Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 145

ชือ

่ ..........................................ชือ
่ เล่น...............เลขที่.....
เอก.....................อาจารย์ผู้สอน.....................................
คํานํา
หนังสือเรียนรายวิชาชีวเคมีพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 2 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร (ฝายมัธยม) จัดทําขึ้นตามผลการเรียนรู
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 และ พิจารณาเทียบเคียงกับหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อใชประกอบการจัดการเรียนรูที่
สอดคลองและเหมาะสม
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรหวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือเรียนเลมนี้จะเปนประโยชนตอการ
จัดการเรียนรูในรายวิชาชีวเคมีพื้นฐาน และเปนสวนสําคัญในการพัฒนาศักยภาพดานวิทยาศาสตรของ
นักเรียน

คณะผูจัดทํา
ประมวลรายวิชา (Course Syllabus)
สวนที่ 1
1. รหัสวิชา ว31102
2. รายชื่อวิชา ชีวเคมีพื้นฐาน
3. จำนวนหนวยกิต 1.5 หนวยกิต
4. จำนวนคาบเรียนตอสัปดาห 3 คาบ/สัปดาห
5. กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร
6. ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 4
7. ประเภทวิชา พื้นฐาน
8. ภาคเรียน/ปการศึกษา 2/2565
9. ชื่อผูส อน อ.จารุวัฒน ชูรักษ อ.จารุวรรณ ไทยเถียร
อ.จตุพร บุญชัยยุทธศักดิ์ อ.ภาณุพงศ กาสอน
อ.วีระพล ลาภเกิด อ.สุมิตรา สุขเพ็งดี
อ.สิริธิดา หาริกัน อ.ปณาลี สติคราม
อ.จันทิมันตุ จันทรัตน อ.ภาวินี กิจพรอมผล
อ.ปรียารัตน ภูนาท

คำอธิบายรายวิชา
ศึ ก ษาการเกิ ด และแหล ง ป โ ตรเลี ย ม กระบวนการแยกแก ส ธรรมชาติ การกลั ่ น น้ ำ มั น ดิ บ
ผลิตภัณฑ และการใชประโยชนผลิตภัณฑที่ได ผลกระทบของการใชผลิตภัณฑจากปโตรเลียมตอสิ่งมีชีวิต
และ สิ่งแวดลอมรวมทั้งการปองกันและแกไขปญหา เชื้อเพลิงในชีวิตประจำวัน เลขออกเทน เลขซีเทน ศึกษา
ความหมายและตัวอยางพอลิเมอรธรรมชาติและพอลิเมอรสังเคราะห ปฏิกิริยาการสังเคราะห พอลิเมอร
โครงสราง สมบัติ ประเภทของพอลิเมอร รวมทั้งการใชประโยชนและผลกระทบจากการผลิตภัณฑของพอลิ
เมอร ศึกษาทดลองจำแนกชนิดของพลาสติกบางชนิดโดยใชความหนาแนนเปนเกณฑ ศึกษายางธรรมชาติ
รวมทั้งยางสังเคราะห เสนใยธรรมชาติ เสนใยสังเคราะห และทดลองเตรียมเสนใยสังเคราะห ศึกษาวิเคราะห
การรักษาสมดุลของเซลลของสิ่งมีชีวิต กลไกการรักษาดุลยภาพของน้ำในพืช กลไกการควบคุมดุลยภาพของน้ำ
แรธาตุ และอุณหภูมิของมนุษย และสัตวอื่น ๆ ระบบภูมิคุมกันและการดูแลรักษาสุภาพ
โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสำรวจตรวจสอบ การสืบคนขอมูล
และการอภิปราย เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู มีความสามารถใน
การตัดสินใจ
เห็ นคุ ณ ค าและเจตคติ ท ี ่ ดี ต อวิ ท ยาศาสตร สามารถทำงานได อย างเปน ระบบรอบคอบ มีความ
รับผิดชอบ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ว 1.2 ม.4/1 อธิบายโครงสรางและสมบัติของเยื่อหุมเซลลที่สัมพันธกับการลําเลียงสาร และเปรียบเทียบ การ
ลําเลียงสารผานเยื่อหุม เซลลแบบตาง ๆ
ว 1.2 ม.4/2 อธิบายการควบคุมดุลยภาพของน้ำและสารในเลือดโดยการทํางานของไต
ว 1.2 ม.4/3 อธิบายการควบคุมดุลยภาพของกรด-เบสของเลือดโดยการทํางานของไตและปอด
ว 1.2 ม.4/4 อธิบายการควบคุมดุลยภาพของอุณหภูมิภายในรางกายโดยระบบหมุนเวียนเลือด ผิวหนัง และ
กลามเนื้อโครงราง
ว 1.2 ม.4/5 อธิบาย และเขียนแผนผังเกี่ยวกับการตอบสนองของรางกายแบบไมจําเพาะ และแบบจําเพาะตอ
สิ่งแปลกปลอมของรางกาย
ว 1.2 ม.4/6 สืบคนขอมูล อธิบาย และยกตัวอยางโรคหรืออาการที่เกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุมกัน
ว 1.2 ม.4/7 อธิบายภาวะภูมิคุมกันบกพรองที่มีสาเหตุ มาจากการติดเชื้อ HIV
ว 2.1 ม.5/15 สืบคนขอมูลและเปรียบเทียบสมบัติ ทางกายภาพระหวางพอลิเมอรและมอนอเมอรของพอลิ
เมอรชนิดนั้น
ว 2.1 ม.5/18 วิเคราะหและอธิบายความสัมพันธระหวางโครงสรางกับสมบัติเทอรมอพลาสติกและ เทอรมอ
เซตของพอลิเมอร และการนําพอลิเมอรไปใชประโยชน
ว 2.1 ม.5/19 สืบคนขอมูลและนําเสนอผลกระทบของการใชผลิตภัณฑพอลิเมอรที่มีตอ สิ่งมีชีวิตและ
สิ่งแวดลอม พรอมแนวทางปองกันหรือแกไข

สวนที่ 2
ภาพรวมรายวิชาชีวเคมีพนื้ ฐาน
1. จุดประสงครายวิชา
หนวยการเรียนที่ 1 ปโตรเลียม
1. อธิบายการเกิด แหลง และกระบวนการสำรวจปโตรเลียม
2. อธิบายหลักการในการกลั่นลำดับสวนน้ำมันปโตรเลียมและการแยกกาซธรรมชาติ
3. บอกผลิตภัณฑหลักและประโยชนของผลิตภัณฑจากน้ำมันดิบ และ แกสธรรมชาติ
4. บอกความแตกตางของพลังงานสิ้นเปลือง และพลังงานทดแทนหรือพลังงานหมุนเวียน
5. ยกตัวอยางเชื้อเพลิงไฮโดรคารบอนที่เปนแกสและของเหลวพรอมทั้งเขียนปฏิกิริยาการเผาไหมที่
สมบูรณของเชื้อเพลิงดังกลาว
6. บอกความสัมพันธระหวางจำนวนอะตอมของคารบอน สถานะ และจุดเดือดของผลิตภัณฑจาก
การกลั่นแยกปโตรเลียม
7. บอกความสำคัญและความแตกตางของเลขออกเทนและซีเทน
8. สามารถเลือกใชน้ำมันเชื้อเพลิงใหเหมาะสมกับประเภทของยานพาหนะ
9. รูวิธีและปฏิบัติตนที่แสดงถึงการใชพลังงานอยางประหยัดและชวยลดมลพิษที่เกิดจากการใช
พลังงาน
หนวยการเรียนที่ 2 พอลิเมอร
1. อธิบายความหมายของพอลิเมอรและกระบวนการเกิดพอลิเมอร
2. เปรียบเทียบสมบัติของพลาสติก ยางสังเคราะห และเสนใยสังเคราะห
3. บอกประโยชนและยกตัวอยางพอลิเมอรสังเคราะห
4. อธิบายปญหา ผลกระทบ และวิธีการแกไขปญหา เกี่ยวกับขยะพอลิเมอรที่มีตอสิ่งมีชีวิตและ
สิ่งแวดลอม
5. สรุปสมบัติของเทอรโมพลาสติกและพลาสติกเทอรโมเซตจากขอมูล
6. บอกวิธีและการทดสอบการสลายตัวของพลาสติกดวยวิธีอยางงาย
7. บอกความหมายและสมบัติบางประการของพลาสติกรีไซเคิล
8. บอกวิธีการและทดลองสังเคราะหเสนใยเรยอง
หนวยการเรียนที่ 3 การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิต
1. สืบคนขอมูล อภิปราย และสรุปความสำคัญของการรักษาดุลยภาพในรางกาย
2. สืบคนขอมูล สำรวจตรวจสอบ อภิปราย เปรียบเทียบ และสรุปโครงสรางที่ใชในการแลกเปลี่ยน
แกสของสิ่งมีชวี ิตเซลลเดียวและของสัตว
3. สำรวจตรวจสอบ สืบคนขอมูล อภิปราย และสรุปโครงสรางและกระบวนการตางๆที่เกี่ยวกับการ
แลกเปลี่ยนแกสของคนและของสัตว
4. สืบคนขอมูล อภิปราย สรุป และนำเสนอผลงานเกี่ยวกับความผิดปกติที่เกี่ยวของกับปอดและโรค
ของระบบทางเดินหายใจ
5. สืบคนขอมูล อภิปราย และสรุปความหมายของของเสียและการขับถาย
6. สืบคนขอมูล อภิปราย และอธิบายกระบวนการขับถายของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวและของสัตว
7. สำรวจตรวจสอบ อภิปราย และสรุปเกี่ยวกับโครงสรางของไตและอวัยวะที่เกี่ยวของ
8. สืบคนขอมูล อภิปราย และสรุปเกี่ยวกับการทำงานของไตกับการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร
ธาตุของรางกาย
9. สืบคนขอมูล อภิปราย และอธิบายความผิดปกติที่เกี่ยวเนื่องกับไตและโรคของไต พรอมทั้ง
เสนอแนะแนวทางในการดูแลสุขภาพของระบบขับถายของตนเองใหเปนปกติ
10. สืบคนขอมูล อภิปราย และสรุปเกี่ยวกับการทำงานของผิวหนังกับการรักษาดุลยภาพของรางกาย
11. สืบคนขอมูล สำรวจตรวจสอบ อภิปราย และอธิบายการลำเลียงสารในรางกายของสิ่งมีชีวิตเซลล
เดียวและของสัตว
12. สำรวจตรวจสอบ สืบคนขอมูล อภิปราย และสรุปเกี่ยวกับการลำเลียงสารในรางกายของคน
13. สืบคนขอมูล ทดลอง อภิปราย และสรุปเกี่ยวกับสวนประกอบและหนาทีข่ องเลือด หมูเลือดการ
ใหและรับเลือด
หนวยการเรียนรูที่ 4 ภูมิคุมกันของรางกาย
1. สืบคนขอมูล อภิปราย และสรุปเกี่ยวกับระบบน้ำเหลือง ระบบภูมิคุมกัน
2. สืบคนขอมูล อภิปราย สรุป และจัดแสดงผลงานเกี่ยวกับการศึกษาปจจัยที่มีผลตอการทำงานของ
ระบบภูมิคุมกันของรางกาย และโรคที่เกี่ยวของกับระบบภูมิคุมกันของคนในทองถิ่น

2. ขอบขายเนือ้ หาสาระ (ระบุหัวขอ หรือประเด็นสำคัญ)


1. หนวยการเรียนที่ 1 ปโตรเลียม
2. หนวยการเรียนที่ 2 พอลิเมอร
3. หนวยการเรียนที่ 3 การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิต
4. หนวยการเรียนที่ 4 ภูมิคมุ กันของรางกาย

3. แนวทางการจัดการเรียนรู (ระบุกลวิธแี ละวิธีและเทคนิคการจัดการเรียนรู)


 การบรรยาย  การอภิปราย  การนำเสนอ
 การใชกระบวนการกลุม  การระดมสมอง  การสาธิต
 การทดลอง  กระบวนการแกปญหา  การปฏิบตั ิจริง
 กระบวนการทางวิทยาศาสตร  การฝกทักษะ  อื่น ๆ (ระบุ)

4. แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู
คะแนนเก็บ 60 %
1. จิตพิสัย 10 % (คุณลักษณะอันพึงประสงค)
1.1 มีวินัย 5%
1.2 ใฝเรียนรู 3%
1.3 มุงมั่นในการทำงาน 2%
2. คะแนนจุดประสงคกอนกลางภาค 15 %(คะแนนประเมินแตละตัวชี้วัด)
2.1 สมุดบันทึกการเรียน 7%
2.2 สอบ 8%
3. คะแนนจุดประสงคหลังกลางภาค 15 % (คะแนนประเมินแตละตัวชี้วัด)
3.1 สมุดบันทึกการเรียน 7%
3.2 สอบอัตนัย 8%
4. คะแนนวิเคราะห 10 %
4.1 คนควาขอสอบ 5%
4.2 สอบยอยจากขอสอบ ที่นกั เรียนคนควา 5%
5. ทักษะกระบวนการ 15% (สมรรถนะสำคัญของผูเ รียน)
5.1 การสงใบงานและสรุปผลการทดลอง 5%
5.2 งานสื่อเทคโนโลยี 10%
คะแนนสอบ 40 %
สอบกลางภาค 20 %
สอบปลายภาค 20 %

เกณฑการประเมิน
ระดับคะแนน ผลการเรียน
79.5 – 100 4
74.5 – 79.4 3.5
69.5 – 74.4 3
65.5 – 69.4 2.5
59.5 – 64.4 2
54.5 – 59.4 1.5
49.5 – 54.4 1
0 – 49.4 0

5. กระบวนกการเรียนการสอน
สัปดาห ครั้งที่ หัวขอ/เนื้อหาวิชา หมายเหตุ

สัปดาหที่ 1 1 แนะนำเนื้อหาวิชา
2 ปโตรเลียม
- การเกิดปโตรเลียม
- กระบวนการแยกปโตรเลียม
สัปดาหที่ 2 3 ปโตรเลียม(ตอ)
4 - ประโยชนของผลิตภัณฑปโตรเลียม
- พลังงานในอนาคตและการอนุรักษ
พลังงาน
สัปดาหที่ 3 5 พอลิเมอร
6 - มอนอเมอรและพอลิเมอร
- กระบวนการพอลิเมอไรเซชัน
สัปดาห ครั้งที่ หัวขอ/เนื้อหาวิชา หมายเหตุ

สัปดาหที่ 4 7 พอลิเมอร(ตอ)
8 - กระบวนการพอลิเมอไรเซชัน
สัปดาหที่ 5 9 พอลิเมอร (ตอ)
10 - สมบัติบางประการของพอลิเอมร
- พอลิเมอรในชีวิตประจำวัน
สัปดาหที่ 6 11 การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
12 - สวนประกอบของเซลล
สัปดาหที่ 7 สอบกลางภาคเรียนที่ 2/2565
สัปดาหที่ 8 15 การลำเลียงของสารผานเซลล (ตอ)
16 - การลำเลียงของสารแบบไมใช
พลังงาน
- การลำเลียงของสารแบบใช
พลังงาน
- การลำเลียงของสารโดยผานเยื่อหุม
เซลล
สัปดาหที่ 9 17 กลไกการรักษาดุลยภาพ
18 - การรักษาดุลยภาพของน้ำในพืช
การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารตางๆ
ในรางกาย
สัปดาหที่ 10 19 กลไกการรักษาดุลยภาพ (ตอ)
20 - การรักษาดุลยภาพ กรด- เบส ใน
รางกาย
สัปดาหที่ 11 21 กลไกการรักษาดุลยภาพ (ตอ)
22 - การรักษาดุลยภาพของน้ำและแร
ธาตุในสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
การรักษาอุณหภูมิในรางกาย
สัปดาหที่ 12 23 ภูมิคุมกันของรางกายการปองกัน
24 การทำลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอม
สัปดาห ครั้งที่ หัวขอ/เนื้อหาวิชา หมายเหตุ

สัปดาหที่ 13 25 ภูมิคุมกันของรางกาย (ตอ)


26 - ภูมิคุมกัน
สัปดาหที่ 14 27 ภูมิคุมกันของรางกาย (ตอ)
28 - หมูเลือดและการใหเลือด
สัปดาหที่ 15 29 ภูมิคุมกันของรางกาย (ตอ)
30 - ความผิดปกติของระบบภูมิคุมกัน
สัปดาหที่ 16 - สอบปลายภาคเรียนที่ 2/2565
สารบัญ บทที่ 1 - 4

1
บทที่ เนื้อหา หนา
ความหมายและการเกิดของปโตรเลียม 1
แหลงกักเก็บปโตรเลียม 2
การสํารวจปโตรเลียม 6
การกลั่น 6
การกลั่นนํ้ามันดิบและผลิตภัณฑจากนํ้ามันดิบ 7-8
ปโตรเลียม การแยกแกสธรรมชาติและผลิตภัณฑจากโรงแยกแกส 8-10
สารประกอบไฮโดรคารบอน 11
การปรับคุณภาพนํ้ามัน 16
การกําหนดคุณภาพนํ้ามัน 17
เชื้อเพลิงในชีวิตประจําวัน 21
พลังงานทดแทน 21
ผลกระทบจากปโตรเลียม 23
ขอสอบ O-net 29

2
พอลิเมอร
ความหมายของพอลิเมอร
ประเภทของพอลิเมอร
การสังเคราะหพอลิเมอร
โครงสรางของพอลิเมอร
ผลิตภัณฑจากพอลิเมอร
ขอสอบ O-net
36
37
37
38
40
51

3เซลล
ความหมายของเซลล
ประวัติการศึกษาเซลล
ประเภทของเซลล
โครงสรางและองคประกอบของเซลล
กลองจุลทรรศน
สวนประกอบของกลองจุลทรรศน
การใชงานและเก็บรักษากลองจุลทรรศน
55
55
56
57
67
70
72
การคํานวณเกี่ยวกับกลองจุลทรรศน 73
ขอสอบ O-net 82
สารบัญ บทที่ 1 - 4

4
บทที่ เนื้อหา หนา
การลําเลียงสารผานเซลล 89
การลําเลียงสารแบบผานเยื่อหุมเซลล 90
การลําเลียงสารแบบไมผานเยื่อหุมเซลล 92
แบบฝกหัด 94
การลําเลียงสาร ขอสอบ O-net 95

5
การรักษาดุลยภาพ
กลไกการรักษาดุลยภาพของนํ้าในพืช
กลไกการรักษาดุลยภาพของนํ้าในมนุษย
กลไกการรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในมนุษย
กลไกการรักษาดุลยภาพของนํ้าและแรธาตุในสัตว
กลไกการรักษาดุลยภาพอุณหภูมิในมนุษยและสัตว
ขอสอบ O-net
100
102
108
110
113
118

6
ภูมิคุมกัน
การสรางภูมิคุมกันและกําจัดเชื้อโรค
ระบบนํ้าเหลือง
ประเภทของภูมิคุมกัน
หมูเลือด
ความผิดปกติของระบบภูมิคุมกัน
แบบฝกหัด
124
126
128
129
130
132

คณะผูจัดทําหนังสือเรียน 134

ภาคผนวก
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 1 ปโตรเลียม 1

1
หนวยที่ ปโตรเลียม

ความหมายของปโตรเลียม
ปโตรเลียม (Petroleum) มาจากคําในภาษาละติน 2 คํา คือ เพตรา(Petra)
แปลวา และโอเลียม (Oleum) ซึ่งแปลวา
รวมความหมายแลว หมายถึง
เปนสารผสมของสารประกอบไฮโดรคารบอนและสารอินทรียอื่น ๆ หลายชนิด

