det((-1)A) = (-1)ndet(A) =
- det(A) เมื่อ n เป็ นจานวนค่
่่ ่ ี ่

12. ถ้า A เป็ นเมทริ กซ์สามเหลี่ยมหรื อเมทริ กซ์ทแยงมุม det(A) เท่ากับ ผลคูณของสมาชิกในแนวเส้น
ทแยงมุมหลัก หรื อ det(A) = a11 a 22 a 33 ... a nn

ตัวอย่างที่ 12 จงหาดีเทอร์ มินนั ต์ต่อไปนี้


3 1 0 4
3 0 0
0 2 1 1
12.1 12.2 0 3 0
0 0 2 0
0 0 3
0 0 0 1
วิธีทา เนื่องจากเป็ นเมทริ กซ์สามเหลี่ยมด้านบน
det(A) = (-3) 2 (-2) 1 = 12

13. det(In) = 1 14. det(0) = 0


เมื่อ In เป็ นเมทริ กซ์เอกลักษณ์

1 0 0 0 0 0
ตัวอย่างที่ 13 0 1 0 =1 1 1 ตัวอย่างที่ 14 0 0 0 =0
0 0 1 0 0 0
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 32 ร ง มทรกซ์

ใบกิจกรรมที่ 6 ดีเทอร์ มินันต์ (Determinant)

. จงหาดีเทอร์ มินนั ต์ของเมทริ กซ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้


) A = [9] (A) = .. .

3 5
2) B = det(B) = .. .
4 9

0 1
3) C = det(C) = .. .
7 8

2 3 4
4) D = 0 5 7 det(D) = .. .
1 6 5
.. .
2 5 1
5) E = 3 1 6 det(E) = .. .
4 2 3
.. .

1 3 3 6
2. กาหนด A = , B= จงหา
2 4 1 3
) det(AB)
.
.
.
.
.

2) det(A t )
.
.
.
.
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 33 ร ง มทรกซ์

3) det(B 1 )
.
.
.
.

4) det(A + B)
.
.
.
.

5) det(A 2 )
.
.
.
.

6) det(3B)
.
.
.
.
.

x2 4 3 4
3. กาหนด A = , B= ถ้า det(A) = det(B) จงหา x
x 1 2 1
.
.
.
.
.
.
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 34 ร ง มทรกซ์

3 1 2 0
4 0 3 5
4. กาหนด A = M 32 (A) และ C 32 (A)
0 6 0 0
1 3 4 2
.
.
.
.
.
.

5. จงหาดีเทอร์ มินนั ต์ของเมทริ กซ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ (โดยการกระจายโคแฟคเตอร์ )


1 0 2
1) A = 5 3 4
2 0 6
.
.
.
.
.
.
.
2 0 1 3
1 2 0 3
2) B =
3 1 2 0
0 2 1 3
.
.
.
.
.
.
.
.
.
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 35 ร ง มทรกซ์

1 0 2 1
2 0 1 1
3) C =
1 0 1 2
2 0 1 1
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.

1 1 5 2
2 0 1 2
4) D =
1 3 8 0
1 1 2 1
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 36 ร ง มทรกซ์

แบบฝึ กทักษะที่ 6
x y z
1. ถ้า p q r = -1
s t u
s t u p q r
1.1 p q r 1.2 3s 3t 3u
x y z x y z

a b c
2. ให้ A = p q r และ det(A) = 3
x y z
4x 4y 4z
-1
จงหา det(3B ) เมื่อ B = 2a 2b 2c
p q r

3. ให้ A , B และ C เป็ น n n เมทริ กซ์ เมื่อ n เป็ นจานวนเต็มที่มากกว่า 2 และ det(A) = 1 , det(B) = 2 ,
det(C) = -3 แล้ว จงหา
3.1 det(A2BC-1B-1) 3.2 det(BC-1AB-1Ct)
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 37 ร ง มทรกซ์

ใบความรู้ ที่ 7 อินเวอร์ สของการคูณเมทริกซ์

อินเวอร์ สของการคูณเมทริกซ์

บทนิยาม ให้ A เป็ น n n เมทริ กซ์ อินเวอร์สของเมทริ กซ์ A เขียนแทนด้วย A 1

มีสมบัติวา่ A A 1 = A 1 A = I n

*** น ์ ข งก คณ ท กซ์ จ ก ่ ต ก นก คณข ง ท กซ์

. อินเวอร์ สของการคูณของ 2 2 เมทริกซ์

a b
เมื่อ A = โดยที่ ad bc (det A 0)
c d
1d b 1 d b
A 1
= =
ad bc c a det(A) c a

ตัวอย่างที่ จงหาอินเวอร์ สของเมทริ กซ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้


