Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 5

แบบฝึ กหัด Cosmology

1. ยานอวกาศลำหนึ่งกำลังเคลื่อนที่ผ่านโลกด้วยยอัตราเร็วคงตัว มี
เหตุการณ์หนึ่งเกิดขึ้น ณ ตำแหน่งหนึ่งบนยานอวกาศ คนบนยานอวกาศ
วัดว่าเหตุการณ์นี้ใช้เวลา 1 นาที แต่คนบนโลกวัดว่าใช้เวลา 10 นาที จง
หาอัตราเร็วของยานอวกาศ
2. โลกและดวงอาทิตย์อยู่ห่างกัน 8.30 นาทีแสง สมมุติว่าโลกและดวง
อาทิตย์อยู่นิ่งเทียบกันเองในกรอบอ้างอิงเฉื่อยกรอบหนึ่ง มีเหตุการณ์ A
เกิดขึ้นบนโลกที่เวลา t=0 และเหตุการณ์ B เกิดขึ้นที่ดวงอาทิตย์ที่เวลา
2.00 นาทีต่อมา ผู้สังเกตที่เคลื่อนที่จากโลกไปดวงอาทิตย์ ด้วยอัตราเร็ว
u=0.800 c จะวัดว่าเหตุการณ์ทั้งสองเกิดห่างกันเป็ นเวลาเท่าใด ผู้สังเกตอีก
คนหนึ่งที่เคลื่อนที่ในทิศทางตรงกันข้ามด้วยอัตราเร็ว u=0.800 c จะวัดว่า
เหตุการณ์ทั้งสองเกิดห่างกันนานเท่าใด
3. Galaxy อันหนึ่งอยู่ห่างไกล อยู่ในกลุ่มดาว Hydra กำลังเคลื่อนที่หนีห่าง
จาก โลกไปด้วยอัตราเร็ว 6.12 x 107 m/s เส้น spectral line สีเขียว
ซึ่งมีความยาวคลื่น 500 nm จะปล่อยแสงออกมา โดยแสงโดนเลื่อนไป
ทางปลายแดงเท่าไร
4. สมมุติว่าโมเลกุลที่หยุดนิ่งกลุ่มหนึ่งปล่อยแสงที่มีความยาวคลื่น 18 cm
แต่เราสังเกต ได้ว่ามันมีความยาวคลื่น 18.001 cm วัตถุนี้กำลังเคลื่อนที่
เร็วเท่าไร? และเคลื่อนที่ในทิศทางใด
5. เส้นสเปคตรัมของการดูดซับไฮโดรเจน (the line) จาก ดาว star Vega
ถูกสังเกตว่ามีความยาวคลื่น 656.255 nm (ปรากฏ) เมื่อนำไปเปรียบ
เทียบกับ ความยาวคลื่นของ hydrogen ที่ห้องทดลองคือ 656.285 nm
จงหาความเร็วของดาว Vega เทียบกับโลก และบอกด้วยว่า มันกำลัง
เข้าหาเรา หรือหนีห่างออกจากเรา
6. เส้นสเปคตรัมของดาวดวงหนึ่ง ถูกพบว่ามีความยาวคลื่น 600.80 nm
เมื่อเปรียบ เทียบกับที่แสงที่วัดได้ในห้องทดลองคือ 600.00 nm
อัตราเร็วของดาวดวงนี้เป็ นเท่าไร? ดาวดวงนี้เคลื่อนที่เข้าหาเรา หรือหนี
ห่างออกจากเรา
7. เส้นสเปคตรัมของ H-alpha (hydrogen) คือ 656.00 nm เมื่อวัดในห้อง
ปฏิบัติ การ ดาวดวงหนึ่งชื่อ A ถูกสังเกตได้ว่ามีเส้นสเปคตรัมที่ 656.60
nm และดาว B มี เส้นสเปคตรัม 655.90 nm และดาว C มีเส้นสเปคต
รัม 656.40 nm
8. แก๊สไฮโดรเจนเป็ นกลางในแขนวงเกลียวของทางช้างเผือก (the spiral
arms of the Milky Way) ปล่อยแสงมีความยาวคลื่น 21 cm ซึ่งอยู่ใน
ย่าน microwave ของสเปคต รัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า มีเส้นสเปคตรัมถูก
สังเกตได้โดยกล้อง radio telescope ในทิศทาง หนึ่ง สังเกตพบว่ามี
ความยาวเลื่อนไป 0.1 mm น้อยกว่า 21 cm ส่วนแขนเกลียวนี้ เคลื่อนที่
เร็วเท่าไรเทียบกับเราตามทิศทางของการเห็นของเรา? มันกำลังเคลื่อนที่
เข้าหา
เรา หรือหนีห่างออกจากเรา