การเกิดปโตรเลียม
ปโตรเลียมเกิดจาก ที ่ อ ยู  ก ั บ
ตะกอนในชั้นกรวดทรายและโคลนตมใตพื้นดิน เมื่อเวลาผานไปนับลานปตะกอนเหลานี้จะจม
ตัวลงเรื่อย ๆ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของผิวโลก ถูกอัดแนนดวย
และมี จึงสลายตัวเปลี่ยนสภาพเปนแกส
ธรรมชาติและนํ้ามันดิบแทรกอยูระหวางชั้นหินที่มีรูพรุน
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 1 ปโตรเลียม 2
ปโตรเลียมเปนสารประกอบไฮโดรคารบอน ประกอบดวยธาตุ
พบทั้งในสถานะของเหลวและแกส ไดแก
ป โ ตรเลี ย มจากแหล ง ต า งกั น จะมี ป ริ ม าณของสารประกอบไฮโดรคาร บ อน รวมทั ้ ง
สารประกอบของกํามะถัน ไนโตรเจน และออกซิเจนแตกตางกัน โดยขึ้นอยูกับชนิดของซากพืช
และสัตวที่เปนตนกําเนิดของปโตรเลียม และอิทธิพลของแรงที่ทับถมอยูบนตะกอน
แหลงกักเก็บปโตรเลียม
แหลงกักเก็บ (Trap) เปนบริเวณที่มีหินตะกอนเนื้อแนนที่ไมยอมใหของไหลตางๆ เคลื่อน
ตัวผานไปไดปโตรเลียมทั้งที่อยูในรูปของนํ้ามันดิบและแกสรรรมชาติเกิดการสะสมตัวในเนื้อหิน
ดังนั้นการจะพิจารณาถึงความสามารถของแหลงกักเก็บปโตรเลียมนั้นมีหลักการในการ
พิจารณา ดังนี้
1.
ควรจะเปน ที่เกิดจากการทับถมกันของซากสิ่งมีชีวิต เพราะเนื้อ
ของหินจะประกอบดวย จะมี ผ ลต อ การให ป  โ ตรเลี ย มออกมา
เชน หินดินดาน หินปูน หินโคลน เปนตน
2.
เนื้อของหินจะตอง มีรอยแตกในเนื้อหินเพียงพอที่จะยอมให
ปโตรเลียมเคลื่อนตัวผานไปไดยังแหลงกักเก็บตามชองวางเล็กๆ ระหวางอนุภาคของหิน
หรือรอยแตกในเนื้อหิน เชน
3.
เปนหินที่ปดทับอยูดานบนของชั้นหินกักเก็บปโตรเลียม เปนหินที่
หรือไหลผานไดนอย เพื่อปองกันไมใหปโตรเลียมเคลื่อนตัวผานออกไป หินปดกั้นนี้
จะตองมีเนื้อ สวนมากจะเปน
4.
เปนชั้นหินอื่นๆ ที่ปกคลุมปดทับชั้นหินปดกั้น เพื่อปองกันไมใหปโตรเลียม เคลื่อนยาย
ออกไปสูพื้นผิวโลกหรือหลุดรอดออกไปจากชั้นหินปดกั้น

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 1 ปโตรเลียม 3

ปโตรเลียมที่เปนของเหลวและแกสธรรมชาติจะไหลซึมออกจากชั้นหินตะกอนไปตาม
รอยเลื่อน รอยแตกรอยแยก และรูพรุนของหิน เชน หินทราย หินกรวดมน หินปูน ไปสะสม
ตัวอยูไตชั้นหินที่มีโครงสรางปดกั้นและมีความกดดันตํ่ากวา เรียกวา แหลงปโตรเลียม โดยชั้น
หินปดกั้นดานบนตองมีเนื้อละเอียด สวนมากจะเปนหินดินดาน เพื่อกั้นไมใหปโตรเลียม
รั่วไหลออกไปได โครงสร างจะเป นรูปประทุน หรือโครงสรางรู ปโดม และแหลงกั กเก็ บ
ปโตรเลียม แบงออกไดเปน 2 ประเภทใหญ ๆ

แหลงกักเก็บปโตรเลียมที่เกิดจากโครงสรางทางธรณีวิทยา (Structural Trap)

เกิดจากเปลี่ยนรูปของชั้นหิน เชนการพับ หรือการแตก หรือทั้ง 2 อยางที่เกิดขึ้นกับหิน


กักเก็บปโตรเลียมและหินปดกั้นปโตรเลียมที่สะสมนํ้ามันไว
1. เกิดจากการหักงอของชั้นหิน ทําใหชั้นหิน
มีรูปโคงคลายกระทะ นํ้ามันและแกสธรรมชาติจะไหลไปสะสมตัวกันที่จุดสูงสุดของโครงสราง
ที่มีหินปดทับอยูดานบน ซึ่งโครงสรางแบบนี้ถือวามี
ในการกักเก็บ

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 1 ปโตรเลียม 4
2. เกิดจากการหักงอของชั้นหิน ทําใหชั้นหิน
เคลื่อนที่ไปคนละแนว ไปปดกั้นการเคลื่อนตัวของปโตรเลียมไปสูที่สูงกวา

3. เกิ ด จากชั ้ น หิ น ที ่ ถ ู ก ดั น ให โ ก ง ตั ว ด ว ย


เกิดเปนลักษณะคลายกระทะควํ่า และมี
ปโตรเลียมมาสะสมตัวบริเวณชั้นหินกักเก็บรอบ ๆ โครงสรางรูปโดมนี้

แหลงกักเก็บปโตรเลียมแบบเนื้อหินเปลี่ยนแปลง

เกิดจากการเปลี่ยนชนิดของหิน หรือลําดับชั้นหิน หรือเกิดรอยชั้นไมตอเนือ่ ง โดยที่ชั้น


หินกักเก็บปโตรเลียมจะถูกปดลอมเปนกระเปาะอยูระหวางชั้นหินที่มีเนื้อแนน ปโตรเลียมไม
สามารถไหลซึมผานได

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน แบบฝกหัด 5
กําเนิดปโตรเลียม

ใหนักเรียนตอบคําตอบลงในชองวางใหถูกตอง
1.ปโตรเลียมเกิดจาก

2. ปโตรเลียมมีองคประกอบของธาตุที่สําคัญ 2 ชนิดคือ
3. ปโตรเลียมแบงตามสถานะได 2 สถานะ คือ
3.1
3.2
4. นํ้ามันดิบ มีสถานะเปน มีสี
5. กาซธรรมชาติ มีสถานะเปน ประกอบดวยธาตุ C จํานวน อะตอม
6.กาซธรรมชาติเหลว มีสถานะเปน ที่สภาพบรรยากาศที่ผิวโลก
แตเมื่ออยูในแหลงกักเก็บใตผิวโลกซึ่งมี สูงจะมีสถานะเปน
จะมีสีเหลืองใสจนถึงสีเหลือเขมประกอบไปดวยธาตุ
ที่มากกวาในกาซธรรมชาติ
7.หินตนกําเนิดปโตรเลียม
หมายถึง
มีลักษณะ
ยกตัวอยาง
8.หินกักเก็บปโตรเลียม
หมายถึง
มีลักษณะ
ยกตัวอยาง
9.หินปดกั้นปโตรเลียม
หมายถึง
มีลักษณะ
ยกตัวอยาง
10. การเคลื่อนยายแหลงสะสมของปโตรเลียมเกิดจากสาเหตุ

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 1 ปโตรเลียม 6
การสํารวจปโตรเลียม
1. การสํารวจทางธรณีวิทยา
1.1.
1.2.
1.3.
2. การสํารวจทางธรณีฟส ิกส
2.1.
2.2.
2.3.
3. การเจาะสํารวจ
หลังจากการสํารวจทางธรณีวิทยาและการสํารวจทางธรณีฟสิกส จะทําการเจาะสํารวจ
กอนขุดเจาะนํ้ามันขึ้นมาใช ซึ่งการเจาะสํารวจจะบอกใหทราบถึงความยากงายของการขุดเจาะ
เพื่อนําปโตรเลียมมาใช และบอกใหทราบวาสิ่งที่กักเก็บอยูเปนแกสธรรมชาติหรือนํ้ามันดิบ และ
มีปริมาณมากนอยเพียงใด ขอมูลในการเจาะสํารวจจะนํามาใชในการตัดสินถึงความเปนไปไดใน
เชิงเศรษฐกิจ วาคุมคาแกการขุดเจาะหรือไม
เมื่อเจาะสํารวจพบปโตรเลียมในรูปแกสธรรมชาติหรือนํ้ามันดิบแลว ถาหลุมใดมีความดัน
ภายในสูง ปโตรเลียมจะถูกดันใหไหลขึ้นมาเอง แตถาหลุมใดมีความดันภายในตํ่า จะตองเพิ่ม
แรงดันจากภายนอกโดยการอัดแกสบางชนิดลงไป เชน แกสธรรมชาติ แกสคารบอนไดออกไซด
การกลั่น

การกลัน่ ธรรมดา
การกลั่นเปนวิธีการที่ใชแยกสารละลาย โดยการ แล ว ทํ า ให ค วบแน น
กลับมาเปนของเหลวอีกครั้ง ในขณะที่กลั่นของเหลวที่มีจุดเดือดตํ่ากวาจะกลายเปนไอแยก
ออกมากอน

เหมาะสําหรับใชกลั่นของผสมในของเหลวที่มี
___
.

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 1 ปโตรเลียม 7
การกลัน่ ลําดับสวน

การกลั่นลําดับสวน มีหลักการเชนเดียวกันกับการกลั่นแบบธรรมดา คือเพื่อตองการ


แยกองคประกอบในสารละลายใหออกจากกัน แตก็จะมีสวนที่แตกตางจากการกลั่นแบบ
ธรรมดา คือ การกลั่นแบบกลั่นลําดับสวนเหมาะสําหรับใชกลั่นของเหลวที่เปนองคประกอบ
ของสารละลายที่ ในขั้นตอนของกระบวนการ
กลั่นลําดับสวน จะเปนการนําไอของแตละสวนไปควบแนน แลวนําไปกลั่นซํ้าและควบแนน
ไอเรื่อย ๆ ซึ่งเทียบไดกับเปนการการกลั่นแบบธรรมดาหลาย ๆ ครั้ง
การกลั่นนํ้ามันดิบ
ใชวิธีการกลั่นลําดับสวน โดยมีขั้นตอนดังนี้
1) นํานํ้ามันดิบที่ไดจากการขุดเจาะมากําจัดสิ่งแปลกปลอมและนํ้าออก
2) สูบนํ้ามันดิบที่ไดเขาเตาเผาเพื่อใหความรอนพอที่จะทําใหทุก ๆ สวนของนํ้ามันดิบ
แปรสภาพไปเปนไอไดแลวไอนํ้ามัน ดังกลาวก็จะถูกสงผานเขาไปในหอกลั่นลําดั บสวน ซึ่ง
ภายในหอกลั่นดังกลาวมีการแบงเปนหองตาง ๆ หลายหองตามแนวราบ โดยมีแผนกั้นหองที่
มีลักษณะคลายถาดกลมโดยแผนกั้นหองทุกแผนจะมีการเจาะรูเอาไว เพื่อใหไอนํ้ามันที่รอน
สามารถผานทะลุขึ้นสู สวนบนของหอกลั่นได และมีทอตอเพื่อนํานํ้ามันที่กลั่นตัวแลวออกไป
จากหอกลั่น
3) เมื่อไอนํ้ามันดิบที่รอนถูกสงใหเขาไปสูหอกลั่นทางทอ ไอจะเคลื่อนตัวขึ้นไปสูสวนบน
สุดของหอกลั่น และขณะที่เคลื่อนตัวขึ้นไปนั้นไอนํ้ามันจะเย็นตัวลง และควบแนนไปเรื่อย ๆ
แตละสวนของไอนํ้ามันจะกลั่นตัวเปนของเหลวที่ระดับตาง ๆ ในหอกลั่น ทั้งนี้ขึ้นอยูกับ
อุณหภูมิของการควบแนนที่แตกตางกันออกไป

หอกลั่นนํ้ามันดิบ

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 1 ปโตรเลียม 8
ผลิตภัณฑที่ไดจากการกลั่นนํ้ามันดิบ
ผลิตภัณฑที่ จุดเดือด จํานวน
สถานะ การใชประโยชน
ได (oC) คารบอน
ทําสารเคมี วัสดุสงั เคราะห
< 30 แกส
เชื้อเพลิงแกสหุงตม
นํ้ามันเบนซิน ตัวทําละลาย
30 - 110 ของเหลว
นํ้ามันเบนซิน แนฟทาหนัก
65 - 170 ของเหลว
170 - นํ้ามันกาด เชื้อเพลิงเครื่องยนตไอพน
ของเหลว
250 และตะเกียง
250 - เชื้อเพลิงเครื่องยนตดีเซล
ของเหลว
340
นํ้ามันหลอลื่น นํ้ามันเครื่อง
> 350 ของเหลว
ใชทําเทียนไข เครื่องสําอาง ยาขัดมันผลิต
> 480 ของแข็ง
ผงซักฟอก
ของเหลว เชื้อเพลิงเครื่องจักร
>500
หนืด
ยางมะตอย เปนของแข็งที่ออนตัวและ
ของเหลว
> 500 เหนียวหนืดเมื่อถูกความรอน ใชเปนวัสดุ
หนืด
กันซึม
การแยกแกสธรรมชาติ
แกสธรรมชาติและแกสธรรมชาติเหลวที่ขุดเจาะขึ้นมาได กอนจะนําไปใชตองผาน
กระบวนการแยกแก ส กอ น เพื่ อแยกสารประกอบไฮโดรคารบ อนที ่ป ะปนกัน อยู ตาม
ธรรมชาติออกเปนแกสชนิดตาง ๆ โดยผานกระบวนการดังนี้
1) เพื่อปองกันการผุกรอนของทอ
สงแกสจากการรวมตัวกับปรอท

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 1 ปโตรเลียม 9
2) เนื่องจาก H2S มีพิษและกัดกรอน สวน CO2 ทําให
เกิดการอุดตันของทอ เพราะวาที่ระบบแยกแกสมีอุณหภูมิตํ่ามาก การกําจัด CO2 ทําโดยใช
สารละลาย K2CO3 ผสมตัวเรงปฏิ กิร ิยา CO2 ที่ไดนําไปใชประโยชนในอุตสาหกรรมทํา
นํ้าแข็งแหง นํ้ายาดับเพลิง และฝนเทียม
3) เนื ่ อ งจากความชื ้ น หรื อ ไอนํ ้ า จะ
กลายเปนนํ้าแข็งในขณะที่ทําการลดอุณหภูมิเพื่อควบแนนแกสใหกลายเปนของเหลวทําให
ทออุดตัน ทําโดยการกรองผานสารที่มีรูพรุนสูง และสามารถดูดซับนํ้าออกจากแกสได
เชน ซิลิกาเจล
4) แก ส ธรรมชาติ ท ี ่ ผ  า นขั ้ น ตอนแยก
สารประกอบที่ไมใชสารประกอบไฮโดรคารบอนออกไปแลว จะถูกสงไปลดอุณหภูมิและทําให
ขยายตัวอยางรวดเร็ว แกสจะเปลี่ยนสถานะเปนของเหลวและสงตอไปยังหอกลั่นเพื่อแยก
แกสมีเทนออกจากแกสธรรมชาติ ผานของเหลวที่เหลือซึ่งเปนไฮโดรคารบอนผสมไปยังหอก
ลั่น เพื่อแยกแกสอีเทน แกสโพรเพน แกสปโตรเลียมเหลว (C3+C4) และแกสโซลีนธรรมชาติ
หรือแกสธรรมชาติเหลว (liquefied natural gas) (C5 อะตอมขึ้นไป)

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 1 ปโตรเลียม 10
ผลิตภัณฑที่ไดจากกระบวนการแยกในโรงแยกแกส
1. ใชเปนเชือ้ เพลิงสําหรับผลิตกระแสไฟฟาในโรงงาน
อุตสาหกรรม และนําไปอัดใสถังดวยความดันสูง เรียกวาแกสธรรมชาติอัด สามารถใชเปนเชื้อเพลิงใน
รถยนต รูจักกันในชื่อวา โดยมี ค ุ ณ สมบั ต ิ พ ิ เ ศษ
คือ
1) มีสัดสวนของคารบอนนอย ทําใหการเผาไหมสมบูรณ
2) เปนเชื้อเพลิงที่สะอาดไมกอใหเกิดควันดําหรือสารพิษ
3) เบากวาอากาศและระเหยงาย
2. เปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปโตรเคมีขั้นตนเพื่อ
ผลิต ซึ่งเปนสารตั้งตนในการผลิตเม็ดพลาสติก เสนใยพลาสติกโพลีเอทิลีน
(PE) เพื่อใชผลิตเสนใยพลาสติกและผลิตภัณฑพลาสติกชนิดตาง ๆ
3. ใชเปนสารตั้งตนในการผลิต เพื่อผลิตยาง
สังเคราะห กาว หมอแบตเตอรี่
4. ใชเปน
เพื่อเพิ่มคาออก-เทนในนํ้ามัน ยางสังเคราะห และพลาสติกเอบีเอส
5. เกิดจากการนํา มาผสม
กันและอัดใสถังเปนแกสปโตรเลียมเหลว (Liquefied Petroleum Gas - LPG) หรือที่เรียกวา
สามารถนําไปใชเปนเชื้อเพลิงในครัวเรือน เปนเชื้อเพลิงสําหรับรถยนต และใช
ในการเชื่อมโลหะได รวมทั้งยังนําไปใชในโรงงานอุตสาหกรรมบางประเภทไดอีกดวย คุณสมบัติพิเศษ
ของแกส LPG เผาไหมแลวเกิดเขมานอยกวาเชื้อเพลิงชนิดอื่น LPG หนักกวาอากาศเวลาที่จะบรรจุ
ในถังแกสหุงตมจะควบแนนอยูในรูปของของเหลวถังที่บรรจุ จึงใชถังที่ทนแรงดันสูงไมมาก
6. เปนสารไฮโดรคารบอนเหลวที่หลุดปนไปกับแกส
ธรรมชาติหลังจากการแยกแลว สารนี้จะถูกสงไปยังโรงกลั่นนํ้ามันเปนสวนผสมของผลิตภัณฑนํ้ามัน
สํ า เร็ จ รู ป ได นอกจากนี ้ ย ั ง ใช เ ป น ตั ว ทํ า ละลาย ซึ ่ ง นํ า ไปใช ใ นอุ ต สาหกรรมบางประเภทได
ไฮโดรคารบอนเหลวเหลานี้ก็จะถูกแยกออก เรียกวา แกสโซลีนธรรมชาติ หรือ
7. เมื่อผานกระบวนการแยกแลว จะถูกนําไปทําให
อยูในสภาพของแข็ง เรียกวานํ้าแข็งแหง นําไปใชในอุตสาหกรรมถนอมอาหาร อุตสาหกรรมนํ้าอัดลม
และเบียร ใชในการถนอมอาหารระหวางการขนสง นําไปเปน วัตถุดิบสําคัญในการทําฝนเทียม และ
นําไปใชสรางควันในอุตสาหกรรมบันเทิง อาทิ การแสดงคอนเสิรต หรือ การถายทําภาพยนตร

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 1 ปโตรเลียม 11
สารประกอบไฮโดรคารบอน

ประเภทสารประกอบไฮโดรคารบอน

1. สารประกอบไฮโดรคารบอนประเภทอิ่มตัว (Saturated Hydrocarbon)


1) แอลเคน (Alkane)
เปนสารประกอบไฮโดรคารบอนที่มีสูตรโมเลกุลเปน โดยคารบอน
ทุกอะตอมในโมเลกุลสราง ทั ้ ง หมด (-C-C-) จึ ง ทํ า ให เ ป น สารประกอบที่
อิ่มตัว รวมถึงเปนสารประกอบที่ไมมีขั้ว ไมละลายนํ้า ไมนําไฟฟา และ

2. สารประกอบไฮโดรคารบอนประเภทไมอ่มิ ตัว (Unsaturated Hydrocarbon)


1) แอลคีน (Alkene)
เปนสารประกอบไฮโดรคารบอนมีที่สูตรโมเลกุลเปน
โดยภายในโมเลกุลจะมี อยูดวยอยางนอย 1 พันธะ (-C=C-) จึงทําใหเปน
สารประกอบที่ไมอิ่มตัว รวมถึงเปนสารประกอบที่ไมมีขั้ว ไมละลายนํ้า ไมนําไฟฟา และเผาไหมมี