2 5 1 2
1) A = 2) B =
3 8 2 4
วิธีทา det(A) = 16 15 = 1 ..
1 8 5
A-1 = ..
1 3 2
8 5
= ..
3 2

2 1
ตัวอย่างที่ กาหนด A = จงหา A 2

3 1
วิธีทา A-2 = (A2)-1
2 1 2 1 4 3 2 1 7 3
A2 = = =
3 1 3 1 6 3 3 1 9 4
2
det(A ) = 28 27 = 1
4 3 4 3
(A2)-1 = 1 =
1 9 7 9 7
4 3
A 2=
9 7
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 38 ร ง มทรกซ์

2. อินเวอร์ สการคูณของ n n เมทริกซ์ เมื่อ n > 2

บทนิยาม ให้ A = [ a ij ] n n เมื่อ a ij และ n เป็ นจานวนเต็มที่มากกว่า


. เมทริกซ์ ผูกพัน (Adjoint Matrix) ของ A เขียนแทนด้วย adj(A) คือ ทรานโพสของ
เมทริ กซ์ [C ij (A)] n n
adj(A) = [C ij (A)] nt n
2. A(adj A) = adj(A)A = det(A) I n
1
3. ถ้ า det(A) 0 แล้ว A 1 = adj(A)
det(A)

สมบัติของอินเวอร์ สการคูณของเมทริกซ์

กาหนด A , B เป็ นเมทริ กซ์มิติ n n ที่สามารถหา A 1


และ B 1
ได้
. (A 1 ) 1 = A
2. (AB) 1 = B 1 A 1
3. (A t ) 1 = (A 1 ) t
4. (A n ) 1 = (A 1 ) n
1 1
5. (kA) 1
= A ,k R , k 0
k
1
6. det(A 1 ) =
det( A)

1 0 1
ตัวอย่างที่ 3 กาหนด A = 3 1 2 จงหา
2 5 8
3.1 det(A)
. .
. .
. .
. .
. .
. .
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 39 ร ง มทรกซ์

3.2 adj(A)
t
c11 (A) c12 (A) c13 (A)
วิธีทา adj(A) = c 21 (A) c 22 (A) c 23 (A)
c 31 (A) c 32 (A) c 33 (A)
t
1 2 3 2 3 1
5 8 2 8 2 5
0 1 1 1 1 0
=
5 8 2 8 2 5
0 1 1 1 1 0
1 2 3 2 3 1
t
2 28 17
= 5 10 5
1 1 1
t
2 5 1
= 28 10 1
17 5 1
3.3 A-1
. .
. .
. .
. .
. .
. .

ช ตต้ ง ้
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 40 ร ง มทรกซ์

ใบกิจกรรมที่ 7 อินเวอร์ สของการคูณเมทริกซ์

1. จงหาอินเวอร์ สการคูณของเมทริ กซ์ต่อไปนี้ (ถ้ามี)


4 3
.)
1 2
.. .
.. .
.. .
.. .

0 1
.)
4 3
.. .
.. .
.. .
.. .

3 1
.)
6 2
.. .
.. .
.. .
.. .

2 3
.) 1 1
2 2

.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 41 ร ง มทรกซ์

5 3
2. กาหนด A = จงหา A 1
,A 2

3 2
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .

2 1 3
3. กาหนด A = 3 2 5 A มีอินเวอร์ สการคูณหรื อไม่ ถ้ามีจงหา A 1

1 6 8
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 42 ร ง มทรกซ์

3 0 1
4. กาหนด A = 2 1 2 A มีอินเวอร์ สการคูณหรื อไม่ ถ้ามีจงหา A 1

4 3 1
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
.. .
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 43 ร ง มทรกซ์

แบบฝึ กทักษะที่ 7

1. จงหาตัวผกผันการคูณของเมทริ กซ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
3 4 2 4
1.1 A = 1.2 B =
2 3 1 2

3 2 1 3 4 2
1.3 C = 4 5 6 1.4 D = 6 3 1
2 3 1 4 7 8
5 1 3
1.5 E = 1 12 4
1 6 3

2. กาหนดให้
1 1 2 1 1 1
A= 1 2 1 , B= 0 1 2 จงหา
1 2 3 0 5 3

2.1 det(2A-1B) 2.2 det(Atadj(B))


2.3 det(BAtadj(A)) 2.4 det(2adj(A2)B)
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 44 ร ง มทรกซ์

