Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 21

รายงาน

เรื่ อง …การฆ่าตัวตายและมุมมองในศาสนาอิสลาม...
สมาชิก
นายภูริณัฐ พลจร 6513601001550

นาย อภิสิทธิ์ ชัยคลิ้ง 6513601001574

นายปุณยธร รัตนรัตน์ 6513601001543

นายพงษธร สุ ขสานติ์ 6513601001545

นาย อภิรักษ์ ไชยช่วย 6513601001573

นาย สิ รวิชญ์ แดงช่วง 6513601001565

นาย สุ ทธากุล สี รอมา 6513601001568

นางสาว พิยดา สุ วรรณศรี 6513601001548

นาย ภาณุพงศ์ หาญสุ วรรณ์ 6513601001549

เสนอโดย
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เกียรติศกั ดิ์ ดวงจันทร์

รายงานนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรปริ ญญานิติศาสตร์บณ


ั ฑิต
รายวิชา GEHU102 ปรัชญา ศาสนาและพุทธทาสศึกษา
สาขา นิติศาสตร์ ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

คํานํา
รายงานฉบับนี้ เป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชา GEHU102 ปรัชญา ศาสนาและพุทธทาสศึกษา จัดทําขึ้นโดยมี
วัตถุประสงค์ให้ผทู ้ ี่สนใจที่จะศึกษาค้นคว้า เรี ยนรู ้เกี่ยวกับการฆ่าตัวตายและมุมมองในศาสนาอิสลามศึกษา
เรี ยนรู ้และค้นคว้าเพื่อประโยชน์ โดยเนื้ อหาประกอบด้วยความหมายของการฆ่าตัวตาย ปัจจัยเสี่ ยง โรค การ
พนัน ฯลฯ เป็ นต้น
ขอขอบคุณผูช้ ่วยศาสตร์ตราจารย์เกียรติศกั ดิ์ ดวงจันทร์ อาจารย์ที่ปรึ กษาที่ได้ให้คาํ แนะนําและให้คาํ ปรึ กษา
ในการจัดทํารายงานฉบับนี้ให้ครบถ้วนสมบูรณ์มากยิง่ ขึ้นผูจ้ ดั ทําหวังเป็ อย่างยิง่ ว่ารายงานฉบับนี้จะเป็ น
ประโยชน์แก่ผทู ้ ี่สนใจที่จะศึกษาค้นคว้าหาความรู ้ไม่มากก็นอ้ ย

คณะผูจ้ ดั ทํา
สมาชิกในกลุ่ม
สารบัญ
เรื่อง หน้ า

คานา A

สารบัญ B

การฆ่าตัวตาย 1

คาจากัดความและปัจจัยเสี่ยง 2-8

โรคทางจิตใจ 9
การใช้ สารเสพติด 10

วิธีการฆ่าตัวตาย 11

ศาสนาอิสลาม 12-16
เชิ งนามธรรม 17
การฆ่ าตัวตาย
การฆ่าตัวตาย หรื อ อัตฆาตกรรม หรื อ อัตวินิบาตกรรม เป็ นการกระทําให้ตนเองถึงแก่ความตายอย่างตั้งใจ
การฆ่าตัวตายมักเกิดจากภาวะซึมเศร้า ซึ่งเกิดจากความผิดปกติทางจิต เช่น โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้ว
โรคจิตเภท ความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบกํ้ากึ่ง[9] โรคพิษสุรา หรื อการใช้สารเสพติด[4] ปัจจัยที่ทาํ ให้
เกิดความเครี ยดเช่นความลําบากทางการเงิน หรื อปัญหากับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลก็มีส่วนเช่นกัน
ความพยายามป้องกันการฆ่าตัวตายหมายรวมถึงการจํากัดการฆ่าตัวตายด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น ปื น และสารพิษ
การรักษาอาการทางจิตและการใช้สารเสพติด และการปรับปรุ งสถานะทางการเงิน แม้วา่ บริ การที่ปรึ กษา
สายด่วนจะมีทวั่ ไป แต่แทบไม่มีหลักฐานว่าวิธีน้ ี จะมีประสิ ทธิภาพ
วิธีการฆ่าตัวตายที่พบได้บ่อยที่สุดแตกต่างกันไปตามประเทศและส่ วนหนึ่งจะขึ้นกับความเป็ นไปได้ วิธีการ
ทัว่ ไปได้แก่ การแขวนคอ การวางยาด้วยสารฆ่าสัตว์รังควาน และอาวุธปื น การฆ่าตัวตายคร่ าชีวิตคน
842,000 คนใน ค.ศ. 2013 ขึ้นจาก 712,000 คนใน ค.ศ. 1990ทําให้เป็ นสาเหตุการตายอันดับที่ 10 ทัว่ โลก
อัตราการฆ่าตัวตายสําเร็จพบในผูช้ ายมากกว่าผูห้ ญิงโดยผูช้ ายมีแนวโน้มฆ่าตัวตายมากกว่าผูห้ ญิง 3-4 เท่า มี
การฆ่าตัวตายที่ไม่ถึงแก่ชีวิตประมาณ 10-20 ล้านครั้งทุกปี ความพยายามฆ่าตัวตายที่ไม่ถึงแก่ชีวิตมัก
ก่อให้เกิดการบาดเจ็บ และความพิการระยะยาว ความพยายามดังกล่าวนี้มกั พบในคนอายุนอ้ ยและผูห้ ญิง
ทรรศนะที่มีต่อการฆ่าตัวตายมีหลายประเด็น เช่น ด้านศาสนา เกียรติยศ และความหมายของชีวิต ศาสนาอับ
ราฮัมมองการฆ่าตัวตายว่าเป็ นการดูหมิ่นพระเจ้าเนื่องจากความเชื่อเกี่ยวกับสิ่ งศักดิ์สิทธิ์แห่งชีวิต ในยุคซะมุ
ไรในญี่ปุ่น เซ็ปปุกุจดั เป็ นหนึ่งในวิธีการไถ่โทษสําหรับความผิดพลาด หรื อเป็ นการประท้วงรู ปแบบหนึ่ง
พิธีสตี ซึ่งปัจจุบนั เป็ นสิ่ งผิดกฎหมาย คาดหวังให้หญิงม่ายบูชายัญตนเองบนกองฟื นเผาศพของสามี ทั้ง
สมัครใจหรื อจากความกดดันจากครอบครัวและสังคมขณะที่ในอดีต การฆ่าตัวตายและความพยายามฆ่าตัว
ตาย เป็ นอาชญากรรมต้องโทษ แต่ปัจจุบนั ในประเทศตะวันตกมิเป็ นเช่นนั้นแล้ว แต่ยงั ถือว่าเป็ น
อาชญากรรมในหลายประเทศ ในศตวรรษที่ 20 และ 21 มีการฆ่าตัวตายที่เป็ นการบูชายัญตนเองเกิดขึ้นบาง
โอกาสเป็ นสื่ อกลางการะท้วง และคะมิกะเซะและการระเบิดฆ่าตัวตายเกิดขึ้นเป็ นยุทธวิธีทางทหารหรื อการ
ก่อการร้าย
คําจํากัดความ
การฆ่าตัวตาย หรื อการฆ่าตัวตายสมบูรณ์แบบ เป็ น "การกระทําที่ปลิดชีพตน" ความพยายามฆ่าตัว
ตาย หรื อพฤติกรรมเสี ยงต่อการฆ่าตัวตายคือการทําร้ายตนเองโดยมีความปรารถนาว่าจะจบชีวิตตน แต่ไม่ถึง
แก่ความตาย การฆ่าตัวตายแบบมีผชู ้ ่วย เกิดขึ้นเมื่อมีคนคนหนึ่งนําพาความตายมาให้อีกคนอีกคนทางอ้อม
โดยการให้คาํ แนะนําหรื อวิธีการฆ่าตัวตายการฆ่าตัวตาย ซึ่งคนอีกคนมีบทบาทหลักในการนําพาความตาย
มาสู่คนคนหนึ่ง การเกิดความคิดฆ่าตัวตายเป็ นความคิดในการจบชีวิตคนคนหนึ่งแต่ไม่ตอ้ งใช้ความพยายาม
เพื่อทําการดังกล่าว

ปัจจัยเสี่ ยง

การแจกแจงสถานการณ์ที่ทาํ ให้เกิดการฆ่าตัวตายใน 16 รัฐของสหรัฐอเมริ กาในปี ค.ศ.