2) แอลไคน (Alkyne)
แอลไคนเปนสารประกอบไฮโดรคารบอนมีที่สูตรโมเลกุลเปน
โดยภายในโมเลกุลจะมี ระหวางอะตอมคารบอน (-C≡C-) จึงทําใหเปน
สารประกอบที่ไมอิ่มตัว รวมถึงเปนสารประกอบที่ไมมีขั้ว ไมละลายนํ้า ไมนําไฟฟา และเผาไหม

ประเภทสารประกอบไฮโดรคารบอน

การเรียกชื่อแอลเคน แอลคีน หรือแอลไคน ในระบบ IUPAC จะเรียกชื่อตามจํานวนอะตอม


คารบอน โดยใชจํานวนนับในภาษากรีกระบุจํานวนอะตอมของคารบอนและลงทายดวย เ-น (-ane),
-อีน (-ene) หรือ ไ-น (-yne) ตามลําดับ

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 1 ปโตรเลียม 12
จํานวนอะตอมของคารบอน การอาน
1 มีท/เมท (meth_)
2 อีท/เอท (eth_)
3 โพรพ (prop_)
4 บิวท (but_)
5 เพนท (pent_)
6 เฮกซ (hex_)
7 เฮปท (hept_)
8 ออกท (oct_)
9 โนน (non_)
10 เดกค (dec_)

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน แบบฝกหัด 13
สารประกอบไฮโดรคารบอน

ใหนักเรียนตอบคําตอบลงในชองวางใหถูกตอง
1. สารประกอบไฮโดรคารบอน หมายถึง

2. สารประกอบไฮโดรคารบอนอิ่มตัว(Saturated hydrocarbon)
โครงสรางประกอบดวยพันธะ มีสูตรเคมี คือ CnH2n+2
เรียกวาสารประกอบ

โครงสราง ชื่อ IUPAC จุดหลอมเหลว จุดเดือด


(°C) (°C)
CH4 -183 -162
CH3CH3 -172 -89
CH3CH2CH3 -187 -42
CH3CH2CH2CH3 -135 0
CH3(CH2)3CH3 -130 36
CH3(CH2)4CH3 -94 69
CH3(CH2)5CH3 -91 98
CH3(CH2)6CH3 -57 126
CH3(CH2)7CH3 -54 151
CH3(CH2)8CH3 -30 174

สมบัติที่สําคัญคือ

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน แบบฝกหัด 14
3. สารประกอบไฮโดรคารบอนไมอิ่มตัว(Unsaturated hydrocarbon)
โครงสรางประกอบดวยพันธะ มีสูตรเคมี คือ CnH2n
เรียกวาสารประกอบ
ความ
จุด
ชื่อ หนาแนน
สูตรโครงสราง หลอมเหลว จุดเดือด(°C)
IUPAC (g/cm3) ที่
(°C)
25°C
CH2 = CH2 -169 -104 -
CH2 = CHCH3 -185.2 -47 -
CH2 = CHCH2CH3 -185 -6.0 -
CH3CH = CHCH3 -139 3.7 0.621
CH3(CH2)7CH= CH3 -66.3 171 0.741

สมบัติที่สําคัญคือ

โครงสรางประกอบดวยพันธะ __
มีสูตรเคมี คือ CnH2n-2 เรียกวาสารประกอบ
ความ
จุด
จุดเดือด หนาแนน
สูตรโครงสราง ชื่อ IUPAC หลอมเหลว
(°C) (g/cm3 ที่
(°C)
25°C
CH CH -82 -75 -
CH CCH3 -101.5 -23 -
CH CCH2CH3 -122 - -
CH CHCH2CH2CH3 -98 40 -
สมบัติที่สําคัญคือ

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน แบบฝกหัด 15

4. จงระบุวาสารประกอบไฮโดรคารบอนตอไปนี้ อิ่มตัวหรือไมอิ่มตัว

สาร ประเภทไฮโดรคารบอน อิ่มตัว ไมอิ่มตัว

5. สมการการเผาไหม
__C2H2(g) + __O2(g) → __CO2(g) + __H2O(g)
__C6H14(g) + __O2(g) → __CO2(g) + __H2O(g)

สมการเผาไหมแบบสมบูรณ สมการเผาไหมแบบไมสมบูรณ
CXHY + O2 CXHY+ O2
เกิดขึ้นกับสารประกอบไฮโดรคารบอน…………. เกิดขึ้นกับสารประกอบไฮโดรคารบอน………….

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 1 ปโตรเลียม 16

การปรับคุณภาพนํ้ามัน
เปนวิธีทําสารประกอบไฮโดรคารบอนที่มีคารบอนมาก ๆ มาเปลี่ยนเปนสารประกอบ
ไฮโดรคารบอนที่มีมวลโมเลกุลใกลเคียงกับนํ้ามันเบนซิน และนํ้ามันดีเซล และมีการปรับปรุง
โครงสรางของของโมเลกุลใหเปนเชื้อเพลิงที่มีคุณภาพดีขึ้น โดยมีกระบวนการดังนี้

กระบวนการแตกสลาย (Cracking process)

เปนการเปลี่ยนสารประกอบไฮโดรคารบอนโมเลกุล ซึ่งไมคอยมี
ประโยชน ใหกลายเปนสารประกอบไฮโดรคารบอนโมเลกุล ที่มีประโยชน
มากกวา โดยใชความรอนสูงและตัวเรงปฏิกิริยา เชน

กระบวนการรีฟอรมมิง (Reforming process)

เป น การเปลี ่ ย นสารประกอบไฮโดรคาร บ อนแบบ ให เ ป น


ทําใหมีประสิทธิภาพในการเปนเชื้อเพลิงในเครื่องยนตดีขึ้น

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 1 ปโตรเลียม 17

การทําแอลคิเลชัน (Alkylation)

เปนการรวมสารประกอบไฮโดรคารบอนชนิดแอลเคน กับสารประกอบไฮโดรคารบอนชนิด
ใหไดเปนสารประกอบไฮโดรคารบอนที่มีโครงสรางแบบ
โดยมีกรดซัลฟวริกเปนตัวเรง

การทําโอลิโกเมอไรเซชัน (Oligomerization)

เปนการรวมสารประกอบไฮโดรคารบอนชนิด เขาดวยกันโดยใช
ความรอนและตัวเรงปฏิกิริยา จะไดสารประกอบไฮโดรคารบอนชนิด

การกําหนดคุณภาพนํ้ามัน
ในการนําเชื้อเพลิงไปใชกับเครื่องยนต ตองเลือกใหเหมาะสมกับเครื่องยนตแตละชนิด
ถาเลือกไมเหมาะสมเครื่องยนตจะเดินไมเรียบ เกิดการเคาะและมีเสียงดังเกิดขึ้น

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 1 ปโตรเลียม 18
การกําหนดคุณภาพนํา้ มันเบนซิน

การกําหนดคุณภาพของนํ้ามันเบนซิน ที่ใชกับเครื่องยนตเบนซิน จะกําหนดดวยคาที่เปน


ตัวเลขเรียกวา เลขออกเทน

เลขออกเทน (Octane number) เปนคาตัวเลขที่แสดงเปนรอยละโดยมวลของไอโซออก


เทนในของผสมระหวาง ไอโซออกเทนและเฮปเทน ซึ่งเกิดการเผาไหมหมด
นํ้ามันเบนซินที่มีคุณสมบัติการเผาไหมเชนเดียวกับ ไอโซออกเทน เรียกนํ้ามันเบนซินนั้นวา
เลขออกเทนเปน
สวนนํ้ามันเบนซินที่มีคุณสมบัติการเผาไหมเชนเดียวกับ เฮปเทน เรียกนํ้ามันเบนซินนั้นวา
เลขออกเทนเปน
เชน นํ้ามันเบนซินที่เลขออกเทน 91 คือ นํ้ามันเบนซินที่มีคุณสมบัติการเผาไหมเชนเดียวกับ
เชื้อเพลิงที่มีไอโซออกเทนรอยละ และเฮปเทนรอยละ โดยมวล
นํ้ามันเบนซินที่เลขออกเทน 95 คือ นํ้ามันเบนซินที่มีคุณสมบัติการเผาไหมเชนเดียวกับ
เชื้อเพลิงที่มีไอโซออกเทนรอยละ และเฮปเทนรอยละ โดยมวล
นํ้ามันเบนซินที่มีเลขออกเทนสูง แสดงวาเปนนํ้ามันเชื้อเพลิงที่ดี แตนํ้ามันเบนซินในปจจุบัน
มีเลขออกเทนตํ่า จึงมีการปรับปรุงคุณภาพใหนํ้ามันเบนซินมีการเผาไหมดีขึ้น โดยการ
ลงไปในนํ้ามันเบนซิน เพราะสารเหลานี้ชวยทําใหเกิด
การเผาไหมดีขึ้น แตขอเสียคือ ไอของนํ้ามันจะมีสารตะกั่ว ซึ่งเปนสารมลพิษ
ตั้งแตป พ.ศ. 2539 จึงไดเปลี่ยนมาใชสารเคมีชนิดอื่น เชน เมทิลเทอรเชียรีบิวทิลอีเทอร
(MTBE) แทน และเรียกนํ้ามันเบนซินชนิดนี้วา
อยางไรก็ตาม หากมีการหกหรือรั่วไหลของนํ้ามัน เมทิลเทอรเชียรีบิวทิลอีเทอร ทําใหแหลง
นํ้าใตดินปนปอนไดงายซึ่งเปนอันตรายตอสุขภาพ ในป พ.ศ. 2541 ประเทศไทยจึงมีการจํากัด
ปริมาณสารดังกลาวในนํ้ามันเบนซิน และสนับสนุนใหใชเอทิลเทอรเชียรีบิวทิลอีเทอร (ETBE)
ทดแทน ซึ่งเปนสารที่สงผลกระทบตอสิ่งแวดสอมและเปนอันตรายตอสุขภาพนอยกวา

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 1 ปโตรเลียม 19
ฝกคิด
1. นํ้ามันเบนซินที่มีการเผาไหมเหมือนกับเชื้อเพลิงที่มีไอโซออกเทน 20 สวนและเฮปเทน
5 สวน จะมีเลขออกเทนเทาไร ?

2. ถานํานํ้ามันที่มีเลขออกเทน 85 จํานวน 20 สวนมาผสมกับนํ้ามันที่มีเลขออกเทนเทากับ


70 จํานวน 10 สวน นํ้ามันที่ไดจะมีเลขออกเทนเทาไร

การกําหนดคุณภาพนํา้ มันดีเซล

สําหรับรถบรรทุกเล็ก รถแทรกเตอร เรือประมง เรือโดยสาร และเครื่องกําเนิดไฟฟาที่ใช


เครื่องยนตดีเซล ตองใชนํ้ามันดีเซลซึ่งเปนกลุมของสารประกอบไฮโดรคารบอนที่มีจุดเดือดสูง
กวานํ้ามันเบนซิน ไดมีการกําหนดคุณภาพของนํ้ามันดีเซลดวย

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 1 ปโตรเลียม 20
นํ้ามันดีเซลที่มีคุณสมบัติการเผาไหมเชนเดียวกับ ซีเทน จะเรียกนํ้ามันดีเซลนั้นวา เลขซีเทน
เปน
สวนนํ้ามันดีเซลที่มีคุณสมบัติการเผาไหมเชนเดียวกับ แอลฟาเมทิลแนฟทาลีน จะเรียก
นํ้ามันดีเซลนั้นวา เลขซีเทนเปน
เชน นํ้ามันดีเซลที่เลขซีเทน 65 คือ นํ้ามันดีเซลที่มีคุณสมบัติการเผาไหมเชนเดียวกับ
เชื้อเพลิงที่มีซีเทนรอยละ และแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน รอยละ โดยมวล
นํ้ามันดีเซลที่เลขซีเทน 70 คือ นํ้ามันดีเซลที่มีคุณสมบัติการเผาไหมเชนเดียวกับ เชื้อเพลิงที่
มีซีเทนรอยละ และแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน รอยละ โดยมวล

ฝกคิด
1. นํ้ามันดีเซลที่มีการเผาไหมเหมือนกับ ซีเทน 30 สวน และแอลฟาเมทิล แนฟทาลี น
10 สวน จะมีเลขซีเทนทาไร ?

2. ถานํานํ้ามันที่มีเลขซีเทน 60 จํานวน 20 สวนมาผสมกับนํ้ามันที่มีเลขซีเทนเทากับ 50


จํานวน 10 สวน นํ้ามันที่ไดจะมีเลขซีเทนเทาไร

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 1 ปโตรเลียม 21
เชื้อเพลิงในชีวิตประจําวัน
เครื่องยนตดีเซล

เมื่อกอนเครื่องยนตดีเซลจะมีขนาดใหญ นํ้าหนักมาก จึงเหมาะกับการใชงานที่หนักตอเนื่อง


เปนเวลานาน เครื่องดีเซลจึงอยูในรถใหญๆ อยางพวกรถบรรทุก รถกระบะ และดวยขนาดของ
เครื่องที่ใหญ จึงคอนขางทนทาน อายุการใชงานยาวนาน เพราะเครื่องดีเซลใหแรงบิดที่สูงกวา
เครื่องเบนซินมาก โดยเฉพาะในรอบตํ่า จึงเหมาะกับการบรรทุกที่ไมเนนความเร็ว

เครื่องยนตเบนซิน

โครงสรางเครื่องยนตเบนซินนั้นจะมีขนาดที่เล็ก นํ้าหนักเบา แรงระเบิดนอยกวาดีเซล แตมี


รอบการทํางานที่สูงกวา จึงเหมาะที่จะนํามาใชกับรถขนาดเล็ก เชน รถยนตนั่ง มอเตอรไซค หรือ
รถแขงที่ตองการความเร็ว เครื่องเบนซินนั้น มีความบอบบางกวา เพราะมีโครงสรางที่เบา จึงตอง
บํารุงรักษามากเปนพิเศษ เนื่องจากมีระบบไฟฟาเกี่ยวของ เชน ระบบจุดระเบิดหัวเทียน ระบบ
ฉีดนํ้ามัน ทําใหตองระวังเรื่องความชื้นและนํ้า

พลังงานทดแทน
หลักการในการเลือกพลังงานทดแทน

1) เปนพลังงานสะอาด ไมทําลายสิ่งแวดลอม
2) เปนพลังงานที่สามารถนํากลับมาใชใหมได

ประเภทของพลังงานทดแทน

1. พลังงานแสงอาทิตย
ดวงอาทิตยใหพลังงานจํานวนมหาศาลแกโลกของเรา พลังงานจากดวงอาทิตยจัดเปน
พลังงานหมุนเวียนที่สําคัญที่สุด เปนพลังงานสะอาดไมทําปฏิกิริยาใด ๆ อันจะทําใหสิ่งแวดลอม
เปนพิษ เซลลแสงอาทิตยเปนสิ่งประดิษฐที่ถูกนํามาใชผลิตไฟฟา เนื่องจากสามารถเปลี่ยนเซลล
แสงอาทิตยใหเปนพลังงานไฟฟาไดโดยตรง
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 1 ปโตรเลียม 22
เมื่อกอนเครื่องยนตดีเซลจะมีขนาดใหญ นํ้าหนักมาก จึงเหมาะกับการใชงานที่หนักตอเนื่อง
เปนเวลานาน เครื่องดีเซลจึงอยูในรถใหญๆ อยางพวกรถบรรทุก รถกระบะ และดวยขนาดของ
เครื่องที่ใหญ จึงคอนขางทนทาน อายุการใชงานยาวนาน เพราะเครื่องดีเซลใหแรงบิดที่สูงกวา
เครื่องเบนซินมาก โดยเฉพาะในรอบตํ่า จึงเหมาะกับการบรรทุกที่ไมเนนความเร็ว
2. พลังงานน้า
พื้นผิวโลกถึง 70% ปกคลุมดวยนํ้า นํ้าที่กําลังเคลื่อนที่มีพลังงานสะสมอยูมาก และมนุษย
รูจักนําพลังงานนี้มาใชหลายรอยปแลว เชน ใชหมุนกังหันนํ้า ปจจุบันมีการนําพลังงานนํ้าไปหมุน
กังหันของเครื่องกําเนิดไฟฟาในโรงไฟฟาพลังนํ้าเพื่อผลิตไฟฟา
3. พลังงานลม
เปนพลังงานธรรมชาติที่เกิดจากความแตกตางของอุณหภูมิ 2 ที่ ซึ่งสะอาดและบริสุทธิ์ใช
แลวไมมีวันหมดสิ้นไปจากโลก ไดรับความสนใจนํามาพัฒนาใหเกิดประโยชนอยางกวางขวาง
ซึ่งกังหันลมก็เปนอุปกรณชนิดหนึ่งที่สามารถนําพลังงานลมมาใชใหเปนประโยชนได โดยเฉพาะ
ในการผลิตกระแสไฟฟา และในการสูบนํ้า
4. พลังงานความรอนใตพิภพ
พลังงานความรอนใตพิภพ หมายถึง การใชงานอยางหนักจากความรอนดานในของโลก
แกนของโลกนั้นรอนถึง 5,500 oC โรงไฟฟาบางแหงใชไอนํ้าจากแหลงความรอนเหลานี้โดยตรง
เพื่อทําใหใบพัดหมุน สวนโรงไฟฟาอื่น ๆ ปมนํ้ารอนแรงดันสูงเขาไปในแท็งกนํ้าความดันตํ่า ทํา
ใหเกิด “ไอนํ้าชั่วขณะ” ซึ่งใชเพื่อหมุนกังหันของเครื่องกําเนิดไฟฟา
5. พลังงานชีวมวล
ชีวมวล (biomass) คือ สารอินทรียที่เปนแหลงกักเก็บพลังงานจากธรรมชาติและสามารถ
นํามาใชผลิตพลังงานได สารอินทรียเหลานี้ไดมาจากพืชและสัตวตาง ๆ เชน เศษไม ขยะ วัสดุ
เหลือใชทางการเกษตร การใชงานชีวมวลเพื่อทําใหไดพลังงานอาจจะทําโดยนํามาเผาไหมเพื่อนํา
พลังงานความรอนที่ไดไปใช
พลังงานชีวมวล (biomass energy) หมายถึง พลังงานที่ไดจากชีวมวลชนิดตาง ๆ โดย
กระบวนการแปรรูปชีวมวลไปเปนพลังงานรูปแบบตาง ๆ
1) การเผาไหมโดยตรง (combustion) เมื่อนําชีวมวลมาเผา จะไดความรอนออกมา
ตามคาความรอนของชนิดชีวมวล ความรอนที่ไดจากการเผาสามารถนําไปใชในการผลิตไอนํ้าที่มี
อุณหภูมิและความดันสูง ไอนํ้านี้จะถูกนําไปขับกังหันไอนํ้าเพื่อผลิตไฟฟาตอไป ตัวอยาง ชีวมวล
ประเภทนี้ คือ เศษวัสดุทางการเกษตร และเศษไม

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 1 ปโตรเลียม 23
2) การผลิตกาซ (gasification) เปนกระบวนการเปลี่ยนเชื้อเพลิงแข็งหรือชีวมวลให
เปนแกสเชื้อเพลิง เรียกวา แกสชีวภาพ (biogas) มีองคประกอบของแกสมีเทน ไฮโดรเจน
และ คารบอนมอนอกไซด สามารถนําไปใชกับกังหันแกส (gas turbine)
3) การหมัก (fermentation) เปนการนําชีวมวลมาหมักดวยแบคทีเรียในสภาวะไร
อากาศ ชีวมวลจะถูกยอยสลายและแตกตัว เกิดแกสชีวภาพ (biogas) ที่มีองคประกอบของแกส
มีเทนและคารบอนไดออกไซด แกสมีเทนใชเปนเชื้อเพลิงในเครื่องยนตสําหรับผลิตไฟฟา