ใบความรู้ ที่ 8 การแก้ระบบสมการเชิงเส้ นโดยใช้ เมทริกซ์

การแก้ ระบบสมการเชิงเส้ นโดยใช้ เมทริกซ์

บทนิยาม ระบบสมการเชิงเส้น หมายถึง ชุดสมการที่ทุกสมการเป็ นสมการเชิงเส้น และจานวน


สมการในระบบเท่ากับจานวนตัวแปร

ระบบสมการเชิงเส้น a11 x1 + a12 x2 + + a1n xn = b1


a 21 x1 + a 22 x2 + + a 2 n x n = b2

a n1 x1 + an 2 x2 + + ann xn = bn

สามารถเขียนเป็ นเมทริ กซ์ได้ดงั นี้


a11 a12 a1n x1 b1
a 21 a 22 a2n x2 b2
=
a n1 an2 a nn xn b3

A X B
เรี ยก A ว่า เมทริกซ์ สัมประสิ ทธิ์ (coefficient matrix)
a11 a12 a13 b1
เรี ยก [A : B] = a 21 a 22 a 23 b2 ว่า เมทริกซ์ แต่ งเติม (augmented matrix)
a31 a32 a33 b3

การแก้ ระบบสมการเชิงเส้ นโดยใช้ เมทริกซ์ สามารถทาได้ วิธี คือ


1. ใช้อินเวอร์สการคูณของเมทริ กซ์
2. ใช้กฎของคราเมอร์
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 45 ร ง มทรกซ์

. ใช้ อนิ เวอร์ สการคูณของเมทริกซ์

จาก AX = B และ det(A) 0 จะได้ X = A 1 B

ตัวอย่างที่ จงแก้ระบบสมการเชิงเส้น x 3y = -1 (1)


-3x + 5y = 2 (2)
วิธีทา จาก AX = B
2 3 x 1
จะได้ =
3 5 y 2
1 d b 1 5 3
A 1= =
det(A) c a 1 3 2
จะได้ X = A 1 B
x 5 3 1 5 6 1
= = =
y 3 2 2 3 4 1
x = 1 และ y = 1

ตัวอย่างที่ 2 จงแก้ระบบสมการเชิงเส้น x + y + 2z = 3 (1)


1
x+y z= (2)
2
3x + 2y 2z = 2 (3)
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 46 ร ง มทรกซ์

. ใช้ กฎของคราเมอร์

บทนิยาม ถ้า A เป็ นเมทริ กซ์ n n โดยที่ det(A) 0 แล้วระบบสมการเชิงเส้นที่เขียนในรู ป


สมการเมทริ กซ์
AX = B เมื่อ x 1 , x 2 , ... , x n คือตัวไม่ทราบค่า และ b1 , b 2 , ... , b n เป็ นตัวคงที่
x1 b1
x2 b2
โดยที่ X = , B=
xn b3
det(A1 ) det(A 2 ) det(A n )
จะมีคาตอบคือ x1 = , x2 = , ... , x n =
det(A) det(A) det(A)
เมื่อ A i คือเมทริ กซ์ที่ได้จากการแทนหลักที่ i ของ A ด้วยหลักของ B

ตัวอย่างที่ จงแก้ระบบสมการเชิงเส้นที่กาหนดให้โดยใช้กฎของคราเมอร์
x + y +z = 1
x 2y 3z = 1
x + 2y + 4z = 5
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 47 ร ง มทรกซ์

ใบกิจกรรมที่ 8 การแก้ ระบบสมการเชิงเส้ นโดยใช้ เมทริกซ์

จงแก้ระบบสมการเชิงเส้ นต่ อไปนีโ้ ดยใช้ เมทริกซ์


. x + 2y = 7
x + 2y = 4
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.

2. x + y + z = 6
x y+z = 2
x+y z = 0
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 48 ร ง มทรกซ์

3. x + 3y = 0
y 5z = 3
2x + z = -1
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.

4. 2x 3y + z = 8
-x + 4y + 2z = -4
3x y + 2z = 9
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
วช ค 31202 คณตศ สตร์ พม ตม 2 49 ร ง มทรกซ์

แบบฝึ กทักษะที่ 8

1. จงแก้ระบบสมการต่อไปนี้โดยใช้อินเวอร์ สการคูณของเมทริ กซ์


1.1 y x=4 1.2 x + 2y z = 3
2x + 3y = 22 3x + y = 6
2x + y = 1

2. จงแก้ระบบสมการต่อไปนี้โดยใช้กฎของคราเมอร์
2.1 3x + 4y = -2 2.2 3x + 6y = 5
5x + 3y = 4 6x + 14y = 11

2.3 2x + y z = 5 2.4 x 2y + 3z = 9
3x 2y + 2z = -3 - x + 3y = - 14
x y 3z = -2 2x 5y + 5z = 17

You might also like