2008.
ปัจจัยต่าง ๆ ที่เป็ นความเสี่ ยงต่อการฆ่าตัวตาย ได้แก่ ความผิดปกติทางจิต การใช้ยาในทางที่ผิด ภาวะ
ทางจิตวิทยา สถานการณ์ทางวัฒนธรรม สังคม และครอบครัว และพันธุกรรมอาการป่ วยทางจิตใจกับการใช้
สารเสพติดนั้นมักเกิดร่ วมกันบ่อย ๆปัจจัยเสี่ ยงอื่น ๆ ยังรวมถึงความพยายามฆ่าตัวตายมาก่อนความ
เพียบพร้อมในการกระทําดังกล่าว ประวัติการฆ่าตัวตายของครอบครัว หรื ออาการบาดเจ็บทาง
สมอง ตัวอย่างเช่น อัตราการฆ่าตัวตายจะพบได้ในบ้านเรื อนที่มีอาวุธปื นมากกว่าบ้านเรื อนที่ไม่มีอาวุธปื น
ปัญหาทางสังคมเศรษฐกิจ เช่น การว่างงาน ความยากจน การไม่มีที่อยู่ และการเหยียดหยาม อาจกระตุน้ ให้
เกิดความคิดฆ่าตัวตายได้ คนที่ฆ่าตัวตาย 15-40% ทิ้งจดหมายฆ่าตัวตายไว้พนั ธุกรรมมีผลต่อพฤติกรรมการ
ฆ่าตัวตายอยูท่ ี่ 38% ถึง 55% ทหารผ่านศึกมีความเป็ นไปได้ที่จะฆ่าตัวตายมากกว่า เนื่องจากความเจ็บป่ วย
ทางจิตใจ และปัญหาสุขภาพที่มาจากสงคราม
1. ปัจจัยส่ วนบุคคล
1.1 เพศภาวะ (gender) เพศภาวะกับการฆ่าตัวตายในวัยรุ่ น การศึกษาเกี่ยวกับเพศภาวะของการฆ่าตัวตาย ใน
วัยรุ่ น พบว่าเพศชายมีพฤติกรรมที่นาํ มาซึ่งความเสี่ ยง เป็ นผลทางลบต่อสุขภาพ และการได้รับบาดเจ็บสูง
กว่า เพศหญิง ความเสี่ ยงในการฆ่าตัวตายสําเร็จของ เพศชายสูงกว่าหญิง 2-4 เท่า ซึ่งตรงข้ามกับความคิด
อยากฆ่าตัวตายและการพยายามฆ่าตัวตาย ที่เพศหญิง จะมีอตั ราสูงกว่ามากกว่าเพศชาย 3-9 เท่า อายุที่ เริ่ มต้น
ในการพยายามฆ่าตัวตายเพศหญิงจะเริ่ มที่อายุ น้อยกว่าชาย3 นอกจากนี้พบว่าในเด็กอายุต่าํ กว่า 15 ปี
เด็กผูห้ ญิงจะมีการทําร้ายตัวเองสูงกว่าเด็กผูช้ าย 4-5 เท่า และพบว่าเด็กวัยรุ่ นที่พยายามฆ่าตัวตายมีหลาย
กรณี ที่ไม่ตอ้ งการตาย แต่อธิบายว่าการกระทํานี้บอก ถึงความต้องการที่จะหยุดความรู ้สึกที่วยั รุ่ นทนไม่ได้
อีกต่อไป หรื อเพียงต้องออกไปจากสถานการณ์ที่ทาํ ให้ เจ็บปวดอย่างถึงที่สุด9 ความคิดและการพยายามฆ่า
ตัวตายใน เพศหญิงมีความสัมพันธ์กบั ระดับความรุ นแรงของ Risk Factor and Suicide Theory Associated
with Suicide in Adolescents: A Narrative Reviews Supattra Sukhawaha et al. J Psychiatr Assoc Thailand
Vol. 62 No. 4 October - December 2017 363 อาการซึมเศร้า โดยเฉพาะระดับปานกลางถึงสูง การถูกทารุ ณ
กรรมทางเพศ ความเครี ยดและโรค วิตกกังวล ส่วนในเพศชาย มีความสัมพันธ์กบั การ เป็ นโรคความผิดปกติ
ทางอารมณ์ โรคที่เกิดจากการ ติดสุ รา ซึ่งเพิ่มระดับความรุ นแรงของความก้าวร้าว และเลือกวิธีการที่จะทํา
ให้ตายได้สาํ เร็ จ3 มีการศึกษา ความแตกต่างของเพศภาวะในเรื่ องความโกรธเพื่อใช้ ในการทํานายความคิด
อยากฆ่าตัวตาย ของวัยรุ่ นอายุ 13-15 ปี ของประเทศเกาหลีใต้ โดยใช้แบบประเมิน ความโกรธ
(multidimensional anger inventory) และแบบประเมิน ความคิดอยากฆ่าตัวตาย (suicidal ideation
questionnaire) พบว่าความโกรธเป็ นตัวทํานาย ความคิดอยากฆ่าตัวตายในเพศชาย ส่วนในเพศหญิง จะมีท้ งั
ความโกรธ และความไม่พึงพอใจในการใช้ชีวิต ที่โรงเรี ยน เป็ นตัวทํานายความคิดอยากฆ่าตัวตาย10
นอกจากนี้ยงั พบว่าการฆ่าตัวตายในเพศหญิงมีความ แตกต่างตามฤดูกาล โดยฤดูใบไม้ผลิมีการฆ่าตัวตาย ตํ่า
กว่าฤดูอื่นอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติ ในขณะที่ เพศชายไม่มีความแตกต่างตามฤดูกาล11 ในการอธิบายความ
แตกต่างของการ ฆ่าตัวตายตามเพศภาวะหญิงและชายสรุ ปได้ดงั นี้12.13 - ในเพศชายพบมีพฤติกรรมก้าวร้าว
กล้าใช้ ความรุ นแรง หุนหันพลันแล่น มากกว่าเพศหญิง ซึ่งจะนํามาสู่การใช้วิธีการที่ทาํ ให้การฆ่าตัวตาย
ประสบความสําเร็ จ เช่นการแขวนคอ การใช้สารพิษ คาร์บอนมอนอกไซค์ การใช้ปืน ส่วนในเพศหญิงใช้วิธี
การกินสารพิษ ซึ่งมีผลในการถึงแก่ชีวิตตํ่ากว่า - มีความเป็ นไปได้ที่จะมีอคติ (bias) ในการ รายงานและ
จัดแบ่งประเภทการตายที่อาจทําให้เกิด ความแตกต่างระหว่างเพศภาวะในการฆ่าตัวตาย โดย เคยมีการ
โต้แย้งว่าเมื่อผูห้ ญิงฆ่าตัวตาย จะได้รับการ ยอมรับทางวัฒนธรรมตํ่ากว่าเมื่อเพศชายฆ่าตัวตาย ผลกระทบที่
ชัดเจนคืออาจทําให้ไม่มีการบันทึกหรื อ ตัดสิ นชี้ขาดว่าเพศหญิงฆ่าตัวตาย ดังนั้นการฆ่าตัวตาย ของเพศหญิง
บางส่วนอาจอยูภ่ ายใต้การไม่บนั ทึก และ การที่เพศหญิงส่วนใหญ่ฆ่าตัวตายโดยใช้สารพิษหรื อ ใช้ยา ซึ่ง
บางครั้งอาจไม่สามารถระบุได้ชดั เจนว่าเป็ นการ ฆ่าตัวตาย ยกเว้นบางประเทศเช่น จีน ที่รายงานว่า เพศหญิง
มีการฆ่าตัวตายมากกว่าเพศชาย โดยใช้ สารพิษในการเกษตร ซึ่งหาได้ง่าย - เพศหญิงมีความอดทนมากกว่า
และนํา ความอดทนมาปรับตัวเพื่ออยูก่ บั สิ่ งแวดล้อมได้ง่ายกว่า - ความแตกต่างระหว่างจิตพยาธิสภาพ
(psychopathology) ปัญหาสุ ขภาพจิตที่เกี่ยวข้องกับ การพยายามฆ่าตัวตาย พบว่าในเพศหญิงที่เป็ นโรคแพ
นิค (panic disorder) จะมีความเสี่ ยงในการพยายาม ฆ่าตัวตายมากกว่าเพศชาย ในขณะที่พบโรคติดสุรา ใน
เพศชายได้มากกว่า รวมทั้งการใช้สารเสพติดที่ผิด กฎหมาย อย่างไรก็ตามมีการศึกษาที่พบว่าการใช้ สารเสพ
ติด (substance abuse) และการเป็ นโรคซึมเศร้า (depression) เป็ นตัวทํานายพฤติกรรมการฆ่าตัวตาย ของ
วัยรุ่ นอายุ 17-18 ปี ได้ท้ งั เพศชายและหญิง แต่ สาเหตุเหนี่ยวนําแตกต่างกัน กล่าวคือเพศหญิงมักจะ เกิดโรค
ความผิดปกติทางอารมณ์ (โรคซึมเศร้า) ขณะที่ เพศชายเกิดจากการใช้สารเสพติด (substance abuse) และ
การมีพฤติกรรมรุ นแรง (violence behavior) ต่อต้านสังคม (antisocial behaviors) รวมทั้งปัญหาใน โรงเรี ยน
(school related problem) ความแตกต่างระหว่างจิตสังคม (psychosocial) ประเด็นทางจิตสังคมที่นาํ มา