ผลกระทบจากปโตรเลียม
ผลิตภัณฑตาง ๆ จากปโตรเลียม เชน แกสธรรมชาติ แกสหุงตม นํ้ามัน พลาสติก โฟม ฯลฯ
ลวนแตเปนผลิตภัณฑที่มีประโยชนและมีบทบาทในการดําเนินชีวิตประจําวันของมนุษยเปนอยาง
ยิ่ง แตหากเราใชประโยชนจากผลิตภัณฑปโตรเลียมโดยไมคํานึงถึงผลกระทบที่จะเกิดตามมา
ก็อาจจะกอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมในดานตาง ๆ ได ซึ่งผลกระทบสวนใหญ
ที่เกิดขึ้น ก็คือ การกอใหเกิดมลภาวะทางอากาศ ซึ่งเปนผลกระทบที่เกิดจากการใชนํ้ามัน
เชื้อเพลิงตาง ๆ เนื่องจากการเผาไหมนํ้ามันเชื้อเพลิงจะทําใหสารตาง ๆ ที่ปนอยูในนํ้ามันระเหย
ออกมาได และหากเครื่องยนตมีการเผาไหมไมสมบูรณก็จะกอใหเกิดเขมาควัน และแกสที่เปน
อันตราย ดังนี้
1. แกสคารบอนไดออกไซด (CO2) เกิดขึ้นจากการเผาไหมอยางสมบูรณของเชื้อเพลิง
เปนแกสนํ้าหนักเบากวาอากาศ ทําใหสามารถลอยขึ้นสูชั้นบรรยากาศ และกอใหเกิดภาวะโลก
รอนได
2. แก ส คาร บ อนมอนนอกไซด (CO) เกิ ดจากการเผาไหม ท ี ่ ไม ส มบู ร ณ เป นแก ส ที ่ มี
อันตรายตอมนุษยและสัตว โดยสามารถจับตัวกับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดไดดี ทําใหเม็ดเลือดไม
สามารถรับออกซิเจนได จึงทําใหรางกายไดรับออกซิเจนไมเพียงพอ
3. สารตะกั่ว (Pb) เกิดจากสารบางชนิดที่เติมลงในนํ้ามันเบนซินเพื่อเพิ่มคุณภาพใหกับ
นํ้ามัน เมื่อถูกเผาไหมจึงระเหยปนออกมากับสารอื่นทางทอไอเสีย สารตะกั่วเปนสารที่มีผลเสีย
ตอสมอง ไต ระบบประสาท โลหิต และระบบสืบพันธุ ในปจจุบันจึงไดมีการหามไมใหผสมสารที่
มีตะกั่วเจือปนลงในนํ้ามันอีก
4. แกสซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) เกิดขึ้นจากการเผาไหมของสารที่มีซัลเฟอรผสมอยู มี
ผลกระทบตอระบบหายใจ นอกจากนี้เมื่อรวมตัวกับละอองนํ้าในอากาศ จะเกิดเปนฝนกรด ซึ่ง
เปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิต และทําใหเกิดความเสียหายแกสิ่งกอสรางตาง ๆ ได

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 1 ปโตรเลียม 24
5. แกสไฮโดรคารบอน เกิดจากการเผาไหมสารไฮโดรคารบอนตาง ๆ ที่อยูในนํ้ามันเปน
แกสมีเทน อีเทน ออกเทน ไอของเฮปเทน และนํ้ามันเบนซิน มีผลตอเยื่อดวงตา และกอใหเกิด
การระคายเคืองในระบบหายใจได
นอกจากมลพิ ษ ทางอากาศแล ว ผลิ ต ภั ณ ฑ ต  า ง ๆ จากป โ ตรเลี ย ม เช น กล อ งโฟม
และพลาสติกตาง ๆ ยังสามารถกอใหเกิดปญหาจากปริมาณขยะได เนื่องจากผลิตภัณฑเหลานี้
เนาเปอยยอยสลายไดยาก และไมสามารถทําลายดวยวิธีการเผาได เนื่องจากการเผาจะกอใหเกิด
กลิ ่ น เหม็ น อย า งรุ น แรง และเกิ ด แก ส ที ่ เ ป น พิ ษ จึ ง ยากต อ การกํ า จั ด ทํ า ลาย ดั ง นั ้ น
ในการใชผลิตภัณฑปโตรเลียมตาง ๆ เราจึงควรใชดวยความรอบคอบและใชใหเกิดประโยชน
คุมคามากที่สุด

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน แบบฝกหัด 25
การปรับปรุงคุณภาพนํา้ มัน
ใหนักเรียนตอบคําตอบลงในชองวางใหถูกตอง
1. การปรับปรุงคุณภาพนํ้ามัน มีหลายวิธี ดังนี้
1.1 กระบวนการแตกสลาย (Cracking Process)

1.2 กระบวนการรีฟอรมมิง (Reforming Process)

1.3 กระบวนการแอลคิเลชัน (Alkylation Process)

1.4 กระบวนการโอลิโกเมอไรเซชัน (Oligomerization Process)

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน แบบฝกหัด 26
2. เชื ้ อ เพลิ ง ในชี ว ิ ต ประจํ า วั น ที ่ ม นุ ษ ย เ รานั ้ น นํ า มาใช ป ระโยชน ก ั น อย า งแพร ห ลาย คื อ
2.1 กาซปโตรเลียมเหลว LPG คือ

2.2 กาซธรรมชาติ NGV คือ

2.3 ขอแตกตางของ กาซ LPG และ CNG


1)
2)
3)
2.4 นํ้ามันเบนซิน คือ
ใชกับเครื่องยนตเบนซินแบบ

เลขออกเทน คือ
นํ้ามันเบนซินที่มีเลขออกเทน 95 หมายความวา

การเพิ่มเลขออกเทนโดยเติมสารเคมีบางชนิด ในอดีตเติม
แตทําใหมีสารตะกั่วปลอยออกมาพรอมกับไอเสียเครื่องยนตซึ่งเปนพิษรายแรงตอมนุษยและ
สิ่งแวดลอมจึงยกเลิก ในปจจุบันเติม และเรี ย กนํ ้ า มั น เบนซิ น ชนิ ด นี ้ ว  า
นํ้ามันไรสารตะกั่วหรือยูแอลจี (ULG)

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน แบบฝกหัด 27
3. ใหนักเรียนคํานวณเลขออกเทนตอไปนี้
3.1 นํ้ามันเบนซินชนิดหนึ่งมีสวนผสมของ isooctane 23 สวน และ heptane 2 สวนโดย
มวล นํ้ามันชนิดนี้มีเลขออกเทนเทาใด

3.2 ถาผสมนํ้ามัน A ที่มีเลขออกเทน 80 จํานวน 10 ลิตร กับนํ้ามัน B ที่มีออกเทน 100


จํานวน 25 ลิตรนํ้ามันผสมนี้จะมีเลขออกเทนเทาใด

3.3 ถาผสมนํ้ามันเบนซินที่มีคาออกเทนเทากับ80กับไอโซออกเทนดวยอัตราสวน 3:1


จะทําใหไดนํ้ามันเบนซินที่มีคาออกเทนเปนเทาใด

4. ใหนักเรียนตอบคําตอบลงในชองวางใหถูกตอง
4.1 นํ้ามันดีเซล คือ

ใชกับเครื่องยนตดีเซลแบบ

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน แบบฝกหัด 28
4.2 ปจจุบันนี้แบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ
นํ้ามันดีเซลสําหรับเครื่องยนตดีเซล ใชกับยานยนต
นํ้ามันดีเซลสําหรับเครื่องยนตดีเซล
หรือเรียกวานํ้ามันขี้โลใชกับยานยนต

เลขซีเทน คือ

นํ้ามันดีเซลที่มีเลขซีเทน 80 หมายความวา

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 29

1
หนวยที่ ปโตรเลียม

1. ขอมูลแสดงจํานวนอะตอมคารบอนของผลิตภัณฑที่ไดจากกระบวนการกลั่นลําดับสวนนํ้ามันดิบ
ในแตละชั้นของหอกลั่น เปนดังนี้
หอกลั่น จํานวนอะตอมคารบอน
ชั้น P 14-19
ชั้น N 20-35
จากขอมูล การเปรียบเทียบแรงยึดเหนี่ยวระหวางอะตอมในโมเลกุล และแรงยึดเหนี่ยวระหวาง
โมลกุลของผลิตภัณฑที่ไดจากหอกลั่นชั้น P กับ N เปนอยางไร (2562)
แรงยึดเหนี่ยวระหวางอะตอม แรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุล
1. P สูงกวา N P สูงกวา N
2. P สูงกวา N P ตํ่ากวา N
3. P ตํ่ากวา N P ใกลเคียงกับ N
4. P ใกลเคียงกับ N P ตํ่ากวา N
5. P ใกลเคียงกับ N P ใกลเคียงกับ N

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 30
2. ขอมูลแสดงถานะของผลิตภัณฑที่ไดจากกระบวนการกลั่นดําดับสวนนํ้ามันดิบในแตละชั้นของ
หอกลั่น เปนดังนี้
ลําดับชั้นของหอกลั่นจากบนลงลาง สถานะของผลิตภัณฑ
A เเกส
B ของเหลว
C ของเหลวขนหนืด
D กึ่งเหลวกึ่งแข็งจนถึงของแข็ง
จากขอมูล ขอสรุปใดตอไปนี้ถูกตอง (2561)
1. จุดเดือดของผลิตภัณฑจากหอกลั่นชั้น D ตํ่ากวาชั้น B
2. จุดหลอมเหลวของผลิตภัณฑจกหอกลั่นชั้น C สูงกวาชั้น A
3. จํานวนคารบอนอะตอมของผลิตภัณฑจากหอกลั่นชั้น A มากกวาชั้น B
4. อุณหภูมิของการควบแนนของผลิตภัณฑจากหอกลั่นชั้น D ตํ่ากวาชั้น A
5. การเผาไหมสมบูรณของผลิตภัณฑจากหอกลั่นชั้น A เกิดแก็สคารบอนมอนอกไซดและเขมามาก
กวาชั้น C

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 31
3. ไบโอดีเชล เปนเชื้อเพลิงที่ไดจากการนํานํ้ามันจากพืช สัตว หรือสาหรายมาทําปฏิกิริยาทางเคมีกับ
แอลกอฮอล แลวไดผลิตภัณฑเปนเอสเทอร ซึ่งมีสมบัติใกลเคียงกับนํ้ามันดีเซล แตไมมีสารปนเปอน
เชน โลหะหนัก หรือกํามะถัน จึงทําใหเกิดมลพิษนอยกวานํ้ามันดีเซล
การนํานํ้ามันปาลมมาผลิตไบโอดีเซล กําลังไดรับความสนใจ และมีการสนับสนุนอยาง
แพรหลาย ทําใหมีแนวคิดที่จะขยายพื้นที่การปลูกปาลมนํ้ามันใหเพิ่มขึ้น ซึ่งในบางพื้นที่มีการบุกรุก
พื้นที่ปา เพื่อเปลี่ยนเปนพื้นที่เพาะปลูกปาลมนํ้ามัน เพื่อรองรับความตองการใชนํ้ามันปาลมสําหรับ
การผลิตไบโอดีเซลในอนาคต โดยพื้นที่เพาะปลูกปาลมนํ้ามัน 1 ไร จะใหนํ้ามันไบโอดีเซลประมาณ
1,000 ลิตร
นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยเพื่อพัฒนการเลี้ยงสาหรายนํ้าจืดขนาดเล็กที่สามารถผลิตนํ้ามันไดโดย
สามารถเพาะเลี้ยงไดในพื้นที่เสื่อมโทรม เชน แหลงนํ้าเสีย หรือแหลงนํ้าที่มีแก็สคารบอนไดออกไซด
สูง โดยพื้นที่เพาะเลี้ยงสาหราย 1 ไร จะใหนํ้ามันใบโอดีเซลประมาณ 15,000 ลิตร
จากขอมูลขางตัน ขอสรุปตอไปนี้ถูกตองใชหรือไม (2561)
ขอความ ใช/ไม่ใช่
การใชไบโอดีเซลแทนน้ํามันดีเซล ชวยลดปจจัยที่กอใหเกิดฝนกรด ใช / ไมใช
หากพิจารณาจากวัฏจักรคารบอน การใชน้ํามันดีเซลจะเพิ่มผลรวมของแกส ใช / ไมใช
คารบอนไดออกไซดในบรรยากาศมากกวาการใชไบโอดีเซลจากพืช
ถาตองการผลิตไบโอดีเซลปริมาณมาก การเลี้ยงสาหรายจะสงผลเสียตอระบบ ใช / ไมใช
นิเวศมากกวาการปลูกปาลมน้ํามัน

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 32
4. ขอมูลแสดงจํานวนอะตอมคารบอนของผลิตภัณฑจากปโตรเลียมที่ไดจากกระบวนการกลั่น
นํ้ามันดิบ เปนดังนี้
ผลิตภัณฑ จํานวนอะตอมคารบอน
S 37
P 3
R 16
Q 9
จากขอมูล ขอสรุปใดตอไปนี้ถูกตอง (2560)
1. ผลิตภัณฑ S อยูชั้นบนสุดของหอกลั่น
2. ผลิตภัณฑ R จุดเดือดสูงกวาผลิตภัณฑ P
3. ผลิตภัณฑ Q จุดหลอมเหลวสูงกวาผลิตภัณฑ R
4. ผลิตภัณฑ S มีสถานะเปนแกส สวนผลิตภัณฑ P มีสถานะเปนของเหลว
5. ผลิตภัณฑ มีสถานะเปนของเหลวขนเหนียวและหนืดมากกวาผลิตภัณฑ S

5. ขอใดกลาวถึงผลิตภัณฑจากปโตรเลียมไมถกู ตอง (2560)


1. แกสหุงตมเปนแกสที่ไดจากการผสมระหวางโพรเพนกับบิวเทน
2. ขวดพลาสติก ยางสังเคราะห และโฟม เปนผลิตภัณฑที่ไดจากอุตสาหกรรมปโตรเคมี
3. การเผาไหมนํ้ามันเบนซินเกิดแกสคารบอนมอนอกไซด เขมา และควัน มากกวาแกส NGV
และ LPG
4. นํ้ามันแกสโชฮอล E10 ชวยลดมลพิษและลดการใชนํ้ามันจากปโตรเลียมมากกวานํ้ามัน
แกสโชฮอล E2
5. โรงงานผลิตกระแสไฟฟาใชแกสมีเทนเปนเชื้อเพลิงทดแทนการใชนํ้ามันเตาและลิกไนต
เพื่อชวยลดปญหาการเกิดฝนกรด

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 33
6. นํ้ามันดิบที่ไดจกการขุดเจาะ จะผานกระบวนการแยกสารเจือปนตาง ๆ แลวจึงนําสวนที่เหลือไป
แยกตอในหอกลั่น
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. นํ้ามันเบนซินมีจํานวนอะตอมคารบอนมากกวานํ้ามันกาด
ข. การกลั่นลําดับสวนเปนวิธีการที่ใชแยกสารในหอกลั่นนํ้ามันดิบ
ค. สารประกอบไฮโดรคารบอนที่แยกในหอกลั่นเปนสารโคเวเลนตเทานั้น
ง. จุดเดือดของผลิตภัณฑจกการกลั่นนํ้ามันดิบจะเพิ่มขึ้นตามความสูงของหอกลัน่
ขอความใดถูกตอง (2559)
1. ก และ ข 2. ข และ ค 3. ค และ ง 4. ก และ ค 5. ข และ ง

7. กําหนดให A B C และ D เปนผลิตภัณฑที่ไดจากการแยกแกสธรรรมชาติหรือจากการกลั่น


นํ้ามันดิบที่สามารถนําไปใชประโยชน ดังตาราง
ผลิตภัณฑ ประโยชน
A เปนเชื้อเพลิงสําหรับหุงตมและสําหรับเครื่องยนตในรถยนตบางชนิด
B เปนเชื้อเพลิงสําหรับเครื่องบินไอพน สวนผสมในยา าแมลงและน้ํามันชักเงา
C เปนเชื้อเพลิงผลิตกระแสไ า และใชในยานยนตบางชนิด
D ใชหลอลื่นและสามารถปองกันไมใหฝุนเขาไปอยูระหวางผิวโลหะได
ขอใดแสดงผลิตภัณฑ A B C และ D ไดถูกตองทุกชอง (2559)
ตัวเลือก A B C D
1 LPG น้ํามันกาด CNG จาระบี
2 CNG น้ํามันกาด น้ํามันเบนชิน น้ํามันหลอลื่น
3 แกสโซฮอล น้ํามันเบนซิน น้ํามันกาด ยางมะตอย
4 LPG น้าํ มันเบนซิน แกสโซฮอล น้ํามันเตา
5 CNG น้าํ มันดีเซล LPG จาระบี

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 34
8. พิจารณากิจกรรมตอไปนี้
ก. การเผาไหมของผลิตภัณฑปโตรเลียม
ข. การระเหยของตัวทําละลายที่เปนผลิตภัณฑจากการกลั่นนํ้ามันดิบที่ใชในอุตสาหกรรมเคมี
ค. การใชพลังงานแสงอาทิตยแทนพลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิล
ง. การใชแกสโซฮอล E85 เปนเชื้อเพลิงในเครื่องยนตแทนนํ้ามันเบนชิน
กิจกรรมใดที่สงผลกระทบทําใหเกิดภาวะโลกรอน (2559)
1. ก และ ง 2. ข และ ค 3. ก และ ค 4. ค และ ง 5. ข และ ง

9. สารประกอบไฮโดรคารบอนในขอใด ไดจากการแยกแกสธรรมชาติแลวนําไปใชในยานยนต
NGV (2558)
1. มีเทน 2. อีเทน 3. ของผสมระหวางโพรเพนและบิวเทน
4. ของผสมระหวางเอทิลนี และโพรพิลีน 5. เพนเทน

10. ขอใดเปนผลิตภัณฑที่ไดจากการกลั่นนํ้ามันดิบโดยตรง (2558)


1. กาว 2. เสนใยสังเคราะห 3. ยางมะตอย 4. นํ้ามันแกสโซฮอล 5. ปุยเคมี

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 35

เฉลยขอสอบ O-net บทที่ 1 ปโตรเลียม


1. 4. 2. 2. 3. ใช, ใช, ไมใช 4. 2. 5. 4.
6. 2. 7. 1. 8. 1. 9. 1. 10. 3.

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 2 พอลิเมอร 36

2
หนวยที่ พอลิเมอร

ความหมายของพอลิเมอร
คําวา พอลิเมอร (Polymer) มีรากศัพทจากภาษากรีก 2 คํา คือ Poly ซึ่งแปลวา
________ และ Meros ซึ่งแปลวา
ดังนั้น พอลิเมอร (Polymer) คือ

โดยหนวยยอยของพอลิเมอร จะเรียกวา

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 2 พอลิเมอร 37
ประเภทของพอลิเมอร
สามารถใชเกณฑในการแบงประเภทได ดังนี้

แบงตามการเกิด
1.

2.

แบงตามชนิดของมอนอเมอรที่เปนองคประกอบ

1.

2.