9. กาแล็คซี่อยู่ในกลุ่มดาว Ursa Major กำลังหนีห่างจากโลกด้วยอัตราเร็ว


15,000 km/s ถ้าหนึ่งในความยาวคลื่นแสงที่แกแล็คซี่ปล่อยออกมาคือ
550 nm ความยาวคลื่นที่ วัดโดยนักดาราศาสตร์บนโลกเป็ นเท่าไร
10. จงแสดงว่า ส่วนกลับของ hubble constant มีหน่วยเป็ นวินาที
11. ความเร็วแนวรัศมีของกลุ่มกระจุกกาแล็ฏซี่ Coma ถูกวัดได้ว่าเท่ากับ
7200 km/s กลุ่มกระจุกกาแล็กซี่นี้อยู่ห่างไปด้วยระยะเท่าไร [ใช้ H =
67.3 km/s/Mpc]
12. จากราฟแสดงถึงความเร็วถอยห่างกับระยะของกาแล็กซี่ จากข้อมูลชุด
นี้ จงประมาณค่าคงที่ hubble และ ระยะทางของกาแล็กซี่เป็ นเท่าไร ถ้า
ค่า z = 0.002

13. สมมุมิว่าเราสังเกตกาแล็คซี่ที่อยู่ห่างออกไป 500 Mpc ซึ่งกำลัง


เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 30,000 km/s ถ้าอัตราเร็วมีค่าคงที่ตลอดเวลา
เมื่อไรที่ Big Bang ได้เกิดขึ้น
14. ถ้า H = 65 km/s/Mpc, ความหนาแน่นวิกฤตคือ 8 × 10-27 kg/m³
มวลของ จักรวาลจะเป็ นเท่าไรที่อยู่ในทรงกลมที่รัศมีเท่ากับวงโคจรของ
โลกรอบดวงอาทิตย์ ( R = 1 AU) สมมุติฐานว่าจักรวาลนั้นแบน
15. จงใช้สมการของไหล : วิวัฒนาการความหนาแน่นของเอกภพ

จงใช้สมการของไหล ϵ̇ +2 ( ϵ + P ) =0
a และสมการของสถานะ P=ω ϵ พิสูจน์
หาความสัมพันธ์แปรผันระหว่างความหนาแน่นของมวลกับ Scale
factor ในกรณีของ
a) การแผ่รังสีเด่นของเอกภพ
b) สสารเด่นในเอกภพ
c) เอกภพเด่นด้วยค่าคงทราเชิงเอกภพค่าหนึ่ง

16. การจากศึกษาเราพบว่า เอกภพประกอบด้วยมวลที่กระจายสม่ำเสมอ


เราสามารถใช้จุดหนึ่งเป็ นจุดศูนย์กลางการศึกษาเพื่อศึกษาการขยายตัว
ของเอกภพ ผู้สังเกต ที่จุดศูนย์กลางจะเห็นมวล (หรือกาแล็กซี่) เคลื่อนที่
ในแนวรัศมีออกจากจุดศูนย์กลางนี้ ตามกฎของฮับเบิล เพื่อทำความ
เข้าใจการขยายตัวของเอกภพอย่างคร่าวๆ เราจะใช้กลศาสตร์ของนิวตัน
ใน การคำนวณต่อไปนี้
a) พิจารณาปริมาตรส่วนหนึ่งของเอกภพที่มีรูปร่างทรงกลม รัศมี r

การขยายตัวของเอกภพทำให้ทรงกลมนี้ขยายตัวไปด้วย มวลที่
ผิวของทรงกลมจะเคลื่อนที่ในแนวรัศมีตามการขยายตัวของทรง
กลม จงหาความเร็วหลุดพ้นของมวลนี้ในรูปของ G,r ,ρ โดย ρ คือ
ความหนาแน่นของเอกภพ
b) ถ้าเอกภพมีความหนาแน่นวิฤกต ρc เอกภพจะขยายตัวแล้วหยุด
นิ่งที่ระยะอนันต์จงหาค่า ρc ในรูป G,H

c) จงหาค่าความหนาแน่นวิฤกต ρ c
ปั จจุบันของเอกภพมีค่ากี่
อะตอมไฮโดรเจนต่อลูฏบาศก์เมตร
17. จากสมการ
dR
2
8 πG ρ0 2
( )− =−k c
dt 3R

a) จงพิสูจน์ว่าสำหรับเอกภพแบบปิ ด k > 0 จะได้ว่า


4 πG ρ 0
Rclosed = 2
[1−cos ⁡(x )]
3k c

4 πG ρ0
t closed = 3
[x−sin(x)]
2 3
3k c

b) จงพิสูจน์ว่าสำหรับเอกภพแบบเปิ ด k < 0 จะได้ว่า


4 πG ρ0
Rclosed = 2
[cosh ( x )−1]
3∨k ∨c

4 πG ρ 0
t closed = 3
3
3 ¿ k∨¿ 2 c [sinh ( x )−x ]¿

c) จากสมการที่พิสูจน์ได้ในข้อ a จงพิสูจน์ว่า
1 Ω0
Rclosed = [1−cos ⁡(x)]
2 Ω0 −1

1 Ω0
t closed = 3
2H0 2
(Ω¿¿ 0−1) [ x−sin( x)]¿

You might also like