อธิบาย ความแตกต่างของเพศภาวะในการฆ่าตัวตายคือ บทบาทในการปกป้องเด็กซึ่งได้รับการสนับสนุนให้
มี ความรับผิดชอบปกป้องเด็กผูห้ ญิงมากกว่า เด็กผูห้ ญิง จึงได้รับการปกป้องจากผูป้ กครองมากกว่า
นอกจากนี้ ยังพบว่าเพศหญิงจะแสวงหาความช่วยเหลือ เมื่อเกิด ปัจจัยเสี่ ยงและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการฆ่า
ตัวตายในวัยรุ่ น : การทบทวน วรรณกรรมเชิงลึก สุพตั รา สุขาวห และคณะ วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่ง
ประเทศไทย ปี ที่ 62 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2560 364 ปัญหาทางอารมณ์มากกว่าเพศชาย เช่น การใช้
โทรศัพท์ ขอความช่วยเหลือ - ปัญหาการถูกทารุ ณกรรม ขืนใจทางเพศ ในเด็กและวัยรุ่ น เป็ นปัจจัยเสี่ ยงที่
ชัดเจนในการนํามา สู่การพยายามฆ่าตัวตาย โดยเฉพาะในเพศหญิงที่เป็ น เหยือ่ ในการถูกข่มขืน ล่วงละเมิด
จากวัยรุ่ นชาย จะทําให้ เกิดภาวะซึมเศร้า สิ้ นหวัง และสู ญเสี ยการทําหน้าที่ใน ครอบครัว การทารุ ณกรรม
ทางเพศเป็ นปัจจัยที่ชดั เจน ทําให้มีความเสี่ ยงสูงในการคิดวางแผนฆ่าตัวตาย การทําให้ตวั เองได้รับบาดเจ็บ
เป็ น 10 เท่าและมีความ เสี่ ยงสูงในการพยายามฆ่าตัวตายเป็ น 15 เท่า เมื่อ เปรี ยบเทียบกับเด็กวัยรุ่ นชายที่
ไม่ได้ถูกล่วงละเมิด ทารุ ณกรรมทางเพศ
1.2 ยีน (gene) อัตราการฆ่าตัวตายของฝาแฝดไข่ใบเดียวกัน สูงกว่าฝาแฝดที่เป็ นไข่คนละใบ (ร้อยละ 24.1
และ 2.8) การพยายามฆ่าตัวตายมีความเกี่ยวข้องทางพันธุกรรม ประมาณ ร้อยละ 17-45 ในญาติที่มีผพู ้ ยายาม
ฆ่าตัวตาย โดยไม่ได้เกี่ยวกับการเกิดโรคทางจิตเวช มีการศึกษาที่เกี่ยวกับโครโมโซมที่ทาํ ให้คน พยายามฆ่า
ตัวตาย เป็ นโครโมโซม 2p11, 2p12, และ 2p, 5q, 6q, 8p, 11q, และ Xq การศึกษารายงานการ ฆ่าตัวตายใน
สายเลือดของผูฆ้ ่าตัวตาย พบความ เกี่ยวโยงกับโครโมโซม 6q25.2 ในระบบซีโรโทนีน (serotonergic
system) ซึ่งเป็ นยีนในการส่งผ่าน serotonin 1A (5-HT1A), serotonin 1B (5-HT1B), และ 5-HT2A เป็ นตัวจับ
(receptors) monoamine oxidase A (MAOA) ซึ่งเป็ น เอนไซม์ที่ทาํ ให้ลดระดับ ของ serotonin และ
tryptophan hydroxylase ซึ่ง ยับยั้ง การสังเคราะห์เอนไซม์ serotonin โดยตรวจพบใน ผูม้ ีพฤติกรรมการฆ่า
ตัวตาย พบว่ายีน TPH2 เกี่ยวข้อง กับ การฆ่าตัวตายและภาวะซึมเศร้า พบความสัมพันธ์ ที่เกี่ยวข้องกัน
ระหว่างยีนพันธุกรรม 5-HTTLPR ซึ่งจะ เพิ่มความเสี่ ยงในการฆ่าตัวตายและภาวะซึมเศร้าที่ ตอบสนองต่อ
เหตุการณ์สาํ คัญที่ก่อให้เกิดความเครี ยดสู ง ในชีวิต (stressful life events) ส่วนเด็กที่มี MAOA gene ในระดับ
ตํ่าจะทําให้เกิดพฤติกรรมต่อต้าน สังคม (antisocial behavior ) และเพิ่มความไวต่อการ ถูกกระตุน้ (greater
impulsivity) ซึ่งเป็ นปัจจัยเสี่ ยง ในการฆ่าตัวตายของเพศชาย14 นอกจากนี้การศึกษา prospective study
พบว่าบุตรที่เกิดจากคนที่เป็ นโรค ความผิดปกติทางอารมณ์ที่มีประวัติพยายามฆ่าตัวตาย เปรี ยบเทียบกับบุตร
ที่เกิดจากคนที่เป็ นโรคความผิดปกติ ทางอารมณ์แต่ไม่มีประวัติพยายามฆ่าตัวตาย พบว่า บุตรที่เกิดจากผูท้ ี่มี
ประวัติการฆ่าตัวตายมีอุบตั ิการณ์ การฆ่าตัวตายสูงกว่า ถึง 6.5 เท่าโดยปัจจัยทํานายที่มี นัยสําคัญของการเกิด
เหตุการณ์การฆ่าตัวตายคือการ เป็ นโรคความผิดปกติทางอารมณ์ มีโอกาสสูงเป็ น 7 เท่า
1.3 การมีอาการซึมเศร้าที่รุนแรง (severe depressive symptom) โรคซึมเศร้า พบได้ ร้อยละ 49-64 ในวัยรุ่ นที่
ฆ่าตัวตายสําเร็ จ9 มีการศึกษา แบบ cohort study พบว่า วัยรุ่ นที่มีอาการซึมเศร้า รุ นแรงมีความเสี่ ยงในการฆ่า
ตัวตายมากกว่าวัยรุ่ นที่ ไม่มีอาการซึมเศร้า โดยวัยรุ่ นที่มีอาการซึมเศร้าทําให้ เกิดความเสี่ ยงในการฆ่าตัวตาย
8.78 เท่าของคนที่ไม่มี อาการ นอกจากนี้ ยังพบว่าวัยรุ่ นที่ได้รับวินิจฉัยเป็ นโรคซึ มเศร้า
เมื่อติดตาม เป็ นระยะเวลา 10 ปี ขึ้นไป จนเข้าสู่ วยั ผูใ้ หญ่ พบว่า มีร้อยละ 7.7 ที่ฆ่าตัวตาย16 การศึกษาแบบ
cohort study พบว่าวัยรุ่ นที่มีอาการซึมเศร้ามีความเสี่ ยงในการ พยายามฆ่าตัวตายสูงกว่าวัยรุ่ นที่ไม่มีอาการ
1.29 เท่า การศึกษาแบบ cross sectional study พบว่าวัยรุ่ น ที่มีอาการซึมเศร้า มีความ เสี่ ยงในการคิดฆ่าตัว
ตาย 44 เท่า (OR = 44.05;95%CI 3.25-5.04)18 มีความเสี่ ยงในการพยายามฆ่าตัวตาย 2017 365
1.4 มีความผิดปกติทางจิต เป็ นโรคจิตเภท (schizophrenia) การศึกษาแบบ cohort study พบว่า ผูท้ ี่เป็ นโรคจิต
เภท มีความเสี่ ยงในการฆ่าตัวตายสูงกว่า คนที่ไม่ได้เป็ น 33.6 เท่า ความเสี่ ยงในการฆ่าตัวตายของวัยรุ่ นที่
เป็ น โรคจิตเภทมีสูงกว่าผูป้ ่ วยจิตเภทวัยผูใ้ หญ่และวัยสูงอายุ อย่างมีนยั สําคัญ โดยมีสูงกว่าวัยผูใ้ หญ่ 3 เท่า
โดยเฉพาะใน 2 ปี แรก21 การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็ นระบบ (systematic review ) ที่เป็ นปัจจุบนั พบว่า
ปัจจัยเสี่ ยง ในการฆ่าตัวตายของผูป้ ่ วยโรคจิตเภท คือการเป็ น วัยรุ่ น เพศชาย เคยพยายามฆ่าตัวตาย หลาย
ครั้ง มีอาการ ซึมเศร้า มีอาการประสาทหลอนและหลงผิด ไม่รับรู ้ใน การเจ็บป่ วยของตัวเอง มีโรคทางกาย
เรื้ อรังร่ วมด้วย มีประวัติคนในครอบครัวฆ่าตัวตาย และการใช้สุรายา เสพติด22
1.5 มีประวัติเคยพยามฆ่าตัวตายมาก่อน วัยรุ่ นที่เคยฆ่าตัวตายเพียง 1 ครั้งเพิ่มความเสี่ ยงใน การฆ่าตัวตายซํ้า
ถึง 15 ครั้ง ร้อยละ 30 ของผูพ้ ยายาม ฆ่าตัวตายทั้งหมดเคยฆ่าตัวตายอีก 2-3 ครั้งในปี เดียวกัน และร้อยละ 14
เคยพยายามฆ่าตัวตาย 4 ครั้ง ในปี เดียวกัน23 การศึกษาแบบ longitudinal study 2 ปี พบว่าวัยรุ่ นที่เคยมี