การสังเคราะหพอลิเมอร
เกิดจากปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร (polymerization) ของมอนอเมอรหลายๆหนวย
ไดเปนสายพอลิเมอร แบงออกเปน

ปฏิกิริยาพอลิเมอรไรเซชันแบบควบแนน

เกิดจากมอนอเมอร 2 ชนิด ที่มีหมูฟงกชันสองหมูในโมเลกุลรวมตัวกันทางเคมีในสภาวะที่


เหมาะสมแลวได

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 2 พอลิเมอร 38

ปฏิกิริยาพอลิเมอรไรเซชันแบบเติม

เกิดจากมอนอเมอร เปนปฏิกิริยาการรวมตัวกันของมอนอเมอรที่
ไมมีการกําจัดสวนใดของมอนอเมอรออกไป การสรางพันธะระหวางมอนอเมอรจะเกิดขึ้นได
โดยการเปลีย่ นพันธะคูระหวางอะตอมคารบอนใหเปนพันธะเดี่ยว เพื่อนําอิเล็กตรอนที่เหลือไป
สรางพันธะเดี่ยวกับโมเลกุลมอนอเมอรอื่น ๆ

โครงสรางของพอลิเมอร

พอลิเมอรแบบเสน

เกิดจากมอนอเมอรสรางพันธะตอกันเปนสายยาวสายโซพอลิเมอรแบบเสนจะเรียงชิดกัน
มากวาโครงสรางแบบอื่น ๆ จึงมี......................................................... มีลักษณะแข็ง ขุน
เหนียวกวาโครงสรางอื่น ๆ ตัวอยาง PVC พอลิสไตรีน พอลิเอทิลนี

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 2 พอลิเมอร 39
พอลิเมอรแบบกิ่ง

เกิดจากมอนอเมอรยึดกัน มีทั้งโซสั้นและโซยาว กิ่งที่แตกจาก


พอลิเมอรของโซหลัก ทําใหไมสามารถจัดเรียงโซพอลิเมอรใหชิดกันไดมากจึงมีความหนาแนน
และจุดหลอมเหลว ยืดหยุนได ความเหนียวตํ่า โครงสรางเปลี่ยนรูปไดงาย
เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น เชน พอลิ-เอทิลีนชนิดความหนาแนนตํ่า

พอลิเมอรแบบรางแห

เกิดจากการเชื่อมโยงระหวางโซพอลิเมอรที่มีโครงสรางแบบเสนหรือแบบกิ่ง ตอเนื่องกัน
เปนรางแห ถาพันธะที่เชื่อมโยงระหวางโซหลักมีจํานวนนอย พอลิเมอรจะมีสมบัติยืดหยุนและ
ออนตัว แตถามีจํานวนพันธะมาก พอลิเมอรจะแข็งไมยืดหยุน พอลิเมอรแบบรางแหจะมีจุด
หลอมเหลว
เชน เมลามีน เบกาไลต

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 2 พอลิเมอร 40
ผลิตภัณฑจากพอลิเมอร

พลาสติก (Plastic)

พลาสติก คือ วัสดุที่มนุษยสังเคราะหขึ้นจากธาตุพื้นฐาน 2 ชนิด คือ


ซึ่งเมื่อเติมสารบางอยางลงไปจะทําใหพลาสติกมีคุณสมบัติพิเศษ เชน แข็งแกรง
ทนความรอน ลื่นและยืดหยุน เราอาจสังเคราะหพลาสติกชนิดตาง ๆ ไดมากมาย โดยการเติม
สารเคมีชนิดตาง ๆ เขาไปโดยใชสัดสวนและกรรมวิธีที่แตกตางกัน
ปจจุบันพลาสติกไดกลายเปนผลิตภัณฑสําคัญอยางหนึ่ง และมีแนวโนมที่จะเขามามี
บทบาทในชีวิตประจําวันเพิ่มมากขึ้น โดยการนํามาใชแทนทรัพยากรธรรมชาติไดหลายอยาง
ไมวาจะเปนไม เหล็ก เนื่องจากพลาสติกมีราคาถูก มีนํ้าหนักเบา ใชงานไดหลากหลายตาม
ความตองการของผูผลิต เนื่องจากเราสามารถผลิตพลาสติกใหมีคุณสมบัติตาง ๆ ตามที่ตองการ
ได
พลาสติกประกอบดวยโมเลกุลขนาดใหญเรียกวา
ซึ่งเกิดจากโมเลกุลขนาดเล็กที่มาตอเขาดวยกันเปนสายยาวเหมือนโซ สายโมเลกุลเหลานี้จะ
เกี่ยวพันกัน ทําใหพลาสติกแข็งแกรง แตกวาจะดึงสายโมเลกุลพลาสติกใหแยกจากกันไดก็ตอง
ใชแรงมากพอสมควร
1. สมบัติพลาสติก
1)
2)
3)
4)
5)
6)
2. ประเภทของพลาสติก
1) เทอรมอพลาสติก (thermoplastic)
เมื่อไดรับความ และเมื่อเย็นลงจะ
สามารถเปลี่ยนรูปได พลาสติกประเภทนี้โครงสรางโมเลกุลเปน
มีการเชื่อมตอระหวางโซพอลิเมอรนอยมาก จึงสามารถหลอมเหลว หรือเมื่อผานการอัดแรง
มากจะไมทําลายโครงสราง

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 2 พอลิเมอร 41
ตัวอยางของเทอรมอพลาสติก

สมบัติบางประการ ตัวอยางการ
ชนิดของพลาสติก
นําไปใชประโยชน
สภาพการไหมไฟ ขอสังเกตอื่น
เปลวไฟสีนํ้าเงินขอบเหลือง เล็บขีดเปนรอย ไมละลาย ถุง ภาชนะ ฟลม
พอลิเอทิลีน กลิ่นเหมือนพาราฟน ในสารละลายทั่วไป ถายภาพ ของเลน
เปลวไฟไมดับเอง ลอยนํ้า เด็ก ดอกไมพลาสติก
โตะ เกาอี้ เชือก
เปลวไฟสีนํ้าเงินขอบเหลือง
ขีดดวยเล็บไมเปนรอย พรม บรรจุ-ภัณฑ
พอลิโพรพิลีน ควันขาว กลิ่นเหมือน
ไมแตก อาหาร ชิ้นสวน
พาราฟน
รถยนต
โฟม อุปกรณไฟฟา
เปาะ ละลายไดใน
เปลวไฟสีเหลือง เขมามาก เลนส ของเลนเด็ก
พอลิสไตรีน คารบอนเตตระคลอไรด
กลิ่นเหมือนกาซจุดตะเกียง อุปกรณกีฬา
และโทลูอีน ลอยนํ้า
เครื่องมือสื่อสาร
กระดาษติดผนัง
ติดไฟยาก ภาชนะบรรจุสารเคมี
พอลิวินิล ออนตัวไดคลายยาง
เปลวสีเหลืองขอบเขียว รองเทา กระเบื้องปู
คลอไรด ลอยนํ้า
ควันขาว กลิ่นกรดเกลือ พื้น ฉนวนหุมสายไฟ
ทอพีวีซี
เครื่องนุงหม
เปลวไฟสีนํ้าเงินขอบเหลือง เหนียว ยืดหยุน
ไนลอน ถุงนองสตรี
กลิ่นคลายเขาสัตวติดไฟ ไมแตก จมนํ้า
พรม อวน แห

2) พลาสติกเทอรมอเซต (thermoset plastic)


จะคงรูปหลังการผานความรอนหรือแรงดันเพียงครั้งเดียว เมื่อเย็นลงจะแข็งมาก
ทน แตถาอุณหภูมิสูงก็จะแตกและไหมเปนขี้เถาสีดํา พลาสติก
ประเภทนี้โมเลกุลจะเชื่อมโยงกันเปน แรงยึ ด เหนี ่ ย วระหว า ง
โมเลกุลแข็งแรงมาก จึงไมสามารถนํามาหลอมเหลวได

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 2 พอลิเมอร 42
ตัวอยางของเทอรมอเซ็ต

สมบัติบางประการ ตัวอยางการ
ชนิดของพลาสติก
นําไปใชประโยชน
สภาพการไหมไฟ ขอสังเกตอื่น
ติดไฟยาก เปลวสีเหลืองออน
พอลิยูเรีย เตาเสียบไฟฟา
ขอบฟาแกมเขียว แตกราว จมนํ้า
ฟอรมาลดีไฮด วัสดุเชิงวิศวกรรม
กลิ่นแอมโมเนีย
ติดไฟงาย เปลวสีเหลือง ไมละลายในสาร กาว สี สารเคลือบ
อีพอกซี
ควันดํา กลิ่นคลายขาวคัว่ ไฮโดรคารบอนและนํ้า ผิวหนาวัตถุ

3. พลาสติกรีไซเคิล
เนื่องจากโลกในปจจุบันนี้ มีการใชพลาสติกกันอยางมาก จึงไดมีการรณรงคการนําวัสดุเหลือ
ใชตาง ๆ แมกระทั่งพลาสติกที่ใชแลว นํามารีไซเคิลเพื่อสิ่งแวดลอมและสามารถนํากลับมาใชได
ใหม ทํ า ให เ กิ ด สมาคมอุ ต สาหกรรมพลาสติ ก แห ง อเมริ ก า (The Society of the Plastics
Industry, Inc.) กํา หนดสั ญ ลั ก ษณ ม าตรฐานของพลาสติ ก กลุ  ม ต า ง ๆ ที่ ส ามารถนํ า กลั บ มา
หมุนเวียนมาใชไดใหม เรียกวา การรีไซเคิล (Recycle) มี 7 ประเภท ดังนี้

1) พอลิเอทธิลีนเทเรฟธาเลต (Polyethylne Terephthalate) หรือ PET

นิยมนํามาทําขวดบรรจุนํ้าดื่ม ขวดนํ้ามันพืช สามารถนํามารีไซเคิลเปน เสนใย


สําหรับทําเสื้อกันหนาว พรม และใยสังเคราะหสําหรับยัดหมอน เปนตน

2) พอลิเอธิลีนความหนาแนนสูง (High Density Polyethylene) หรือ HDPE

ไดงาย ไดแก ขวดนํ้าดื่ม ขวดนม ถุงหิ้วพลาสติก ถังนํ้า บรรจุภัณฑสําหรับทําความ


สะอาด เปนตน สามารถนํามารีไซเคิลเปน ขวดนํ้ามันเครื่อง ขวดใสนํ้ายาซักผา
ทอ ลังพลาสติก ไมเทียมที่ใชทํามานั่งในสวน เปนตน

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 2 พอลิเมอร 43
3) พอลิไวนิลคลอไรด (Polyvinylchloride) หรือ PVC

เหมาะสําหรับทําทอนํ้า ฉนวนหุมสายไฟ กระเปาหนังเทียม ประตู PVC เปนตน


สามารถนํามารีไซเคิลเปน ทอนํ้าประปาหรือรางนํ้าการเกษตร กรวยจราจร
เฟอรนิเจอร มานั่งพลาสติก ตลับเทป เคเบิล แผนไมเทียม เปนตน

4) พอลิเอทิลีนความหนาแนนตํ่า (Low Density Polyethylene) หรือ LDPE

นิยมนํามาทําเปนฟลมหออาหารแชแข็ง หอขนมปง ถุงเย็นบรรจุอาหาร เปนตน


สามารถนํามารีไซเคิลเปน ถุงดําสําหรับใสขยะ ถุงหูหิ้ว ถังขยะ กระเบื้องปูพื้น
เฟอรนิเจอร แทงไมเทียม เปนตน

5) พอลิโพรพิลีน (Polypropylene) หรือ PP

เชน กลองบรรจุอาหารสําหรับเขาไมโครเวฟ ถุงรอนพลาสติกบรรจุอาหาร ชาม


จาน ถัง ตะกรา กระบอกใสนํ้าแชเย็น ขวดซอส แกวโยเกิรต เปนตน สามารถนํามา
รีไซเคิลเปน กลองแบตเตอรี่ในรถยนต ชิ้นสวนรถยนต เชน กันชน ไฟทาย และไม
กวาดแปรงพลาสติก เปนตน

6) พอลิสไตรีน (Polystyrene) หรือ PS

เหมาะสําหรับทําเปนโฟม กลอง ถวย และจาน เนื่องจากงายตอการขึ้นรูป สามารถ


พิมพสีสันหรือลวดลายที่สวยงามได และสามารถใชงานกับอุณหภูมิตั้งแต -10 oC
ถึง 80 oC สามารถนํามารีไซเคิลเปนไมแขวน-เสื้อ กลองวีดีโอ ไมบรรทัด กระเปาะ
เทอรโมมิเตอร แผงสวิตซไฟ ฉนวนความรอน ถาดใสไข เครื่องมือเครื่องใชตา ง ๆ

7) พลาสติกอื่น ๆ (Other)
เปนผลิตภัณฑที่ทําจากพลาสติกหลายชนิด ที่ไมใชพลาสติกชนิดใดชนิดหนึ่งใน 6
ที่ไดกลาวในขางตน แตเปนพลาสติกที่สามารถนํามาหลอมใหมได สวนมากจะเปน
แกวนํ้า ขวดนํ้าดื่มแบบขุน ถวย ชาม ถัง แผนฟวเจอรบอรด ถุงรอน ถุงเย็น ถุงใส
ขยะ ฝาขวด กระสอบปุย สายรัดพลาสติก เปนตน
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 2 พอลิเมอร 44
4. โฟม
พลาสติกที่มีลักษณะ โฟมมีทั้งชนิดแข็ง แข็งปานกลางและยืดหยุนดี
พลาสติกที่ใชทําโฟมอาจเปนเทอรมอพลาสติก หรือพลาสติกเทอรมอเซตก็ได ที่นิยมมากคือ
พอลิยูริเทน (พลาสติกเทอรมอเซต) ใชทํา
และพอลิสไตรีน (เทอรมอพลาสติก) ใชทํา

ยาง (rubber)

1. ประเภทของยาง
1) ยางธรรมชาติ
สมบัติมี เพราะโครงสรางโมเลกุลของยางมีลักษณะ
แรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลเปนแรงแวนเดอรวาลส ทนตอการขัดถู
ทนนํ้า ทนนํ้ามันจากพืชและสัตว แตไมทนตอนํ้ามันเบนซินและตัวทําละลายอินทรีย เมื่อรอน
เชน ยางธรรมชาติ ยางกัตตา
2) ยางสังเคราะห
ยางสังเคราะห เปนพอลิเมอรที่สังเคราะหขึ้นจาก
เชน ยาง IR (isoprene rubber) ยาง SBR (styrene-butadiene rubber)
2. การปรับปรุงคุณภาพยาง
กระบวนการวัลคาไนเซชัน (Vulcanization process) คือ .

สมบัติเหลานี้จะยังคงอยู ถึงแมวาอุณหภูมิจะเปลี่ยนแปลงก็ตาม โดยเติมกํามะถันในปริมาณที่


เหมาะสม ที่อุณหภูมิสูงกวาจุดหลอมเหลวของกํามะถัน (115.2 oC)

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 2 พอลิเมอร 45

เสนใย (fiber)

1. ประเภทของเสนใย
1) เสนใยธรรมชาติ
- เสนใยเซลลูโลส เชน ลินิน ปอ เสนใยสับปะรด
- เสนใยโปรตีน จากขนสัตว เชน ขนแกะ ขนแพะ
- เสนใยไหม เปนเสนใยจากรังไหม
2) เสนใยสังเคราะห
- เซลลูโลสแอซีเตด เปนพอลิเมอรที่เตรียมไดจากการใช
โดยมีกรอซัลฟูริกเปนตัวเรงปฏิกิริยา การใชประโยชนจากเซลลูโลสอะซีเตด เชน
ผลิตเปนเสนใยอารแนล 60 ผลิตเปนแผนพลาสติกที่ใชทําแผงสวิตชและหุมสายไฟ
- ไนลอน (Nylon) เปนพอลิเมอรสังเคราะหจําพวกเสนใย เรียกวา “เสนใยพอลิเอ
ไมด” มีหลายชนิด เชน ไนลอน 6,6 ไนลอน 6,10 ไนลอน 6 ซึ่งตัวเลขที่เขียนกํากับหลังชื่อจะ
แสดงจํานวนคารบอนอะตอมในมอนอเมอรของเอมีนและกรดคารบอกซิลิก ไนลอนจัดเปนพวก
เทอรมอพลาสติก มีความแข็งมากกวาพอลิเมอรแบบเติมชนิดอื่น เปนสารที่ติดไฟยาก
- ดาครอน (Dacron) เปนเสนใยสังเคราะหพวกพอลิเอสเทอร ซึ่งเรียกอีกชื่อหนึง่ วา
Mylar มีประโยชนทําเสนใยทําเชือก และฟลม
3) เสนใยกึ่งสังเคราะห
เปนเสนใยที่ไดจากการนําสารจากธรรมชาติ มาปรับปรุงโครงสรางใหเหมาะกับการใชงาน
เชน การนําเซลลูโลสจากพืชมาทําปฏิกิริยากับสารเคมีบางชนิด เสนใยกึ่งสังเคราะห นํามาใช
ประโยชน ไ ด ม ากกว า เส น ใยธรรมชาติ ตั ว อย า งเส น ใยกึ ่ ง สั ง เคราะห เช น วิ ส คอสเรยอง
แบมเบอรกเรยอง เปนตน
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน แบบฝกหัด 46
พอลิเมอร

ใหนักเรียนตอบคําตอบลงในชองวางใหถูกตอง
1. อธิบายความหมายของคําตอไปนี้
มอนอเมอร

พอลิเมอร

2. การแบงพอลิเมอรตามการเกิดแบงไดเปน 2 ชนิด คือ


1) ไดแก

2) ไดแก

3. จงระบุชนิดของการเกิดพอลิเมอร หรือพอลิเมอรไรเซชัน (polymerization) ของมอนอเมอร


ตอไปนี้
CH2 CH CH2 CH CH2 CH CH2 CH CH2 CH
CH3 CH3 CH3 CH3 CH3

polymerization แบบ เกิ ด กั บ มอนอเมอร ป ระเภท

polymerization แบบ เกิ ด กั บ มอนอเมอร ป ระเภท

4. พอลิเมอรที่มีโครงสรางดังตอไปนี้

ก. พอลิเมอรใดควรมีความหนาแนนมากที่สุด
ตอบ

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน แบบฝกหัด 47
ข. พอลิเมอรใดควรมีความยืดหยุนได พอลิเมอรใดควรจะมีจุดหลอมเหลวสูงที่สุด
ตอบ
ค. พอลิเมอรใดควรจะมีจุดหลอมเหลวสูงที่สุด
ตอบ
ง. ถาพิจารณาพอลิเมอร A B และ C พอลิเมอรใดมีความหนาแนนนอยที่สุดและพอลิเมอร
ใดมีความขุนมากที่สุด
ตอบ
จ. พอลิไวนิลคลอไรด พอลิเอทิลีนชนิดความหนาแนนตํ่า เบกาไลต ทั้ง 3 ชนิดมีโครงสราง
แบบใด ตามลําดับ
ตอบ
5. พิจารณาสมบัติของพอลิเมอรตอไปนี้
ก. พอลียูรีเทน แข็งแรงมาก ยืดหยุน โคงงอไดนอย เมื่อไดรับความรอนสูงจะแตกหักและ
เปนเถา
พอลิยรู ีเทนมีโครงสรางงแบบ
ข. พอลิโพรพิลีน มีความหนาแนนคอนขางตํ่า มีความแข็งและเหนียว ยืดหยุนได เมื่อไดรับ
ความรอนจะหลอมเหลว เมื่อเย็นลงจะแข็งตัวและนําขึ้นรูปใหมได
พอลิโพรพิลีนมีโครงสรางแบบ
ค. พอลิเอทิลนี ชนิดความหนาแนนสูง มีความหนาแนนและจุดหลอมเหลวสูงกวาพอลิโพรพิ-
ลีน เมื่อไดรับความรอนจะออนตัว และสามารถเปลี่ยนรูปรางกลับไปมาได
พอลิเอทิลนี มีโครงสรางแบบ
6. จงอธิบายความแตกตางของเทอรมอพลาสติก (thermoplastic) และพลาสติกเทอรมอเซต
(thermosetting phastic)

7. จงเขียนพอลิเมอรที่เกิดจากมอนอเมอรตอไปนี้

n CF2 = CF2

เกิดพอลิเมอรไรเซชันแบบ
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน แบบฝกหัด 48

เกิดพอลิเมอรไรเซชันแบบ
8. จากโครงสราวของ ไวนิลคลอไรด ใหเขียนพอลิไวนิลคลอไรดที่เกิดจากไวนิลคลอไรด 5,000
โมเลกุลมาตอกัน

9. ยางธรรมชาติ เปนสารพอลิเมอร มีชื่อทางเคมีวา


ประกอบดวยมอนอเมอรที่มีชื่อวา ______
สวนประกอบในนํ้ายางประกอบดวย และส ว นที่
เปนของแข็ง คือ
10. เพราะเหตุใดจึงตองมีการผลิตยางสังเคราะหขึ้นมา เพื่อใหแทนยางธรรมชาติ

11. เสนใย แบงออกเปน 3 ประเภท คือ


11.1 ไดแก
11.2 ไดแก
11.3 ไดแก

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน แบบฝกหัด 49
12. พลาสติก เสนใย และยาง มีมบัติเดนแตกตางกันอยางไร
สมบัติเดนของพลาสติก

สมบัติเดนของยาง

สมบัติเดนของเสนใย

13. เพระเหตุใดจึงตองปรับปรุงคุณภาพยางโดยการเผากับกํามะถันและตัวเรงปฏิกิริยากอนขึ้นรูป
ผลิตภัณฑ