ประวัติ ฆ่าตัวตายมาก่อนมีความ เสี่ ยงในการฆ่าตัวตาย 20.13 เท่า ของวัยรุ่ นที่ไม่มี ประวัติเคยฆ่าตัวตาย
1.6 ปัจจัยร่ วมในเรื่ องบุคลิกภาพ การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็ นระบบศึกษา personality traits ที่มี
ความสัมพันธ์กบั ความคิดอยากฆ่าตัวตาย การพยายามฆ่าตัวตาย และการฆ่าตัวตายสําเร็จ พบว่า ความสิ้ น
หวัง (hopelessness) เป็ นปัจจัย ทีมีความ สําคัญในการพยากรณ์การพยามฆ่าตัวตายและการฆ่า ตัวตายสําเร็จ
ของบุคคลทั้งนี้หากมีความสิ้ นหวังร่ วมกับ มีบุคลิกภาพเดิมแบบหวัน่ ไหวง่าย (neuroticism) และ เป็ นคนที่
ชอบเปิ ดเผย (extroversion) จะมีความเสี่ ยงใน การเกิดพฤติกรรมการฆ่าตัวตายสู งสุ ด นอกจากนี้ยงั พบ ใน
คนที่มีบุคลิกภาพก้าวร้าว (aggression) หุนหันพลัน แล่น (impulsivity) โกรธง่าย (anger) อารมณ์แปรปรวน
ง่ายไม่มนั่ คง (irritability) ไม่เป็ นมิตร (hostility) และ วิตกกังวล (anxiety)24
1.7 การใช้สารเสพติด/การติดสุรา ใน วัยรุ่ นชายที่ได้รับการวินิจฉัยเป็ น substance use disorders มีความเสี่ ยง
ในการฆ่าตัวตายสูงกว่าคนที่ ไม่เป็ น 5.09 เท่า เช่นเดียวกับที่พบในการศึกษาแบบ retrospective study ว่าคน
ที่ใช้ยาเสพติดในวัยเด็กมีความเสี่ ยงในการ ฆ่าตัวตาย 3 เท่าของคนที่ไม่ใช้ คนที่ติดสุ ราในวัยรุ่ นมีความเสี่ ยง
ในการฆ่าตัวตาย 5 เท่า รวมทั้งการศึกษา แบบ cross sectional survey ในประเทศไทยที่พบว่า วัยรุ่ นไทยที่มี
การใช้สุรามีความเสี่ ยงในการคิดฆ่าตัวตาย 2.32 เท่า
1.8 มีประวัติเคยถูกทําร้ายร่ างกาย/ ทารุ ณกรรมทางเพศ การศึกษาแบบ retrospective cohort study พบว่าคน
ที่มีประวัติเคยถูกทําร้ายร่ างกาย /ทารุ ณกรรมทางเพศในวัยรุ่ น อย่างน้อย 1 ครั้ง พบว่า ร้อยละ3.8 ที่มีการ
พยายามการฆ่าตัวตายอีก 2-5 ครั้ง
1.9 การมีเหตุการณ์ในชีวิตที่ไม่พึงประสงค์ (adverse stressful life events) และก่อให้เกิด ความเครี ยด ทั้งที่มี
หรื อไม่มีการเจ็บป่ วยทางจิต จาก การศึกษาเหตุการณ์ในชีวิตก่อนที่จะฆ่าตัวตายสําเร็ จ ของวัยรุ่ น พบว่าการ
ฆ่าตัวตายที่ไม่มีการเจ็บป่ วยทางจิต มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ทางลบที่ไม่พึงประสงค์ใน ชีวิต 3 เดือน
ก่อนจะฆ่าตัวตายโดยเฉพาะ 1 สัปดาห์ก่อน ฆ่าตัวตาย ซึ่งเป็ นเหตุการณ์ในเรื่ องสัมพันธภาพระหว่าง ปัจจัย
เสี่ ยงและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการฆ่าตัวตายในวัยรุ่ น : การทบทวน วรรณกรรมเชิงลึก สุพตั รา สุขาวห และ
คณะ วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย ปี ที่ 62 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2560 366 บุคคล และ
เรื่ องที่เกี่ยวกับกฎหมาย เช่น ถูกจับกุม ฟ้องร้องหรื อถูกพิพากษา27 เช่นเดียวกับการศึกษา รู ปแบบการทํานาย
พฤติกรรมเสี่ ยงในการฆ่าตัวตายของ วัยรุ่ นไทย พบว่า เหตุการณ์ชีวิตในทางลบและความ ครุ่ นคิด
(rumination) ที่ส่งผ่านความตึงเครี ยดทาง อารมณ์(emotional distress) มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม เสี่ ยงในการ
ฆ่าตัวตายของวัยรุ่ นไทย28
1.10 การใช้วิธีการเผชิญปัญหาที่ไม่มี ประสิ ทธิภาพ (ineffective coping strategies) การศึกษา แบบ cross
sectional survey ในวัยรุ่ นประเทศ เกาหลี พบว่าตัวแปรการใช้วิธีการเผชิญปัญหาที่ไม่มี ประสิ ทธิภาพมี
ความเสี่ ยงในการฆ่าตัวตาย
1.11 รักร่ วมเพศ (homosexual) หรื อ ผูร้ ักร่ วมสองเพศ (bisexual) มีการศึกษาที่พบว่า วัยรุ่ นที่เป็ นรักร่ วมเพศ
หรื อไบเช็คชวล มีความเสี่ ยงใน การพยายามฆ่าตัวตายสูงกว่า9 และความเสี่ ยงจะเพิ่ม ขึ้นหาก ครอบครัวไม่
ยอมรับ การเป็ นรักร่ วมเพศ เช่น เกย์ เลสเบี้ยน หรื อเป็ นรักร่ วมสองเพศของวัยรุ่ น จะมี ความสัมพันธ์กบั การ
พยายามฆ่าตัวตายของวัยรุ่ น ถึง 8.35 เท่า เมื่อ เปรี ยบเทียบกับวัยรุ่ นที่ครอบครัวให้การยอมรับ
1.12 การได้รับยา antidepressant ในกลุ่ม selective serotonin reuptake inhibitors (SSRIs) มีการทบทวน
วรรณกรรมอย่างเป็ นระบบ systematic review และ meta-analysis ที่เป็ นปัจจุบนั โดยเลือก การศึกษาที่เป็ น
รายงานทางคลินิก (clinical report) ที่มีการปกปิ ดสองทาง (double blind) เกี่ยวกับผลการ ใช้ SSRI ต่อการฆ่า
ตัวตาย (suicidality) ในวัยรุ่ น พบว่า การใช้ SSRI มีความเสี่ ยงต่อการฆ่าตัวตาย 2.39 เท่า เช่นเดียวกับ
systematic review ของ observation study ที่พบว่า SSRI เพิม่ ความเสี่ ยงในการฆ่าตัวตายในวัยรุ่ น 1.92 เท่า
2.44)31 2. ปัจจัยด้านครอบครัว 2.1 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพ่อแม่และ คนในครอบครัว การศึกษา cross-
sectional survey พบว่าปัจจัยเกี่ยวกับครอบครัวที่มีความเสี่ ยงต่อการ ฆ่าตัวตายในวัยรุ่ นจีน ได้แก่ ครอบครัว
ที่พ่อแม่มี พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม (เช่น มีการดุด่า การลงโทษทาง กายอย่างรุ นแรง การควบคุมลูกมาก
เกินไป ทําความ คาดหวังของพ่อแม่ไม่สาํ เร็ จ มีสัมพันธภาพที่ไม่ดี ขัดแย้งกัน)
2. ปัจจัยด้านครอบครัว
2.1 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพ่อแม่และ คนในครอบครัว การศึกษา cross-sectional survey พบว่าปัจจัยเกี่ยวกับ
ครอบครัวที่มีความเสี่ ยงต่อการ ฆ่าตัวตายในวัยรุ่ นจีน ได้แก่ ครอบครัวที่พ่อแม่มี พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
(เช่น มีการดุด่า การลงโทษทาง กายอย่างรุ นแรง การควบคุมลูกมากเกินไป ทําความ คาดหวังของพ่อแม่ไม่
สําเร็จ มีสัมพันธภาพที่ไม่ดี ขัดแย้งกัน