14. จงจับคูประเภทของพลาสติกรีไซเคิลตอไปนี้ กับผลิตภัณฑพลาสติกที่กําหนดให


ก. ถุงใสขนมปง
_________1.
ถุงบรรจุอาหาร

ข. ขวดน้ําดื่ม
_________2.
ขวดน้ําเปลา ขวดแยม

_________3. ค. นอกเหนือจาก 6 กลุม

_________4. ง. กลอง จาน ชาม ถัง ตะกรา

จ. ทอพีวีซี ทอน้ําประปา
_________5.
สายยางใส

. ขวดใสแชมพู ขวดแปงเด็ก
_________6.
ขวดนม

ช. กลองไอศกรีม
_________7.
กลองโ มอาหาร
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน แบบฝกหัด 50
15. ใหนักเรียนบอกประโยชนของพอลิเมอรเหลานี้วาสามารถนําไปใชประโยชนอยางไรบาง
15.1 พอลิเอทิลีน

15.2 พีวีซี

15.3 nylon 6,6

15.4 พอลิโพรพิลีน

15.5 เมลามีน

15.6 พอลิไวนิลคลอไรด

15.7 พอลิอะคริโลไนไตรล

15.8 Polyethylene Terephthalate (PET)

15.9 โฟมพอลิยูรีเทน

15.10 โฟมพอลิสไตรีน

15.11 พอลิไอโซพรีน

15.12 ไนลอน โอรอน

15.13 เซลลูโลสแอซีเตต

15.14 Orlon

15.15 ดาครอน

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 51

2
หนวยที่ พอลิเมอร

1. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับยางสังเคราะห O-NET 52
1. พอลิบวิ ตาไดอีนเปนโคพอลิเมอรที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอรไรเซชันแบบตอเติม
2. ยางเอสบีอารเปนโคพอลิเมอรที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอรไรเซชันแบบตอเติม
3. ยางเอสบีอารเปนโฮโมพอลิเมอรที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอรไรเซชันแบบควบแนน
4. นีโอพรีนเปนโฮโมพอลิเมอรที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอรไรเซชันแบบควบแนน

2. ขอใดเปนประโยชนของพอลิเมอรสังเคราะห (O-Net 52)


ก.ใชทําอวัยวะเทียม ข.ใชในดานศัลยกรรมตกแตง
ค.ใชเปนสารยึดติด เชน กาว ง.ถูกทุกขอ

3. ขอใดจับคูของมอนอเมอรและพอลิเมอรไดถูกตอง(O-Net 51)
มอนอเมอร พอลิเมอร
1. ไอโซพรีน ยางพารา
2. เอมีน พอลิเอไมด
3. กรดอะมิโน ดีเอ็นเอ
4. แลกโตส กาแลกโตส

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 52
4. พลาสติกชนิดหนึ่งนํามาใชทําสวิตซไฟฟา เปนพลาสติกที่มีความแข็งมาก แตเมื่อถูกความรอน
สูงมากๆ จะเปราะและแตกหักได พลาสติกชนิดนี้นาจะมีโครงสรางแบบใด (O-Net 52)
1. โครงสรางแบบกิ่ง 2. โครงสรางแบบเสน
3. โครงสรางแบบรางแห 4. โครงสรางแบบกิ่งหรือแบบรางแห

5. สารอินทรียชนิดใดตอไปนี้ที่จัดเปนพอลิเมอรที่เกิดจากมอนอเมอรหลายชนิด o-net’53
1. ยางพารา 2. เซลลูโลส
3. ไกลโคเจน 4. กรดนิวคลีอิก

6. การคัดแยกขยะออกเปนประเภทตางๆ จะทําใหสะดวกในการกําจัดถาพบสัญลักษณรีไซเคิล
(Recycle) ที่ถังขยะ ขยะในขอใดควรทิ้งลงฝนถังใบนี้ (O-net 49)
1. พรม เตาเสียบไฟฟา แบตเตอรี่
2. ใบไม กระดาษ เศษผา
3. ถานไฟฉาย เศษแกว กาว
4. ขวดนํ้าพลาสติก กระดาษ แกว

7. พอลิยูเรีย ฟอรมาลดีไฮดเปนพลาสติกเทอรมอเซต ที่เลิกใชงานแลวควรดําเนินการอยางไรจึง


เหมาะสมกับสิ่งแวดลอมที่สุด (ENT-O’54)
ก. นําไปหลอมเพื่อขึ้นรูปใหม ข.นําไปรีไซเคิล (recycle)
ค. นําไปใชซํ้า (reuse) ง.นําไปเผาทําลาย

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 53
8. เพราะเหตุใดพลาสติกเทอรมอเซต เมื่อขึ้นรูปดวยการผานความรอนหรือแรงดันแลวจะไม
สามารถนํากลับมาขึ้นรูปใหมไดอีก (O-net 2550)
1. เพราะพอลิเมอรมีการเชื่อมตอระหวางโซโมเลกุลแบบกิ่ง
2. เพราะพอลิเมอรมีการเชื่อมตอระหวางโซโมเลกุลแบบเสน
3. เพราะพอลิเมอรมีการเชื่อมตอระหวางโซโมเลกุลแบบรางแห
4. เพราะพอลิเมอรมีการเชื่อมตอระหวางโซโมเลกุลแบบกิ่งและแบบเสน

9. ขอใดเปนพอลิเมอรธรรมชาติทั้งหมด (O-net’48)
1.แปง เซลลูโลส พอลิสไตรีน
2. โปรตีน พอลิสไตรีน กรดนิวคลิอิก
3. ยางพารา พอลิเอทิลนี เทฟลอน
4. ไกลโคเจน ไขมัน ซิลิโคน

10. เกณฑใดใชในการแยกพลาสติกออกเปนเทอรมอพลาสติกและพลาติกเทอรมอเซต
(O-net’ 52)
1. ความหนาแนน
2. ความคงทนตอกรด-เบส
3. การละลายในตัวทําละลายอินทรีย
4. การเปลี่ยนแปลงเมื่อไดรับความรอน

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 54

เฉลยขอสอบ O-net บทที่ 2 พอลิเมอร


1. 2 2. 4 3. 1 4. 3 5. 4
6 .4 7. 3 8. 3 9. 2 10. 4

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 3 เซลล 55

32
หนวยที่ เซลล

ความหมายของเซลล
เซลล (cell) มาจากคําวา ในภาษาละติน แปลวา

ดังนั้น เซลล คือ โดยเซลล แ ต ล ะชนิ ด จะมี ร ู ปร า งและขนาด


แตกตางกัน ซึ่งรูปรางของเซลลจะมีเหมาะสมกับหนาที่
ประวั
ประวัตติกิการศึ
ารศึกษาเซลล
กษาเซลล

1. โรเบิรต ฮุก (Robert Hooke)


ใชกลองจุลทรรศนที่ประดิษฐขึ้นตรวจดูชิ้นไมคอรกที่ฝาน
บาง ๆ พบวาชิ้นไมคอรกประกอบดวยชองขนาดเล็กมากมายเขาจึง
ตั้งชื่อแตละชองวาง เรียกวา
ชิ ้ นไม ค อร กเป นเซลล ท ี ่ ตายแล วเหลื ออยู  แ ต ผ นั งเซลล
(cell wall) ที ่ แ ข็ ง แรงประกอบไปด ว ยสารพวก เซลลู โ ลส
และ ซูเบอริน

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 3 เซลล 56

2
2. แอนโทนี แวน ลิวเวนฮุก (Antoni van Leeuwenhoek)
สรางกลองจุลทรรศนชนิดเลนสเดียว ตรวจดูหยดนํ้าจากบึง
และแมนํ้าเห็นสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ นอกจากนั้นเขายังสองดูสิ่งมีชีวิต
ตาง ๆ เชน เม็ดเลือดแดง, อสุจิ นํ้าจากลําคลองและฝน นับเปนผู
คนพบจุลินทรียเปนคนแรกและเปนผูรายงานไปยังราชสมาคมแหง
กรุงลอนดอน จึงไดรับการยกยองวา

3. ทฤษฎีเซลล
ธีออรดอร ชวานน (Theodor Schwan) พ.ศ.2382 และแมทเธียส ชไลเดน (Matthias
Schleiden) นักชีววิทยาชาวเยอรมัน ไดเสนอทฤษฎีของเซลล (Cell theory) มีใจความวา

1)

2)
3)

ประเภทของเซลล

เซลลโพรคาริโอต

1. เซลลโพรคาริโอต
เซลลที่ไมมีเยื่อหุมนิวเคลียส นิวเคลียสประกอบดวยโครโมโซมเพียงเสนเดียว มีลักษณะเปน
วงแหวน สารพันธุกรรมอยูในไซโทพลาสซึม เรียกวา ไมมีออรแกเนลที่มีเยื่อหุม
ไมมีเซนทริโอล ไมมีไมโครทิวบูล แฟลกเจลลา ประกอบดวยโปรตีน มีไรโบโซมขนาด 70s เปน
สิ่งมีชีวิตเซลลเดียวอาจอยูเปนเซลลเดียว หรือ colony มี Asexual Reproduction แบบ Binary
fission
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 3 เซลล 57

2
1.1. ยูแบคทีเรีย (Eubacteria) แบคทีเรียที่อยูในสภาพแวดลอมธรรมดาทั่วไปทั้งในดิน นํ้า
อากาศ อาหาร และในรางกายสิ่งมีชีวิต-อื่น และสามารถพบไดในสิ่งแวดลอมที่คอนขางพิเศษ คือ
สามารถพบไดทั้งใน

1.2. อารเคียแบคทีเรีย (Archaebacteria) แบคทีเรียทีอ่ ยูในสภาพแวดลอมที่เลวรายเปน


พิเศษ เชน เชื่อวามีวิวัฒนาการ
แยกมา เพราะมีเยื่อหุมเซลลที่แปลกออกไป

เซลลยูคาริโอต
เซลลยูคาริโอต คือ เซลลที่มีเยื่อหุมนิวเคลียส สารพันธุกรรมหรือโครโมโซมบรรจุอยูภายในนิวเคลียส
โครงสรางและองคประกอบของเซลล

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 3 เซลล 58

เซลลสัตว

เซลลพืช

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 3 เซลล 59
เซลลมีโครงสรางพื้นฐาน 3 สวนหลัก ๆ ดังนี้

สวนที่หอหุมเซลล

โครงสรางที่หอหุมโพรโตพลาสซึมของเซลลใหคงรูปอยูได และแสดงขอบเขตของเซลล ไดแก

1. ผนังเซลล
พบใน
แตไมพบในเซลลสัตว ผนังเซลลจะลอมรอบ
ผนังเซลล
เยื ่ อ หุ  ม เซลล มี ห น า ที ่ ใ ห ค วามแข็ ง แรง
ปองกันอันตรายและ ชวยใหเซลลคงรูปอยู
ได
ผนังเซลลพืชมี 2 ชั้น ผนังเซลลปฐมภูมิ
(Primary cell wall) พบมากในเซลลพืชที่
กําลังเจริญเติบโต หรือเซลลที่มีชีวิต สวน
ใหญประกอบดวยเซลลูโลส ผนังเซลลทุติย
ภูมิ (Secondary cell wall) เกิดภายหลัง
ผนังเซลลปฐมภูมิ ถาพอกหนาขึ้นจะทําให
เซลลตาย เชน ไฟเบอร และเวสเซล ระหวางเซลลพืชมีชั้นเชื่อมระหวางเซลลเรียกวา Middle
lamella และระหวางเซลลพืชสองเซลลมีชองเล็กเปดสูเซลลที่ติดกัน เรียกวา Plasmodesmata
ผนังเซลลของแบคทีเรียและสาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงิน ประกอบขึ้นจากสารเพปทิโดไกลเคน
ผนังเซลลของเห็ด รา ประกอบดวยไคติน สวนผนังเซลลของไดอะตอม ประกอบดวย ซิลิกา
ในเซลลสัตวไมมีผนังเซลลแตมีสารเคลือบเซลลลอมรอบเยื่อหุมเซลล สวนใหญเปนสารพวก
โปรตีน และคารโบไฮเดรต ไดแก คอลลาเจน อีลาสติน และไกลโคโปรตีน

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 3 เซลล 60
2. เยื่อหุมเซลล
มีคุณสมบัติเปน สวนใหญเปนสารพวกโปรตีนและ
ไขมันหนาที่ของเยื่อหุมเซลล คือ แยกเซลลออกจากสิ่งแวดลอมรอบ ๆ เซลล คัดเลือกสารที่จะผาน
เขา - ออกจากเซลล และเปนสวนสําคัญสําหรับการติดตอระหวางเซลลดวยกัน
เยื่อหุมเซลลมีโครงสรางแบบ ประกอบดวย
- เปนไขมันพวกฟอสโฟลิพิด 2 ชั้น โดยหันสวนที่ไม
ชอบนํ้า (Hydrophobic) ชนกันและหันสวนที่ ชอบนํ้า (Hydrophilic) ออกขางนอก
- ทําหนาที่เพิ่มความแข็งแรงและยืดหยุน
- ทําหนาที่เปนชองทางลําเลียงสารเขาออกเซลล ทําใหเซลล
เกาะติดกัน และเกี่ยวกับรูปรางของเซลล
- ทําหนาที่สื่อสารระหวางเซลล ถาคารโบไฮเดรตจับ
กับโปรตีน เรียกวา หรือถาจับกับไขมันเรียกวา

เยื่อหุมเซลล

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 3 เซลล 61
ไซโทพลาสซึม
ส ว นของโพรโทพลาซึ ม ที ่ อ ยู  น อกนิ ว เคลี ย ส โดยทั ่ ว ไปแบ ง ออกเป น 2 ชั ้ น คื อ Ectoplasm
เป น ส ว นที ่ อ ยู  ด  า นนอกติ ด กั บ เยื ่ อ หุ  ม เซลล มี ล ั ก ษณะบางใส และ Endoplasm เป น ส ว นของ
ไซโทพลาสซึมที่อยูดานในใกลนิวเคลียส และยังแบงตามสถานะไดเปน

1. ไซโทซอล (Cytosol) หมายถึง สวนของของเหลวที่อยูใน Cytoplasm


2. ออรแกเนลล (Organelle) จําแนกตามลักษณะการมีเยื่อหุม ไดดังนี้
2.1 ออรแกเนลลกลุมที่มีเยื่อหุมเซลล 1 ชั้น
1) เอนโดพลาสมิค เรติคูลัม (Endoplasmic Reticulum : ER)
Endoplasmic = ภายในไซโทพลาสซึม/Reticulum = รางแห , โดยกระจายเปนรางแห
อยูในไซโทพลาสซึม และอาจเชื่อมตอกับเยื่อหุมนิวเคลียสหรือเยื่อหุมเซลล แบงเปน
- เอนโดพลาสมิค เรติคูลัม ชนิดขรุขระ (Rough Endoplasmic Reticulum
: RER) มีไรโบโซมเกาะบนเยื่อหุม ER เกี่ยวของกับ โดยโปรตีนที่
สังเคราะหไดถูกสงเขาสูชองลูเมน (Lumen = ชองวางภายในทอ/ถุง ER) และหลุด
ออกเปนถุงเล็ก ๆ (Vesicle) เพื่อสงตอไปยัง Golgi complex
- เอนโดพลาสมิค เรติคูลัม ชนิดเรียบ (Smooth Endoplasmic Reticulum
: SER) ไมมีไรโบโซมเกาะบนเยื่อหุม ER เกี่ยวของกับ
เกี่ยวของกับเมแทบอลิซึมของคารโบไฮเดรต และการ
กําจัดสารพิษ (Detoxification)

เอนโดพลาสมิค เรติคูลัม
และกอลจิคอมเพล็กซ

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 3 เซลล 62
ไซโทพลาสซึม
2) กอลจิ คอมเพล็กซ (Golgi Complex / Golgi body / Golgi apparatus)
พบครั้งแรกโดย นายคามิลโล กอลจิ (Camillo Golgi) มีลักษณะเปนถุงแบบเรียง
ซอนกันเปนชั้น ๆ เรียกแตละถุงวา ซิสเทอรนี มีหนาที่เกี่ยวของกับการหลั่งสาร
(Secretion) ซึ่งเปนสารที่สรางจาก ER และมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อใหเหมาะสม
พรอมทีจะปลอยออกนอกเซลลดวยวิธี Exocytosis
นอกจากนั้น ยังทําหนาที่เปลี่ยนเอนไซมในไลโซโซม (Lysosome) ใหพรอมใชงาน
ทําหนาที่สังเคราะหสารพวกพอลิแซกคาไรด ที่เปนสวนประกอบของผนังเซลลและสาร
เคลือบเซลลสัตว เกี่ยวของกับการสรางเซลลเพลท (Cell plate) ในกระบวนการแบง
ไซโทพลาซึม (Cytokinesis) ของเซลลพืช
3) ไลโซโซม (Lysosome)
ลักษณะเปนถุงมีเยื่อหุมชั้นเดียวขนาด 0.1-1 ไมครอน ภายในบรรจุเอนไซม
ยอยโปรตีน คารโบไฮเดรต ไขมัน กรดนิวคลีอิค (พบเอนไซมประมาณ 60 ชนิด) ทํางานไดดี
ที่สภาพเปนกรด (pH ประมาณ 5) ทําหนาที่ยอยสารประกอบภายในเซลล อาหาร เชื้อโรคที่
เขาสูเซลล ออรแกเนลลที่อายุมาก (Autophagy) และยอยเซลลตัวเอง (Autolysis)
ซึ่งพบในชวงที่มีการเจริญ เชน การสรางนิ้วมือ นิ้วเทา ถารางกายขาดเอนไซมของไลโซโซม
จะทําใหเกิดโรคพอมพี (Pompe’ disease) คือขาดเอนไซมยอยไกลโคเจน จึงทําใหสะสมที่
ตับและกลามเนื้อมากเกินไป
4) เพอรอกซิโซม (Peroxisome)
เปนถุงกลม รูปไข มีเยื่อหุมชั้นเดียว ภายในบรรจุเอนไซมที่เกี่ยวของกับเมแทบอลิ-
ซึม เชน Oxidase, Catalase ชวยสลาย H2O2 ซึ่งเปนพิษ ใหกลายเปน H2O + O2 พบใน
เซลลพืช ตับและไต เกี่ยวของกับเมแทบอลิซึมของไนโตรเจน ไขมัน พีวรีน เพอรอกซิโซม
สามารถเพิ่มจํานวนไดคลายไมโตคอนเดรีย โดยมีการสรางโปรตีนและไขมันที่สําคัญของ
เพอรอกซิโซมที่ไซโทซอลกอน และสารเหลานี้จะถูกสงไปยังเพอรอกซิโซมกันเกา เมื่อเพอ-
รอกซิโซมกันเกาโตเต็มที่ก็จะแบงจากหนึ่งเปนสอง

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 3 เซลล 63
ไซโทพลาสซึม
5) แวคิวโอล (Vacuole)
มีลักษณะเปนถุง เยื่อหุมชั้นเดียว เรียกวาเยื่อหุมวา โทโนพลาสต (Tonoplast)
ของเหลวในถุงเรียกวา แวคิวโอลเกิดจากการหลุดขาดของ ER หรือ
Golgi Complex มีหนาที่หลากหลายโดยถามีอาหารสะสมอยูเรียกวา
ถาทําหนาที่ในการรักษาสมดุลนํ้า (พบในโปรทิสนํ้าจืด) เรียกวา
ในพืชมีแวคิวโอลขนาดใหญเกือบเต็มเซลล เรียกวา Central vacuole มีหนาที่สะสมสาร
ตาง ๆ
2.2 ออรแกเนลลกลุมที่มีเยื่อหุมเซลล 2 ชั้น
1) ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria)
มีเยื่อหุม 2 ชั้น โดยเยื่อหุมชั้นในยื่นเขาไป (เรียกวา Cristae) ในชองวางภายใน
ไมโทคอนเดรียซึ่งมีของเหลวอยู (เรียกวา Matrix) ซึ่งบรรจุเอนไซมสําหรับการหายใจระดับ-
เซลล, Ribosome (ขนาด 70s), DNA, RNA จึงสามารถสังเคราะหโปรตีนและจําลองตัวเอง
โดยไมตองอาศัยนิวเคลียส (Semiautonomous organelle) ไมโทคอนเดรียทําหนาที่สราง
2) พลาสติด (Plastids)
- คลอโรพลาสต (Chloroplast) พลาสติดสี มีรงควัตถุ (Pigment) ซึ่งสามารถจับ
พลังงานแสงและเปลี่ยนเปนพลังงานเคมีได ทําหนาที่ในกระบวนการ
เยื ้ อ หุ  ม ด า นในยื ่ น พั บ ไปมาซ อ นกั น เรี ย กทั ้ ง หมดว า Thylakoid
membrane ซึ่งบนเยื่อหุม Thylakoid จะมีสารสี/รงควัตถุ (Pigment) โดยเยื่อหุมนี้ซอน
เปนชั้นคลายเหรียญ เรียกวา Granum แตละชั้นเชื่อมดวย Stroma ซึ่งบรรจุเอนไซม
สําหรับสังเคราะหดวยแสง, RNA, DNA และ Ribosome (70s) จําลองตัวเองไดเชนเดียวกับ
ไมโทคอนเดรีย

คลอโรพลาสต

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 3 เซลล 64
ไซโทพลาสซึม
- โครโมพลาสต (Chromoplast) เปนพลาสติดสีอื่น ๆ เชน สีแดงในพริก
- ลิวโคพลาสต (Leucoplast) เปนพลาสติดที่ ไมมีการสะสมรงควัตถุ ทํา
หนาที่เก็บแปงที่ไดจากกระบวนการสังเคราะหดวยแสง พบในเซลลในสวนที่ใชสะสมอาหาร
เชน มันฝรั่ง มันเทศ

คลอโรพลาสต โครโมพลาสต
2.3 ออรแกเนลลกลุมที่ไมมีเยื่อหุม
1) ไรโบโซม (Ribosome)
ทําหนาที่สังเคราะหโปรตีน ประกอบดวยหนวยยอย (Subunit) สองหนวย แตละ
หนวยยอยมีชนิดของ RNA ไรโบโซมกับโปรตีนที่แตกตางกัน พบบริเวณเยื่อหุมนิวเคลียส
(Nuclear membrane) บน RER (สรางโปรตีนสงออกนอกเซลล ) อยูใน Cytosol (สราง
โปรตีนใชในเซลล) ในไมโทรคอนเดรีย และคลอโรพลาสต (สรางโปรตีนใชเองในไมโทรคอน-
เดรียและคลอโรพลาสต ตามลําดับ) ใน Prokaryotic cell ไรโบโซมมีขนาด 70s หนวยยอย
ใหญขนาด 50s และหนวยยอยเล็ก ขนาด 30s ใน Eukaryotic cell ไรโบโซมมีขนาด 80s
หนวยยอยใหญขนาด 60sและหนวยยอยเล็กขนาด 40s
**S = Svedberg unit of sedimentation coefficient ซึ่งเปนคาความเร็วในการตกตะกอน

ไรโบโซม

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 3 เซลล 65
ไซโทพลาสซึม
2) ไซโทสเกเลตอน (Cytoskeleton)
เสนใยโปรตีนซึ่งมีบทบาทสําคัญในการทําใหเกิดรูปรางเซลล การเคลื่อนที่ทั้งของ
เซลลและออรแกเนลภายในเซลล การแบงเซลล มี 3 ชนิด โดยแตละชนิดมีขนาดและโปรตีน
ที่เปนสวนประกอบตางกัน
- ไมโครทิวบูล (Microtubule) เกิดจากโปรตีน Tubulin มีลักษณะเปนทอกลวง
พบในไซโทซอล (Cytosol) ใตเยื่อหุมเซลล เปนสวนประกอบของ

- อินเทอรมีเดียทฟลาเมนต (Intermediate filament) เกิดจากโปรตีนหลาย


ชนิดขึ้นอยูกับหนาที่ เชน โปรตีน Keratin พบใน เปนตน
Tonofilament เกิดจากโปรตีน Cytokeratin ทําหนาที่ตอตานตอแรงกด พบที่เยื่อบุผวิ
- ไมโครฟลาเมนท (Microfilament) เกิดจากโปรตีนแอคติน (Actin) เกี่ยวของกับ
รูปรางเซลล การหดตัวของกลามเนื้อ โดยทํางานรวมกับโปรตีน Myosin การไหลของไซ-
โทพลาสซึม (Cyclosis) การยื่นเทาเทียม (Pseudopodium) การแบงไซโทพลาซึมของสัตว
(Cytokinesis)

ไซโทสเกเลตอน

3) เซนทริโอล (Centriole)
ประกอบดวยไมโครทิวบูล (Microtubule) อยูกันเปนกลุม กลุมละ 3 อัน (Triplet)
จํานวน 9 กลุม (9 triplets) เซนทริโอล สองอันวางตั้งฉากกัน เรียกวา เซนโทรโซม
(Centrosome) ทําหนาที่สรางเสนใยสปนเดิล (Spindle fiber) เพื่อยึดและดึงโครโมโซม
พบในเซลลสัตว โปรโตซัว ราบางชนิด แตไมพบในพืชขั้นสูง (Higher plant) พวกไมดอก
พืชเมล็ดเปลือย และฟงไจสวนใหญ
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 3 เซลล 66

เซนโทรโซม
นิวเคลียส

เปนสวนที่มีสารพันธุกรรมอยู มีหนาที่ควบคุมลักษณะของสิ่งมีชีวิตและเมแทบอลิซึมที่เกิดขึ้นภายใน
เซลล รวมถึงควบคุมการสังเคราะหโปรตีน บรรจุสารพันธุกรรม และเกี่ยวของกับการถายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรม และการแสดงออกของยีน นิวเคลียสประกอบดวยสวนตาง ๆ ดังนี้
1) เยื่อหุมนิวเคลียส (Nuclear membrane/Nuclear envelope) มีลักษณะเปนเยื่อหุม
สองชั้น ที่เยื่อหุมมีชอง Nuclear pore กระจายอยูรอบนิวเคลียส และมีไรโบโซมเกาะอยูรอบนอก
2) สารพันธุกรรม คือ DNA ซึ่งจับอยูกับโปรตีน ขดกลายเปนเสนไยโครมาทิน (Chromatin)
และจะขดสั้น พรอมทั้งเปนแทงโครโมโซมเมื่อเกิดการแบงเซลล
3) นิวคลีโอลัส (Nucleolus) เปนกอนอยูในนิวเคลียส สารที่พบในนิวคลีโอลัส คือ RNA
ไรโบโซมกับโปรตีน มีหนาที่สังเคราะหไรโบโซม ขณะแบงเซลลจะสลายไป และสรางขึ้นใหมเมื่อแบงเซลล
เสร็จ
4) นิวคลีโอพลาสซึม (Nucleoplasm) คือบริเวณที่เหลือภายในนิวเคลียส มีสารพวก
เอนไซมที่ใชสังเคราะห RNA DNA และ Coenzyme

นิวเคลียส

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 3 เซลล 67

กลองจุลทรรศน

ประเภทกลองจุลทรรศน

ในปจจุบันกลองจุลทรรศนมีหลายชนิด แบงออกเปนประเภทใหญๆ ไดสอง 2 ประเภท คือ

1. กลองจุลทรรศนแบบใชแสง
1.1 กล อ งจุ ล ทรรศน ใ ช แ สงแบบธรรมดา เป น กล อ ง
จุ ล ทรรศน ท ี ่ ใ ช ศ ึ ก ษาวั ต ถุ โ ปร ง แสงทั ่ ว ไป ทั ้ ง ในสภาพมี
หรือไมมีชีวิต เชน ออรแกเนลลขนาดใหญ เซลลสาหราย
เซลลแบคทีเรีย โพรโทซัว พารามีเซียม เนื้อเยื่อพืชและสัตว
เปนตน ซึ่งเวลาจะนําตัวอยางมาศึกษาจะตองมีการเตรียม
ตัวอยางแบบเปยกและยอมสี โดยเวลาสองดูจะเห็นพื้น
หลั ง เป น สี ข าว และจะเห็ น วั ต ถุ ท ี ่ ม ี ส ี เ ข ม กว า ซึ ่ ง กล อ ง
ชนิดนี้ขยายภาพไดสูงสุดประมาณ 1,500 เทา และจะ
ไดภาพ

ตัวอยางภาพที่ไดจากการใชกลองจุลทรรศนใชแสงแบบธรรมดา

ภาพเสมือนหัวกลับ
เสมือน = กลับซาย - ขวา
หัวกลับ = กลับบน - ลาง

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 3 เซลล 68
1.2 กลองจุลทรรศนใชแสงแบบสเตอริโอ เปนกลอง
จุ ล ทรรศน ท ี ่ ใ ช ศ ึ ก ษาวั ต ถุ ท ั ้ ง โปร ง แสงและทึ บ แสง
เชน
เป นต น
ซึ่งขอดีของกลองชนิดนี้คือไมตองเสียเวลาในการเตรียม
ตัวอยาง ซึ่งกลองชนิดนี้ขยายภาพไดสูงสุดประมาณ
200 เทา และจะไดภาพ

ตัวอยางภาพที่ไดจากการใชกลองจุลทรรศนใชแสงแบบสเตอริโอ
2. กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน เปนกลองจุลทรรศนที่ลําอิเล็กตรอนในการทํางานแทนแสงสวาง
ธรรมดา มีความสามารถในการแจกแจงรายละเอียดไดมากกวากลองจุลทรรศนแบบใชแสงประมาณ 1,000
เทา มี 2 ชนิด คือ

2.1 กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบสองกราด (SEM)


ใชการยิงลําแสงอิเล็กตรอนตกบนตัวอยางที่เคลือบผิวดวย
สารโลหะหนักบาง ๆ เชน ทองคํา แลวถูกสะทอนไปยัง
จอรั บ ภาพทํ า ให พ ื ้ น ผิ ว ของตั ว อย า งนั ้ น เป น ภาพ 3 มิ ติ
และมีความสามารถในการขยายภาพไดมากกวา 200,000
เทา ภาพจาก SEM จะคมชัดนอยกวาภาพจาก TEM แตจะ
เห็ น ภาพของผิ ว วั ต ถุ ท ี ่ ม ี ค วามลึ ก และลั ก ษณะรู ป แบบ
3 มิติ

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 3 เซลล 69

ตัวอยางภาพที่ไดจากการใชกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบสองกราด

2.2 กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบสองผาน (TEM) ใชการ


ยิงลําแสงอิเล็กตรอนผานตัวอยางบาง ๆ ที่ยอมดวยสีพิเศษ โดย
มีระบบเลนสตาง ๆ เปนสนามแมเหล็กไฟฟา ภาพที่เห็นจะเปน
ภาพ 2 มิติ และมีความสามารถในการขยายภาพไดมากกวา
1 ลานเทา ซึ่งทําใหนักชีววิทยามีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับ
โครงสรางและการทํางานของโครงสรางของเซลลมากยิ่งขึ้น

ตัวอยางภาพที่ไดจากการใชกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบสองผาน

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 3 เซลล 70

สวนประกอบของกลองจุลทรรศน

สวนที่เปนตัวกลอง

1) เปนสวนที่ปลายดานบนมีเลนสตา สวนปลายดานลางติดกับ
เลนสวัตถุ ซึ่งติดกับแผนหมุนได เพื่อเปลี่ยนเลนสขนาดตาง ๆ ติดอยูกับจานหมุน
2) เปนแทนใชวางแผนสไลดที่ตองการศึกษา
3) ใชหนีบสไลดใหติดอยูกับแทนวางวัตถุ
4) เปนสวนเชื่อมตัวลํากลองกับฐาน ใชเปนที่จับเวลาเคลื่อนยาย
กลองจุลทรรศน
5) เปนสวนที่ใชวางบนโตะ ทําหนาที่รับนํ้าหนักทั้งหมดของกลอง
จุลทรรศน มีรูปรางสี่เหลี่ยม หรือวงกลม ที่ฐานจะมีปุมสําหรับปดเปดไฟฟา

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 3 เซลล 71

สวนที่ทําหนาที่รับแสง

6) แหลงกําเนิดแสง (Light source) เปนหลอดไฟฟาใหแสงสวางติดอยูที่ฐานกลอง มีสวิทชปด-เปด


และมีมาตรวัดปรับปริมาณแสงสวาง
7) เลนสรวมแสง (Condenser) ทําหนาที่รวมแสงใหเขมขึ้นเพื่อสงไปยังวัตถุที่ตองการศึกษา
8) ไอริสไดอะแฟรม/มานปรับแสง (Iris diaphragm) อยูใตเลนสรวมแสงทําหนาที่ปรับปริมาณแสงให
เขาสูเลนสในปริมาณที่ตองการ

สวนที่ทําหนาที่ปรับภาพ
9) ทําหนาที่ปรับภาพโดยเปลี่ยนระยะโฟกัสของเลนส
ใกลวัตถุ (เลื่อนลํากลองหรือแทนวางวัตถุขึ้นลง) เพื่อทําใหเห็นภาพชัดเจน
10) ทําหนาที่ปรับภาพ ทําใหไดภาพที่ชัดเจนมากขึ้น
11) ทําหนาที่เลื่อนตําแหนงของสไลด

สวนที่ทําหนาที่ขยายภาพ

12) เปนเลนสที่อยูใกลกับแผนสไลด หรือวัตถุ ปกติติดกับ


แปนวงกลมซึ่งมีประมาณ 3 - 4 อัน แตละอันมีกําลังขยายบอกเอาไว เชน x4, x10, x40 และ x100
เปนตน ภาพที่เกิดจากเลนสใกลวัตถุเปนภาพจริงหัวกลับ
13) เป น เลนส ท ี ่ อ ยู  บ นสุ ด ของลํ า กล อ ง โดยทั ่ ว ไปมี
กําลังขยาย 10x หรือ 15x ทําหนาที่ขยายภาพที่ไดจากเลนสใกลวัตถุใหมีขนาดใหญขึ้น ทําใหเกิดภาพที่ตา
ผูศึกษาสามารถมองเห็นได โดยภาพที่ไดเปนภาพเสมือนหัวกลับ

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 3 เซลล 72

การใชงานและเก็บรักษากลองจุลทรรศน
1) ตรวจสอบความสะอาดเลนสกอนใชงานกลองจุลทรรศนทุกครั้ง
2) เปดสวิทชไฟที่ฐานกลอง ปรับสเกลใหปริมาณแสงสวางพอเหมาะ
ประมาณเลข 6 หรือ 7
3) เลื่อนเลนสใกลวัตถุกําลังขยาย 4 เทาใหตรงกับวัตถุ และหมุนวง
ลอปรับภาพหยาบ ใหแทนวางวัตถุอยูในตําแหนงตํ่าที่สุด
4) ปรับไอริสไดอะแฟรมใหกวางที่สุด แลวปรับใหแคบลงเล็กนอยเพื่อ
ลดปริมาณแสง วีดิทัศนการใชกลองจุลทรรศน
5) ปรับเลนสใกลตาทั้งสองใหเหมาะกับระยะหางระหวางตาของผูใช ถามองเห็นภาพในกลองเปน
ภาพกวางและเห็นเปนภาพเดียว ไมมีภาพซอนและสบายตา แสดงวาปรับระยะหางของเลนสใกลตาทัง้
สองขางไดระยะเหมาะสม และตองปรับโฟกัสเลนสใกลตาทั้งสองขางใหเหมาะกับสายตาแตละขางของ
ผูใชกลอง
6) วางสไลดบนแทนวางวัตถุโดยใชคลิปเกาะสไลด แลวเลื่อนใหวัตถุอยูกึ่งกลางชองแสงที่ผานขึ้นมา
จากเลนสรวมแสง
7) ปรับระยะทํางานของกลองจุลทรรศนจนไดภาพชัด
8) ถาตองการใหภาพมีขนาดใหญขนึ้ พยายามเลื่อนภาพที่ตอการใหอยูกึ่งกลางของวงภาพในกลอง
แลวเปลี่ยนกําลังขยายของเลนสใกลวัตถุกําลังขยาย ×10 มาแทนที่ จะมองเห็นภาพ ถายังไมชัดเจน
สามารถปรับใหชัดเจนโดยหมุนวงลอปรับภาพหยาบเล็กนอย แลวปรับดวยวงลอปรับภาพละเอียดจนได
ภาพคมชัด ถาตองการขยายภาพใหใหญขนึ้ อีก ตองเลื่อนภาพที่ตองการดูรายละเอียดใหอยูก ึ่งกลางกลอง
แลวเลื่อนเลนสใกลวัตถุกําลังขยาย ×40 มาแทนที่ จะเห็นภาพที่ตองการ แลวปรับใหชัดขึ้นดวยวงลอปรับ
ภาพละเอียดเพียงเล็กนอย จะไดภาพคมชัด หากแสงสวางไมพอ อาจเพิ่มแสงสวางไดโดยเปด ไอริส
ไดอะแฟรมใหกวางขึ้นอีกเล็กนอย
9) เมื่อศึกษาเสร็จแลว กอนนําสไลดออก ตองเปลี่ยนเลนสใกลวัตถุใหเปนเลนสที่มีกําลังขยายตํ่าสุด
กอนจึงนําแผนสไลดออกจากแทนวางวัตถุ เปลี่ยนสเกลปริมาณแสงสวางใหเปนเลข 0 แลวปดสวิทชไฟที่
ฐานกลอง ปรับแทนวางวัตถุลงตํ่าสุด ตรวจดูความสะอาดของกลองกอนนําเก็บเขากลอง หรือคลุมดวยถุง
คลุมกลองเพื่อปองกันฝุนละออง

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 3 เซลล 73

การคํานวณเกี่ยวกับกลองจุลทรรศน

สูตรการคํานวณที่สําคัญ

1) กําลังขยาย =
2) ขนาดวัตถุ =

หนวยที่ใชวัดขนาดของเซลลในการวัดขนาดของเซลล

1 cm = 0.01 = 10-2 m
1 mm = 0.001 = 10-3 m
1 µm = 0.000001 = 10-6 m
1 nm = 0.000000001 = 10-9 m

การเปลี่ยนหนวย

หลักการการเปลี่ยนหนวย : หนวยเดิม ÷ หนวยที่ตองการเปลี่ยน


ตัวอยางเชน ตองการเปลี่ยนจาก 80 µm เปน mm จะไดวา

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 3 เซลล 74

ตัวอยางการคํานวณ
จงบอกขนาดจริงของสาหรายเซลลเดียวที่วัดภายใตกลองจุลทรรศนแบบใชแสงได 100 µm โดยใช
เลนสใกลตาขนาด 10X และเลนสใกลวัตถุขนาด 10X
วิธีทํา: จากโจทยจะได
กําลังขยายของเลนสใกลตา =
กําลังขยายของเลนสใกลวัตถุ =
ขนาดภาพ = =
จากสูตรที่ 1) จะได กําลังขยาย =
=
จากสูตรที่ 2) จะได ขนาดวัตถุ =

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน แบบฝกหัด 75

เซลล
1. ใหนักเรียนตอบคําตอบลงในชองวางใหถูกตอง

โครงสรางพื้นฐาน
ลักษณะและหนาที่
ของเซลล
1.
2.
3.
4.
5.

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน แบบฝกหัด 76

เซลล
2. เซลล คือ

3. บอกชื่อพรอมทั้งอธิบายลักษณะและหนาที่ของออรแกเนลลตอไปนี้
ชื่อ……………………………………………………………………………….
ลักษณะ
............................................................................................
…………………………………………………………………………………..
หนาที่
............................................................................................
…………………………………………………………………………………..

ชื่อ……………………………………………………………………………….
ลักษณะ
............................................................................................
…………………………………………………………………………………..
หนาที่
............................................................................................
…………………………………………………………………………………..

ชื่อ……………………………………………………………………………….
ลักษณะ
............................................................................................
…………………………………………………………………………………..
หนาที่
............................................................................................
…………………………………………………………………………………..

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน แบบฝกหัด 77

ชื่อ……………………………………………………………………………….
ลักษณะ
............................................................................................
…………………………………………………………………………………..
หนาที่
............................................................................................
…………………………………………………………………………………..

ชื่อ……………………………………………………………………………….
ลักษณะ
............................................................................................
…………………………………………………………………………………..
หนาที่
............................................................................................
…………………………………………………………………………………..

ชื่อ……………………………………………………………………………….
ลักษณะ
............................................................................................
…………………………………………………………………………………..
หนาที่
............................................................................................
…………………………………………………………………………………..