3. ปัจจัยด้านสังคม
3.1 การมีเพื่อนที่เคยมีประวัติพยายาม ฆ่าตัวตาย หรือการทาตัวแปลกแยกจากสังคม การศึกษา
longitudinal survey พบว่าการ มีเพื่อนที่มีประวัติฆ่าตัวตาย เพิ่มความเสี่ยงต่อการ พยายามฆ่าตัวตาย ใน
วัยรุ่นชาย วัยรุ่นหญิง เป็ น 1.67 เท่าหรื อการแยกตัวจากสังคม มีความเสี่ยงทาให้ วัยรุ่นหญิง พยายามฆ่า
ตัวตาย 2 เท่า

3.2 การเลียนแบบ (copy cat) สื่ อมีผล ทําให้วยั รุ่ นเกิดการเลียนแบบพฤติกรรมการฆ่าตัวตาย ในเรื่ องวิธีการ
และการที่สื่อแสดงให้เห็นว่าวัยรุ่ นที่ ฆ่าตัวตายได้สาํ เร็จ มีชื่อเสี ยง เป็ นวัยรุ่ นที่ได้รับความ สนใจให้
ความสําคัญ ทําให้วยั รุ่ นอยากฆ่าตัวตายเพื่อ ทําให้ตนมีชื่อเสี ยงด้วย34 มีการศึกษาที่ศึกษาความ สัมพันธ์
ระหว่างสารคดีที่เกี่ยวข้องการฆ่าตัวตาย กับการฆ่าตัวตายของวัยรุ่ น มี systematic review การศึกษาที่มี
รายงานว่าสื่ อมีความเกี่ยวข้องกับการ ฆ่าตัวตาย จํานวน 56 เรื่ อง ซึ่งส่วนใหญ่พบว่าสื่ อมีผล ต่อการฆ่าตัว
ตาย อย่างไรก็ตาม ผูว้ ิจยั ได้ระบุวา่ รายงาน ที่นาํ มาวิเคราะห์ อาจมีอคติในการรายงาน อีกทั้งไม่ได้ เป็ น
ตัวแทนของข้อมูลการฆ่าตัวตายที่ปรากฎในองค์กร สํานักงานที่รับผิดชอบ และมีแนวโน้มที่อาจจะรายงาน
เกินความเป็ นจริ งเกี่ยวกับการฆ่าตัวตาย เช่น การใช้ วิธีการ ฆ่าตัวตายให้ตายสําเร็ จที่พบได้นอ้ ยในชีวิตจริ ง
โรคทางจิตใจ
โรคทางจิตใจเกิดขึ้น ณ เวลาที่ฆ่าตัวตายด้วยพิสัยตั้งแต่ 27% จนถึงมากกว่า 90%]ใน
บรรดาคนที่เคยเข้ารับการรักษาทางจิต ความเสี่ ยงในการฆ่าตัวตายสําเร็ จในช่วงชีวิตอยูท่ ี่
ประมาณ 8.6%ประชาชนครึ่ งหนึ่งที่เสี ยชีวิตจากการฆ่าตัวตายอาจเป็ นโรคเกี่ยวกับความหดหู่
หากมีโรคทางจิตใจอย่างน้อยหนึ่งชนิด เช่น โรคอารมณ์สองขั้ว เพิ่มความเสี่ ยงที่จะฆ่าตัวตายถึง
20 เท่าโรคอื่น ๆ เช่น โรคจิตเภท (14%) ความผิดปกติดา้ นบุคลิกภาพ (14%)]โรคอารมณ์สองขั้ว
[
และความผิดปกติที่เกิดหลังความเครี ยดที่สะเทือนใจ คนที่เป็ นโรคจิตเภทราว 5% เสี ยชีวิตจาก
การฆ่าตัวตายความผิดปกติเกี่ยวกับการกินเป็ นอีกภาวะหนึ่งที่มีความเสี่ ยงสู ง
ประวัติของความพยายามฆ่าตัวตายเป็ นตัวทํานายการฆ่าตัวตายสมบูรณ์แบบที่ใหญ่ที่สุด
การฆ่าตัวตายประมาณ 20% เคยมีความพยายามฆ่าตัวตายมาก่อน และในจํานวนผูท้ ี่พยายามฆ่า
ตัวตายนั้น มีผทู ้ ี่ฆ่าตัวตายสําเร็ จภายในเวลาหนึ่งปี เพียง 1 %[และฆ่าตัวตายสําเร็ จภายใน 10 ปี
เพียง 5%การกระทําที่เป็ นการทําร้ายตนเองมักไม่ใช่ความพยายามฆ่าตัวตาย และคนที่ทาํ ร้าย
ตนเองส่ วนมากไม่มีความเสี่ ยงที่จะฆ่าตัวตาย คนที่ทาํ ร้ายตนเองบางคนตัดสิ นใจจบชีวิตด้วยการ
ฆ่าตัวตายจริ ง และความเสี่ ยงของการทําร้ายตนเองและการฆ่าตัวตายอาจทับซ้อนกัน
การฆ่าตัวตายสมบูรณ์ประมาณ 80%ผูท้ ี่ฆ่าตัวตายได้พบกับหมอภายในเวลาหนึ่งปี ก่อน
เสี ยชีวิต 45%ของจํานวนนี้พบหมอในหนึ่งเดือนก่อนหน้า ผูท้ ี่ฆ่าตัวตายสําเร็ จประมาณ 25-40%
ใช้บริ การสุ ขภาพจิตในเวลาหนึ่งปี มาก่อน
การใช้สารเสพติด

การใช้สารเสพติดเป็ นปัจจัยเสี่ ยงต่อการฆ่าตัวตายอันดับที่สองรองจากโรคซึมเศร้าและโรคอารมณ์


สองขั้วทั้งการใช้สารเสพติดเรื้ อรังและการเสพสารมึนเมาก็มีส่วน เมื่อรวมกับความโศกเศร้าส่วนตัว เช่น
การสู ญเสี ยคนรัก ความเสี่ ยงยิง่ เพิ่มขึ้นอีก นอกจากนี้การใช้สารเสพติดยังเป็ นเหตุให้เกิดโรคทางสุ ขภาพจิต
ใจด้วย[21]
คนส่วนมากได้รับผลกระทบจากฤทธิ์ ยาระงับประสาท (เช่น แอลกอฮอล์ หรื อเบนโซไดอาเซพีนส์)
หลังเขาเสี ยชีวิตจากการฆ่าตัวตายโดย 15-61% ของคนกลุ่มนี้เป็ นโรคพิษสุ ราประเทศที่มีการบริ โภค
แอลกอฮอล์สูง และมีบาร์ในเมืองอย่างหนาแน่น มีอตั ราการฆ่าตัวตายสูง ผูท้ ี่ได้รับการรักษาโรคพิษสุรา
ประมาณ 2.2-3.4% ณ เวลาหนึ่งในชีวิตจะเสี ยชีวิตจากการฆ่าตัวตาย คนติดสุราที่พยายามฆ่าตัวตายปกติเป็ น
ผูช้ าย สู งอายุ และเคยพยายามฆ่าตัวตายมาก่อนผูเ้ สี ยชีวิตที่ใช้เฮโรอีน 3-35% เสี ยชีวิตจากการฆ่าตัวตาย
(มากกว่าผูท้ ี่ไม่ใช้ประมาณ 14 เท่า) ในผูใ้ หญ่ที่ดื่มสุรา การทํางานผิดพลาดของระบบประสาทและทางจิต
อาจมีส่วนในการเพิ่มความเสี่ ยงต่อการฆ่าตัวตาย
วิธีการฆ่าตัวตาย
วิธีการฆ่าตัวตายที่พบมากจะแตกต่างไปตามประเทศต่าง ๆ วิธีการที่พบมากในภูมิภาคต่าง ๆ
ได้แก่ การแขวนคอ การวางยาด้วยสารฆ่าสัตว์รังควาน และการใช้อาวุธปื นความแตกต่างเหล่านี้ส่วนหนึ่ง
เชื่อกันว่ามาจากความเป็ นไปได้ของแต่ละวิธีจากการทบทวน ประเทศ 56 ประเทศพบว่าการแขวนคอเป็ น
วิธีการที่พบมากที่สุดคิดเป็ นเพศชาย 53% และเพศหญิง 39%
ในทัว่ โลก การฆ่าตัวตาย 30% มาจากสารฆ่าสัตว์รังควาน อย่างไรก็ตาม วิธีน้ ีในยุโรปผันแปร 4% และใน
ภูมิภาคแปซิฟิกผันแปรมากกว่า 50%วิธีน้ ีพบได้บ่อยในลาตินอเมริ กาเนื่องจากประชากรที่ทาํ ไร่ นาเข้าถึงสาร
ดังกล่าวได้ง่ายในหลายประเทศ การใช้ยาเกินขนาดคิดเป็ นราว 60% ของการฆ่าตัวตายในผูห้ ญิง และ 30%
ในผูช้ าย[55] การฆ่าตัวตายจํานวนมากไม่ได้ไตร่ ตรองไว้ก่อน และเกิดขึ้นในช่วงเวลาอารมณ์รวนเรฉับพลัน
[47]
อัตราการตายแตกต่างกันไปตามวิธีการ กล่าวคือ จากอาวุธปื น 80-90% การจมนํ้า 65-80% การแขวนคอ
60-85% ท่อไอเสี ยรถยนต์ 40-60% การกระโดด 35-60% การรมควันจากถ่านไม้ 40-50% สารฆ่าสัตว์รัง
ควาน 6-75% และการใช้ยาเกินขนาด 1.5-4% อัตราการพยายามฆ่าตัวตายที่พบได้บ่อยที่สุดต่างจากอัตรา
ความสําเร็ จในการฆ่าตัวตาย กล่าวคือ ความพยายาม 85% เป็ นการใช้ยาเกินขนาดในประเทศพัฒนาแล้วใน
ประเทศจีน การบริ โภคสารฆ่าสัตว์รังควานเป็ นวิธีการฆ่าตัวตายที่พบมากที่สุด]ในประเทศญี่ปุ่น วิธีการ
คว้านไส้ตนเองที่เรี ยกว่า เซ็ปปุกุ หรื อฮาราคีรี ยังคงเกิดขึ้นอยูอ่ ย่างไรก็ตาม การแขวนคอพบได้บ่อย
ที่สุด การกระโดดจนถึงแก่ชีวิตพบมากในฮ่องกงและประเทศสิ งคโปร์ ที่อตั รา 50% และ 80% ตามลําดับใน
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ซึ่งมีอาวุธปื นอยูท่ วั่ ไป แต่การฆ่าตัวตายที่พบบ่อยที่สุดคือการแขวนคอ[58] ใน
สหรัฐอเมริ กา การฆ่าตัวตาย 57% เกี่ยวพันกับอาวุธปื น พบในผูช้ ายมากกว่าผูห้ ญิงรองลงมาคือการแขวนคอ
ในผูช้ าย และการวางยาพิษตนเองในผูห้ ญิงวิธีการเหล่านี้รวมกันคิดเป็ น 40% ของการฆ่าตัวตายใน
สหรัฐอเมริ กา
ศาสนาอิสลาม เป็ นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อลั กุรอาน คัมภีร์
ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็ นพระวจนะคําต่อคําของพระเป็ นเจ้า (อัลลอฮฺ) และสําหรับสาวกส่วน
ใหญ่ เป็ นคําสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน (เรี ยกว่า สุนตั และประกอบด้วยหะดีษ) ของมุฮมั
มัด (ประมาณ 570–8 มิถุนายน 632) เป็ นศาสดา (นบี) องค์สุดท้ายของพระเป็ นเจ้า สาวกของศาสนาอิสลาม
เรี ยกว่า มุสลิม
มุสลิมเชื่อว่า พระเจ้าเป็ นหนึ่งและหาที่เปรี ยบไม่ได้ และจุดประสงค์ของการดํารงอยู่ คือ เพื่อรักและ
รับใช้พระเป็ นเจ้า มุสลิมยังเชื่อว่า ศาสนาอิสลามเป็ นบรรพศรัทธาฉบับสมบูรณ์และเป็ นสากลที่สุดซึ่งได้
ประจกษ์มาหลายครั้งก่อนหน้านั้น ผ่านศาสดาซึ่งรวมอาดัม โนอาห์ อับราฮัม โมเสส และพระเยซู]พวกเขา
ยึดมัน่ ว่า สารและวิวรณ์ถูกแปลผิดหรื อเปลี่ยนแปลงบางส่วนตามกาล[3] แต่มองว่าอัลกุรอานภาษาอาหรับ
เป็ นทั้งวิวรณ์สุดท้ายและไม่เปลี่ยนแปลงของพระเป็ นเจ้า[4] มโนทัศน์และหลักศาสนามีเสาหลักทั้งห้าของ
อิสลาม ซึ่งเป็ นมโนทัศน์พ้นื ฐานและการปฏิบตั ิตนนมัสการที่ตอ้ งปฏิบตั ิตาม และกฎหมายอิสลามที่ตามมา
ซึ่งครอบคลุมแทบทุกมุมของชีวิตและสังคม โดยกําหนดแนวทางในหัวเรื่ องหลายหลาก ตั้งแต่การธนาคาร
ไปจนถึงสวัสดิการ ชีวิตครอบครัวและสิ่ งแวดล้อม
มุสลิมส่วนใหญ่เป็ นนิกายซุนนีย ์ คิดเป็ น 75–90% ของมุสลิมทั้งหมด นิกายใหญ่ที่สุดอันดับสอง
คือ ชีอะฮ์ คิดเป็ น 10–20%]ประเทศมุสลิมใหญ่ที่สุด คือ ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งมีชาวมุสลิม 12.7% ของโลก
ตามมาด้วยปากีสถาน (11.0%) อินเดีย (10.9%) และบังกลาเทศ (9.2%) นอกจากนี้ ยังพบชุมชนขนาดใหญ่
ในจีน รัสเซียและยุโรปบางส่วน ด้วยสาวกกว่า 1,500 ล้านคน หรื อ 22% ของประชากรโลก อิสลามจึงเป็ น
ศาสนาใหญ่ที่สุดอันดับสองและศาสนาหลักที่เติบโตเร็วที่สุดในโลกศาสนาหนึ่ง
พระเป็ นเจ้ า
หลักมูลที่สุดของศาสนาอิสลาม คือ เอกเทวนิยมอย่างเคร่ งครัด เรี ยก เตาฮีต พระเป็ นเจ้าพรรณนาใน
บทที่ 112 ของคัมภีร์อลั กุรอานว่า "จงกล่าวเถิด "พระองค์คืออัลลอฮฺ พระผูท้ รงเอกะ อัลลอฮฺน้ นั ทรงอิสระ
พระองค์ไม่ทรงประสูติบุตร และไม่ทรงถูกประสูติ และไม่มีผใู ้ ดเสมอเหมือนพระองค์"" (112:1-4) มุสลิม
และยิวบอกเลิกหลักตรี เอกานุภาพของคริ สต์ศาสนิกชนและเทวภาวะของพระเยซู โดยเปรี ยบเทียบกับพหุ
เทวนิยม ในศาสนาอิสลาม พระเป็ นเจ้าอยูเ่ กินความเข้าใจซึ้งใด ๆ และมุสลิมไม่คาดหวังเห็นพระเป็ นเจ้า
พระเป็ นเจ้าถูกพรรณาและอ้างถึงในหลายพระนามหรื อลักษณะเฉพาะบางอย่าง ที่พบบ่อยที่สุดคือ อัร-เราะห์
มาน (Al-Rahmān) หมายถึง "พระผูท้ รงเมตตา" และอัล-ราฮีม (Al-Rahīm) หมายถึง "พระผูท้ รงปรานี"
มุสลิมเชื่อว่าการสรรสร้างทุกสิ่ งในเอกภาพถูกทําให้มีโดยพระโองการบริ บูรณ์ของพระเป็ นเจ้า "จง
เป็ น แล้วมันก็เป็ นขึ้นมา" และความมุ่งหมายของการดํารงอยูค่ ือเพื่อบูชาพระเป็ นเจ้า มองว่าพระองค์เป็ น
พระเป็ นเจ้าเฉพาะบุคคลซึ่งทรงสนองเมื่อใดก็ตามที่บุคคลต้องการหรื อเป็ นทุกข์เรี ยกหาพระองค์ ไม่มีคน
กลาง เช่น นักบวช เพื่อติดต่อพระเป็ นเจ้าซึ่งว่า "เรานั้นใกล้ชิดเขายิง่ กว่าเส้นโลหิ ตชีวิตของเขาเสี ยอีก" มี
กล่าวถึงธรรมชาติส่วนกลับในหะดีษกุดซีย ์ "เราเป็ นอย่างที่ผรู ้ ับใช้ของเราคิด (คาด) ว่าเราเป็ น"
อัลลอฮฺเป็ นคําไม่มีพหูพจน์หรื อเพศที่มุสลิมและคริ สต์ศานิกชนและยิวที่พูดภาษาอารบิกอ้างถึงพระ
เป็ นเจ้า ส่วน "อิเลาะห์" เป็ นคําที่ใช้กบั เทวดาหรื อเทพเจ้าโดยรวม
เทวทูต
ความเชื่อในเทวทูตเป็ นหลักมูลต่อศรัทธาศาสนาอิสลาม คําภาษาอารบิกสําหรับทูตสวรรค์ หมายถึง
"ทูต" เหมือนคําเดียวกันในภาษาฮีบรู (malakh) และกรี ก (angelos) ตามคัมภีร์อลั กุรอาน เทวทูตไม่มี
เจตจํานงเสรี ฉะนั้นจึงบูชาและเชื่อฟังพระเป็ นเจ้าโดยทําตามอย่างสมบูรณ์ กิจของเทวทูตมีการสื่ อสารวิวรณ์
จากพระเป็ นเจ้า การเฉลิมพระเกียรติพระเป็ นเจ้า การบันทึกทุกกิริยาของบุคคล และการเอาวิญญาณของ
บุคคลเมื่อถึงกาลมรณะ มุสลิมเชื่อว่าเทวทูตทําจากแสง พรรณนาว่าเทวทูตเป็ น "ทูต มีปีก สองหรื อสามหรื อ
สี่ (คู่) [อัลลอฮฺ]ทรงเพิ่มในการสร้างตามที่พระองค์ทรงประสงค์..
หลักคําสอน
หลักคําสอนของศาสนาอิสลามแบ่งไว้ 3 หมวดดังนี้

1. หลักการศรัทธา
2. หลักจริ ยธรรม
3. หลักการปฏิบตั ิ
หลักการศรัทธา
สติปัญญาและสามัญสํานึกจะพบว่า จักรวาลและมวลสรรพสิ่ งทั้งหลายที่มีอยู่ มิได้อุบตั ิข้ นึ มาด้วย
ตัวเอง เป็ นที่แน่ชดั ว่า สิ่ งเหล่านี้ได้ถูกอุบตั ิข้ ึนมาโดยพระผูส้ ร้าง ผูท้ รงสู งสุ ดเพียงพระองค์เดียว ที่ไม่แบ่ง
ภาค หรื อแบ่งแยกเป็ นสิ่ งใด ไม่ถูกบังเกิด ไม่ถูกกําเนิด และไม่ให้กาํ เนิดบุตร ธิดาใด ๆ ผูท้ รงสร้าง และ
บริ หารสรรพสิ่ งด้วยอํานาจและความรอบรู ้ที่ไร้ขอบเขต ทรงกําหนดกฎเกณฑ์ที่โดยทัว่ ไปไม่มีการ
เปลี่ยนแปลงหรื อไว้ทวั่ ทั้งจักรวาลหรื อที่เข้าใจว่าเป็ น"กฎธรรมชาติ" ทรงขับเคลื่อนจักรวาลด้วยระบบที่
ละเอียดอ่อน มีเป้าหมาย ซึ่งไม่มีสรรพสิ่ งใดถูกสร้างขึ้นมาอย่างไร้สาระ
พระผูเ้ ป็ นเจ้าผูท้ รงเมตตา ทรงสร้างมนุษย์ข้ นึ มาอย่างประเสริ ฐจะเป็ นไปได้อย่างไร ที่พระองค์จะ
ปล่อยให้มนุษย์ดาํ เนินชีวิตอยูไ่ ปตามลําพัง โดยไม่ทรงเหลียวแล หรื อปล่อยให้สังคมมนุ ษย์ และสิ่ งมีชีวิต
กําเนิดขึ้น แล้วดําเนินไปตามยถากรรมของตัวเอง สภาวะแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตดํารงอยูจ่ ึงเป็ นความพอดีอย่าง
ทีสุดที่ผใู ้ ช้ปัญญา ไม่สามารถอธิบายได้ดว้ ย"ความบังเอิญ" สอดคล้องตามทฤษฎีความน่าจะเป็ นทาง
คณิตศาสตร์
พระองค์ทรงขจัดความสงสัยเหล่านี้ ด้วยการประทานกฎการปฏิบตั ิต่าง ๆ ผ่านบรรดาศาสดา ให้มา
สั่งสอนและแนะนํามนุษย์ไปสู่ การปฏิบตั ิ สําหรับการดําเนินชีวิต แน่นอนมนุษย์อาจมองไม่เห็นผล หรื อ
ได้รับประโยชน์จากการทําความดี หรื อได้รับโทษจากการทําชัว่ ของตนในชีวิตบนโลกนี้ ที่เป็ นเพียงโลก
แห่งการทดสอบ โลกแห่งการตอบแทนที่แท้จริ งยังมาไม่ถึง
จากจุดนี้ทาํ ให้เข้าใจได้ทนั ทีวา่ ต้องมีสถานที่อื่นอีก อันเป็ นสถานที่ตรวจสอบการกระทําของมนุษย์
อย่างละเอียดถี่ถว้ น ถ้าเป็ นความดีพวกเขาจะได้รับรางวัลเป็ นผลตอบแทน แต่ถา้ เป็ นความชัว่ ก็จะถูกลงโทษ
ไปตามผลกรรมนั้น ศาสนาได้เชิญชวนมนุษย์ไปสู่ หลักการศรัทธา และความเชื่อมัน่ ที่สัตย์จริ ง พร้อม
พยายามผลักดันมนุษย์ ให้หลุดพ้นจากความโง่เขลาเบาปัญญา ระบอบการกดขี่ การแบ่งชั้นวรรณะ และ
บังเกิดสันติสุขของมนุษยชาติโดยรวมในที่สุด
หลักจริยธรรม
ศาสนาสอนว่า ในการดําเนินชีวิตจงเลือกสรรเฉพาะสิ่ งที่ดี อันเป็ นที่ยอมรับของสังคม จงทําตนให้
เป็ นผูด้ าํ รงอยูใ่ นศีลธรรม พัฒนาตนเองไปสู่การมีบุคลิกภาพที่ดี เป็ นคนที่รู้จกั หน้าที่ ห่วงใย มีเมตตา มีความ
รัก ซื่อสัตย์ต่อผูอ้ ื่น รู ้จกั ปกป้ องสิ ทธิของตน ไม่ละเมิดสิ ทธิของผูอ้ ื่น เป็ นผูม้ ีความเสี ยสละไม่เห็นแก่ตวั และ
หมัน่ ใฝ่ หาความรู ้ ทั้งหมดที่กล่าวมานี้เป็ นคุณสมบัติของผูม้ ีจริ ยธรรม ซึ่งความสมบูรณ์ท้ งั หมดอยูท่ ี่ความ
ยุติธรรม
หลักการปฏิบัติ
ศาสนาสอนว่า กิจการงานต่าง ๆ ที่จะทํานั้น มีความเหมาะสมกับตนเองและสังคม ขณะเดียวกันต้อง
ออกห่างจากการงานที่ไม่ดี ที่สร้างความเสื่ อมเสี ยอย่างสิ้ นเชิง
ส่ วนการประกอบคุณงามความดีอื่น ๆ การถือศีลอด การนมาซ และสิ่ งที่คล้ายคลึงกับสิ่ งเหล่านี้ เป็ น
การแสดงให้เห็นถึงการเป็ นบ่าวที่จงรักภักดี และปฏิบตั ิตามบัญชาของพระองค์ กฎเกณฑ์และคําสอนของ
ศาสนา ทําหน้าที่คอยควบคุมความประพฤติของมนุษย์ ทั้งที่เป็ นหลักศรัทธา หลักปฏิบตั ิและจริ ยธรรม
เราอาจกล่าวได้วา่ ผูท้ ี่ละเมิดคําสั่งต่าง ๆ ของศาสนา มิได้ถือว่าเขาเป็ นผูท้ ี่ศรัทธาอย่างแท้จริ ง หากแต่
เขากระทําการต่าง ๆ ไปตามอารมณ์และความต้องการใฝ่ ตํ่าของเขาเท่านั้นเอง

ศาสนาอิสลามในความหมายของอัล-กุรอานนั้น หมายถึง "แนวทางในการดําเนินชีวิต ที่มนุษย์จะปราศจาก


มันไม่ได้" ส่ วนความแตกต่างระหว่างศาสนากับกฎของสังคมนั้น คือศาสนาได้ถูกประทานมาจากพระผูเ้ ป็ น
เจ้า ส่ วนกฎของสังคมเกิดขึ้นจากความคิดของมนุษย์ อีกนัยหนึ่ง ศาสนาอิสลามหมายถึง การดําเนินของ
สังคมที่เคารพต่ออัลลอหฺ และเชื่อฟังปฏิบตั ิตามคําบัญชาของพระองค์
อัลลอฮ์ ตรัสเกี่ยวกับศาสนาอิสลามว่า "แท้จริ ง ศาสนา ณ อัลลอฮฺ คืออิสลาม และบรรดาผูท้ ี่ได้รับ
คัมภีร์มิได้ขดั แย้งกัน นอกจากภายหลังที่ความรู ้มาปรากฏแก่พวกเขาเท่านั้น ทั้งนี้ เนื่ องจากความอิจฉาริ ษยา
ระหว่างพวกเขาเอง และผูใ้ ดปฏิเสธต่อบรรดาโองการของอัลลอฮ์แล้วไซร้ แน่นอน อัลลอฮ์ทรงเป็ นผูท้ รง
รวดเร็วในการชําระ
นิกายและสานักคิดในอิสลาม
นักวิชาการอิสลาม มีทศั นะแตกต่างกันในการแบ่งจํานวนนิกายต่าง ๆ ในโลกอิสลาม

1. บางท่านตีความหมายของคําว่า 73 จําพวกในที่น้ ีวา่ หมายถึงมุสลิมจะแตกแยกกันมากมายหลายกลุ่ม


ไม่ได้เจาะจงว่าต้องแตกออกเป็ น 73 จําพวกพอดีตามตัวบทวจนะของท่านศาสดา (ศ)
2. บ้างกล่าวว่ามีมากกว่า 73 กลุ่ม
3. บ้างว่ามีนอ้ ยกว่า 70 กลุ่ม
อย่างไรก็ตามไม่วา่ ศาสนาอิสลามจะแตกออกเป็ นหลายกลุ่ม แต่ศาสนาอิสลามที่ถูกต้องมีเพียงกลุ่ม
เดียวส่ วนกลุ่มอื่นๆที่แตกแนวนั้นถือเป็ นกลุ่มนอกศาสนา เพราะที่อยูข่ องเขาเหล่านั้นคือไฟนรก ดังนั้นเรา
อาจจะสรุ ปได้วา่ ศาสนาอิสลาม มีนิกายเดียว (เพราะนิกายอื่น ๆ นั้นไม่ใช่อิสลาม ณ ที่อลั ลอฮฺ)
รายชื่อนิกายในศาสนาอิสลามจากตําราต่าง ๆ มานําเสนอรวมทั้งได้ผนวกกลุ่มต่าง ๆ เท่าที่ปรากฏอยู่
ในปัจจุบนั เข้าไปด้วย ซึ่งการนําเสนอนี้อาจแตกต่างไปจากตําราทั้งหลาย แต่ก็ไม่น่าแปลกอะไร เพราะแม้แต่
ตําราเกี่ยวกับนิกายต่าง ๆ ในอิสลาม แต่ละเล่มต่างได้กล่าวไว้ ไม่เท่ากันและแตกต่างกันไป
ข้อสําคัญที่สุดที่ทุกท่านไม่ควรมองข้ามก็คือ แต่ละกลุ่มย่อมมีหลักความเชื่อ (อะกีดะฮ์หรื ออุซูลุดดีน)
และหลักปฏิบตั ิ (อัลฟิ กฮ์หรื ออะห์กาม) ที่เหมือนกันและแตกต่างกัน เพราะฉะนั้นทางเราใคร่ ขอความ
ร่ วมมือจากทุกท่าน กรุ ณาส่งข้อมูลที่แท้จริ งจากมัซฮับ (แนวทาง) ของท่านมายังเรา เพื่อเป็ นข้อมูลแก่ผใู ้ ฝ่
ศึกษาศาสนาอิสลามจะได้รับประโยชน์จากท่าน เช่นเดียวกันทางเราจะพยายามนําเสนอข้อมูลนิกายต่าง ๆ
แก่ท่านด้วย อินชาอัลลอฮ์
นักวิชาการอิสลามให้ความเห็นของนิกายอิสลาม
นักวิชาการอิสลาม มีทศั นะแตกต่างกันในการแบ่งจํานวนนิกายต่างๆในโลกอิสลาม บางท่านตีความหมาย
ของคําว่า 73 จําพวกในที่น้ ีวา่ หมายถึงมุสลิมจะแตกแยกกันมากมายหลายกลุ่ม ไม่ได้เจาะจงว่าต้องแตก
ออกเป็ น 73 จําพวกพอดีตามตัวบทวจนะของท่านศาสดาบ้างกล่าวว่ามีมากกว่า 73 กลุ่ม บ้างว่ามีนอ้ ยกว่า
70 กลุ่ม แต่ไม่วา่ จะแตกออกเป็ นหลายกลุ่มหลายนิกายอย่างไรก็ตาม พวกเขาก็เชื่อว่าศาสนาอิสลามที่
ถูกต้องมีเพียงกลุ่มเดียว ส่ วนกลุ่มอื่นๆที่แตกแนวนั้นถือเป็ นกลุ่มนอกศาสนา และต้องตกลงในไฟนรก
ต้องยอมรับว่าในหมู่นกั วิชาการอิสลามก็ไม่มีความเห็นที่ตรงกัน อย่างไรก็ตาม นักวิชาการก็มีการจําแนก
ไว้วา่ แบ่งได้ 6 นิกายหลัก ได้แก่
1. ซุนหนี่ (Sunni)
2. ชีอะห์ (Shia)
3. ซูฟี (Sufi) ซูฟีมีลกั ษณะเป็ นสํานักคิดมากกว่านิกาย
4. อัมมาดียะห์ (Ahmadiyya)
5. คาริ จิยะห์ (Kharijiyyah)
6. อื่นๆ
เชิ งนามธรรม
งานวิจัยส่ วนใหญ่ เกี่ยวกับพฤติกรรมการฆ่ าตัวตายในประเทศมุสลิมเปนการศึกษาเชิ งพรรณนาง่ ายๆ ของ
กลุ่มตัวอย่างที่พยายามฆ่ าตัวตายสาเร็จและพยายามฆ่ าตัวตาย อย่างไรก็ตาม เรื่ องนีแ้ ละแม้ จะมีการรายงาน
พฤติกรรมการฆ่ าตัวตายตา่ กว่ าความเป็ นจริ งในประเทศที่พฤติกรรมดังกล่ าวผิดกฎหมาย อัตราการฆ่ าตัวตาย
ของชาวมุสลิมดูเหมือนจะตา่ กว่ าในศาสนาอื่น ๆ แม้ แต่ ในประเทศที่มีประชากรอยู่ในกลุ่มศาสนาหลายกลุ่ม
ในทางกลับกัน อัตราการพยายามฆ่ าตัวตายไม่ ได้ ลดลงในกลุ่มมุสลิมเมื่อเทียบกับผู้ที่ไม่ ใช่ มสุ ลิม การวิจัยใน
หัวข้อนีท้ าได้ ค่อนข้างแย่ โดยไม่ ได้ คานึงถึงภูมิหลังทางชาติพันธุ์และนิกายอิสลามที่ผ้ ถู ูกฆ่ าตัวตายสังกัดอยู่
เหตุผลสาหรั บอัตราการฆ่ าตัวตายสาเร็ จของชาวมุสลิมที่ตา่ นั้นได้ รับการทบทวน รวมถึงความแตกต่ างใน
ด้ านค่ านิยมและสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม
อ้างอิง
1.https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2
%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A1
2.https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A2%
E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0
%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A1

You might also like