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน แบบฝกหัด 78
ชื่อ………………………………………………………………………………..
ลักษณะ
.............................................................................................
…………………………………………………………………………………...
แบงออกเปน 4 ประเภท
1………………………….………พบ……………………………….…………
หน้าที่…………………………………………………...………………………
2………………………….………พบ……………………………….…………
หน้าที่…………………………………………………...………………………
3………………………….………พบ…………………….………………….
หน้าที่…………………………………………………...………………………
4………………………….………พบ……………………………….…………
หน้าที่…………………………………………………...………………………

4.หลักสําคัญของทฤษฎีเซลล ประกอบดวยอะไรบาง

5.นักเรียนสามารถเปรียบเทียบโครงสรางของเซลลพืชและเซลลสัตวไดอยางไร

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน แบบฝกหัด 79

กลองจุลทรรศน

ใหนักเรียนตอบคําตอบลงในชองวางใหถูกตอง
1. กลองจุลทรรศน คือ

2. กลองจุลทรรศนแบงออกเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ


2.1
ไดลักษณะภาพเปนแบบ
2.2
ไดลักษณะภาพเปนแบบ
3. ถาภาพในกลองจุลทรรศนเห็นไมชัดเจนควรทําอยางไร

4. การถือกลองที่ถูกวิธีคือ

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน แบบฝกหัด 80
5. ใหนักเรียนเขียนเลขกํากับ บอกสวนประกอบและหนาที่ของกลองจุลทรรศนใหถูกตอง

หมายเลข 1 คือ.............................................หนาที.่ ...................................................................................


หมายเลข 2 คือ.............................................หนาที.่ ...................................................................................
หมายเลข 3 คือ.............................................หนาที.่ ...................................................................................
หมายเลข 4 คือ.............................................หนาที.่ ...................................................................................
หมายเลข 5 คือ.............................................หนาที.่ ...................................................................................
หมายเลข 6 คือ.............................................หนาที.่ ...................................................................................
หมายเลข 7 คือ.............................................หนาที.่ ...................................................................................
หมายเลข 8 คือ.............................................หนาที.่ ...................................................................................
หมายเลข 9 คือ.............................................หนาที.่ ...................................................................................
หมายเลข 10 คือ...........................................หนาที.่ ...................................................................................
หมายเลข 11 คือ...........................................หนาที.่ ...................................................................................
หมายเลข 12 คือ...........................................หนาที.่ ...................................................................................
หมายเลข 13 คือ...........................................หนาที.่ ...................................................................................
หมายเลข 14 คือ...........................................หนาที.่ ...................................................................................
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน แบบฝกหัด 81
6. ใหนักเรียนแสดงวิธีทําในการคํานวน เรื่อง กลองจุลทรรศน
6.1 กลองจุลทรรศนมีกําลังขยาย 2000 เทาสามารถมองเห็นเซลลยาว 100 mm ขนาดจริงของเซลล
เทาใด (ตอบเปนหนวยไมโครเมตร)

6.2 กลองจุลทรรศนที่มีเลนสใกลตา 40X และเลนสใกลวัตถุ 100X สองเม็ดเลือดแดง 2 เม็ดเรียง


ติดกันวัดความยาวได 20 mm เซลลเม็ดเลือดแดงแตละเซลลจะมีขนาดกี่ไมโครเมตร

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 82

32
หนวยที่

1. จากการตรวจเซลล 4 ชนิด พบสวนประกอบดังนี้


เซลล

เซลล ผนังเซลล นิวเคลียส คลอโรพลาสต


ก.  - -
ข.   
ค.   -
ง. -  -

ขอใดเปนเซลลที่มาจากพืช
1. ก และ ข 2. ข และ ค 3. ค และ ง 4. ข และ ง

2. เซลลของตอมไรทอ ทําหนาที่สังเคราะหฮอรโมนสําหรับสงไปยังสวนตางๆ ของรางกาย จะมี


ออรแกเนลลใดมาก
1. แวคิลโอล 2. ไลโซโซม
3. ไมโทคอรเดรีย 4. รางแหเอนโดพลาสซึม

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 83
3. สวนประกอบใดพบทั้งในเซลลพืชและสัตว
1. นิวเคลียส 2. ผนังเซลล
3. คลอโรพลาสต 4. คลอโรฟลล

4. ใหพิจารณาลักษณะเซลลสิ่งมีชีวิต 4 ชนิด แลวตอบคําถาม

ภาพใดเปนเซลลสัตว
1. A และ B 2. B และ C
3. C และ D 4. B และ D

5. เราจะไมพบนิวเคลียสจากเซลลชนิดไหน
1. เซลลประสาท 2. เซลลกลามเนื้อ
3. เซลลเม็ดเลือดแดงของแมว 4. เซลลอสุจิ

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 84
6. ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางโครงสรางและหนาที่อยางไมถูกตอง
1. ไรโบโซม - แหลงสังเคราะหโปรตีน
2. เซนทริโอล - การเคลื่อนที่ของโครโมโซม
3. นิวคลีโอลัส - แหลงสังเคราะห DNA
4. รางแหเอนโดพลาซึมที่ไมมไี รโบโซมเกาะที่ผิวสังเคราะหไขมันบางชนิด

7. อวัยวะในเซลลชนิดใดไมมีเยื่อหุมลอมรอบ
1. ไมโตคอนเดรียและไรโบโซม
2. คลอโรพลาสตและกอลจิแอพพาราตัส
3. ผนังเซลลและไรโบโซม
4. แวคิวโอและไมโครบอดี
5. ไมโครทิวบูลสและไมโครบอดี

8. ไมมีขบวน selective permeable ใน organelle ใด


1. mitochondria 2. endoplasmic reticulum
3. vacuole 4. ribosome

9. เซลลชนิดใดมีผนังเซลล
1. สาหรายยูกลีนา 2 plasmodium
3. แบคทีเรีย 4. paramecium

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 85
10. สวนใดเปนที่เก็บสะสมสารสีที่ไมละลายนํ้า
1. แวคิวโอ 2. คลอโรพลาสต
3. อะไมโลพลาสต 4. อีธิโอพลาสต
5. ถูกทุกขอ

11. เลนสตาเขียนวา 10X และที่เลนสวัตถุเขียนวา 40X แสดงวามีกําลังขยายเทากับเทาไร


1. 400 เทา 2. 800 เทา 3. 40 เทา 4. 80 เทา

12. ถาภาพในกลองจุลทรรศนเห็นไมชัดเจนควรทําอยางไร
1. หมันปุมปรับภาพละเอียด
2. หมุนปุมปรับภาพหยาบ
3. เลื่อนสไลดไปมา
4. หมุนกระจกเพื่อใหแสงเขา

13. กลองจุลทรรศนมีกําลังขยาย 2000 เทาสามารถมองเห็นเซลลยาว 100 ไมครอน ขนาดจริง


ของเซลลเปนเทาใด
1. 0.5 นาโนเมตร
2. 5 นาโนเมตร
3. 50 นาโนเมตร
4. 0.5 ไมโครเมตร

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 86
14. กลองจุลทรรศนมีกําลังขยายมากหรือนอยขึ้นอยูกับคุณภาพของโครงสรางใด
1. เลนสใกลวัตถุ 2. เลนสใกลตา
3. เลนสคอนเดนเซอร 4. ทั้ง 1 และ 2

15. กลองจุลทรรศนที่เลนสใกลตา และเลนสใกลวัตถุมีกําลังขยายเปน 10 และ 40 เทา


ตามลําดับ เมื่อใชสองดูเซลลพืชจะเห็นใหญขึ้นเปนกี่เทาของเซลลเดิม
1. 4 เทา 2. 30 เทา
3. 50 เทา 4. 400 เทา

16. ใชกลองจุลทรรศนสองดูจุลินทรียชนิดหนึ่ง โดยใชเลนสใกลตาที่มีก าลังขยาย 15× และเลนส


ใกลวัตถุที่มีกาํ ลังขยาย 100× สามารถมองเห็นจุลินทรียขนาดยาว 90 µm ขนาดจริงของจุลินทรีย
เปนเทาใด(ใชหนวยเปนนาโนเมตร)
1. 70 nm 2. 60 nm
3. 50 nm 4. 40 nm.

17. กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนมีขอไดเปรียบกลองจุลทรรศนแบบใชแสงอยางไร
1. ศึกษาเซลลขณะที่มีชีวิต
2. มองเห็นวัตถุตัวอยางเปนภาพสี
3. มีกําลังขยายนอยกวา
4. มีกําลังขยายมากกวา

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 87
18. เมื่อดูจุลินทรียดวยกลองจุลทรรศน โดยใชเลนสใกลตาที่มีกําลังขยาย 30 เทา และเลนสใกล
วัตถุที่มีกําลังขยาย 80 เทาเราจะมองเห็นภาพจุลินทรียขนาด 240 มิลลิไมครอน แสดงวาจุลินทรีย
มีขนาดเทาใด
1. 0.1 มิลลิไมครอน 2. 1 มิลลิไมครอน
3. 10.0 มิลลิไมครอน 4. 11 มิลลิไมครอน

19. จากขอ 18 จะมองเห็นจุลินทรียมีกําลังขยายจากเดิมกี่เทา


1. 2,400 เทา 2. 24 เทา
3. 240 เทา 4. 120 เทา

20. ขอใดกลาวถูกตอง เกี่ยวกับกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน


1. ใชเลนสไฟฟาสถิตและแมเหล็กไฟฟา
2. กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนจึงมีกําลังขยายสูงกวากลองจุลทรรศนแบบใชแสง
3. สามารถเปดเผยใหเห็นโครงสรางของวัตถุที่มีขนาดเล็กมาก ๆ ได
4. ถูกทุกขอ

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 88

เฉลยขอสอบ O-net บทที่ 3 เซลล

1. 2 2. 4 3. 1 4. 4 5. 3. 6. 3
7. 5 8. 4 9. 4 10. 2 11. 1 12. 1
13. 3 14. 4 15. 4 16. 2 17. 4 18. 1
19. 1 20. 4

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 4 การลําเลียงสารผานเซลล 89

4
หนวยที่ การลําเลียงสารผานเซลล

การลําเลียงสารผานเซลล

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 4 การลําเลียงสารผานเซลล 90
การลําเลียงสารแบบผานเยื่อหุมเซลล
การลําเลียงแบบไมใชพลังงาน
(Passive Transport)
คื อ การเคลื ่ อ นที ่ ข องโมเลกุ ล ของสารจากบริ เ วณที ่ ม ี_______________ไปยัง บริ เวณที่
มี______________________ ไดแก
1) การแพรแบบธรรมดา (Simple Diffusion)
เปนการเคลื่อนที่ของโมเลกุลสารจากบริเวณที่มีความหนาแนนของสารสูงไปบริเวณที่มี
ความหนาแนนของสารตํ่า โดยอาศัยพลังงานจลนของสารเอง _________________ เชน
- ______________________________________________
- ______________________________________________
- ______________________________________________
โดยปจจัยที่มีผลตอการแพร คือ
- ความเขมขนของสาร ถาความเขมขนของสารระหวางสองบริเวณมีคาตางกันมาก
การแพรจะเกิดขึ้น______
- อุณหภูมิสูง ถาอุณหภูมิสูงการแพรของสารจะเปนไปอยาง_________ เพราะอนุภาค
ของสารมีพลังงานจลนสูง
- อนุภาคของสาร สารที่มีขนาดอนุภาคเล็กและมีนํ้าหนักเบาจะแพรได____________
สารที่มีขนาดใหญและมีนํ้าหนักมาก
- ความสามารถในการละลายของสาร ถาสารที่แพรสามารถละลายไดดีจะมีอัตราการ
แพร________

ภาพเปรียบเทียบการลําเลียงสารแบบไมใชพลังงาน
(a. การแพรธรรมดา b.,c.การแพรแบบฟาซิลิเทต d. ออสโมซิส)

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 4 การลําเลียงสารผานเซลล 91
2) การแพร แ บบฟาซิ ล ิ เ ทต (Facilitated Diffusion) เป น การแพร ข องสารผ า น
โปรตีนตัวพาที่ฝงอยูบริเวณเยื่อหุมเซลลโดยตรง มี_______________________ จะทําหนาที่
คล า ยประตู เ พื ่ อ รั บ โมเลกุ ล ของสารเข า และออกจากเซลล การแพร แ บบนี ้ ม ี อ ั ต ราการ
แพร________________การแพรแบบธรรมดามาก
3) การออสโมซิส (Osmosis) คือ การแพรของ_______จากบริเวณที่มีความหนาแนน
นํ้า ______________________ไปยังบริเวณที่มีความหนาแนนของนํ้า ________________
ผานเยื่อเลือกผาน สารละลายที่มีความเขมขนตางกันจะมีผลตอเซลลแตกตางกันดวย

สามารถแบงประเภทของสารละลายโดยอาศัยการเปลี่ยนขนาดของเซลล เมื่ออยูภายใน
สารละลายนั้น ไดดังนี้
- สารละลายไฮโพโทนิก (Hypotonic solution) คือ สารละลายที่มีความเขมขนตํ่า
(มีนํ้ามาก) เมื่อนําเซลลมาแชในสารละลายไฮโพโทนิก นํ้าจากสารละลายจะ______เซลล
สงผลใหเกิดการ______________
- สารละลายไฮเพอรโทนิก (Hypertonic solution) คือ สารละลายที่มีความเขมขน
สูง(นํ้านอย) เมื่อนําเซลลมาแชในสารละลายไฮเพอรโทนิก นํ้าจากเซลลจะ_______________
มายังสารละลายจนทําให________________
- สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution) สารละลายที่มีความเขมขนระหวาง
ภายในเซลลและภายนอกเซลลเทากัน เมื่อนําเซลลมาแชในสารละลายไอโซโทนิก จะทําให
เซลล________________ เนื่องจากนํ้ามีการออสโมซิสเขาและออกในปริมาณที่เทา ๆ กัน

เซลลเม็ดเลือดแดงใน
สารละลายตางประเภทกัน

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 4 การลําเลียงสารผานเซลล 92
การลําเลียงแบบใชพลังงาน
(Active Transport)
การเคลื่อนที่ของสารจากบริเวณที่ม_ี ____________________
ไปยังบริเวณที่ม_ี ________________________
โดยอาศัยพลังงาน จาก ATP ซึ่งอยูภายในเซลล เชน
- ______________________________
- ______________________________
- ______________________________

การลําเลียงสารแบบไมผานเยื่อหุมเซลล

เอกโซไซโทซิส (Exocytosis)
เปนการลําเลียงสาร___________________ สารที่มี
ขนาดใหญไมสามารถทะลุผานเยื่อหุมเซลลได โดยอาศัย
สวนของเยื่อหุมเซลลชวยนําสารออกจากเซลล เชน
___________________________________เปนตน

เอนโดไซโทซิส (Endocytosis)
คือ การลําเลียงสารโมเลกุลขนาดใหญ________________ แบงไดเปน 3 วิธี ไดแก
1) ฟาโกไซโทซิส (Phagocytosis)
เปนวิธีการนําสารที่เปน___________เขาสูเซลลเรียกวิธีการแบบนี้วา
โดยสวนของเยื่อหุมเซลลจะ ออกไปโอบลอมสารเขาภายในเซลล
โดยอาศัยพลังงานจาก ATP ตัวอยางเชน

2) พิโนไซโทซิส (Pinocytosis)
เปนวิธีการนําของเหลวเขาสูเซลลหรือที่เรียกวา โดยสวน
ของเยื่อหุมเซลลจะมีการ เข า มาในไซโทพลาสซึ ม แล ว สารจะหลุ ด เข า มา โดยอาศั ย
พลังงาน ATP ตัวอยางที่พบเชน
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 4 การลําเลียงสารผานเซลล 93
3) การนําสารเขาสูเซลลโดยอาศัยตัวรับ (Receptor-mediated Endocytosis) เปน
การนําเขาสูเซลล โดยอาศัยตัวรับที่มีความจําเพาะจับกับสารไดอยางเหมาะสม โดยตัวรับ
จําเพาะจะอยูบริเวณเยื่อหุมเซลล ตัวอยางเชน
____________________________________________________________________

การเอนโดไซโทซิสแบบตาง ๆ

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน แบบฝกหัด 94

การลําเลียงสารผานเซลล

1. จงเปรียบเทียบประเด็นการแพรกับการออสโมซิส
ประเด็น การแพร การออสโมซิส
ชนิดของสารที่เคลื่อนที่
รูปแบบการเคลื่อนที่
ตัวอยาง

2. โมเลกุลของนํ้าจะแพรเขาสูเซลลทําใหเซลลพืชเพง ถาเปนเซลลสัตวจะแตก - จากขอความ


ดังกลาว จะเกิดขึ้นเมื่อเซลลอยูในสภาพแวดลอมใด _________________________________
3. ปริมาณนํ้าที่เคลื่อนที่เขาสูเซลลจะเทากับปริมาณของนํ้าที่เคลื่อนที่ออกจากเซลล ทําใหเซลล
ดํารงชีวิตอยูอางปกติ - จากขอความดังกลาว จะเกิดขึ้นเมื่อเซลลอยูในสภาพแวดลอมใด

4. จงนําชื่อวิธีการลําเลียง เติมลงในขอความใหถูกตอง
การแพรแบบธรรมดา การแพรแบบฟาซิลิเทต ออสโมซิส ไฮโพโทนิก ไฮเพอโทนิก ไอโซโทนิก
แอคทีฟทรานสปอรต เอกโซไซโทซิส เอนโดไซโทซิส ฟาโกไซโทซิส พิโนไซโทซิส
4.1 การนําสารที่มขี นาดใหญเขาสูเซลลโดยไมผานเยื่อหุมเซลล
4.2 วิธีการลําเลียงสารประเภทฮอรโมน เอนไซม
4.3 การแลกเปลี่ยนแกสออกซิเจนในถุงลมปอด
4.4 นําเม็ดเลือดแดงแชในนํ้ากลั่น สงผลใหเซลลแตก
4.5 นําเม็ดเลือดแดงแชในนํ้าเกลือเขมขน สงผลใหเซลลเหี่ยว
4.6 เม็ดเลือดแดงในพลาสมา
4.7 การแพรของสารผานโปรตีนตัวพาที่ฝงอยูบริเวณเยื่อหุมเซลลโดยตรง
4.8 การแลกเปลี่ยนแรธาตุบริเวณเหงือกของปลานํ้าจืด
4.9 การดูดกลับสารโปรตีนที่ทอหนวยไต
4.10 การกินของอะมีบา
4.11 การดูดนํ้าที่รากของพืช
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 95

4
หนวยที่ การลําเลียงสารผานเซลล

1. ภาพแสดงการลําเลียงสารผานเซลลรปู แบบหนึ่ง โดยลูกศรแสดงลําดับเหตุการณที่เกิดขึน้ ดังนี้


(O-NET’63)

ภาพนี ้ เป นกระบวนการลํ าเลี ยงสารแบบใด และข อใดระบุ ตั วอยางของการลํ าเลี ยงสารด วย
กระบวนการนี้ไดถูกตอง
กระบวนการลําเลียงสาร ตัวอยางการลําเลียงสาร
1 เอกโซไซโทซิส การดูดนํ้ากลับผานทอหนวยไต
2 เอกโซไซโทซิส การหลั่งเอนไซมของผนังลําไสเล็กเพื่อยอยอาหาร
3 เอนโดไซโทซิส การแลกเปลี่ยนบริเวณถุงลมปอด
4 เอนโดไซโทซิส การจับกินเพื่อทําลายแบคทีเรียของเซลลเม็ดเลือดขาว
5 เอนโดไซโทซิส การดูดซึมแรธาตุในดินเขาสูรากพืชผานโปรตีนตัวพา

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 96
2. เซลลของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งมีกลไกการลําเลียงสารเขาสูเซลล 4 รูปแบบ ไดแก A B C และ D

4
โดยสภาวะเริ่มตนของการลําเลียงสาร แสดงดังภาพ

ขอใดกลาวถึงรูปแบบการลําเลียงสารเขาสูเซลลไดถูกตอง
1. รูปแบบ A เทานั้นที่มีความจําเพาะตอสาร เนื่องจากสารลําเลียงจากความเขมขนนอยไป
มาก
2. รูปแบบ B มีอัตราเร็วของการลําเลียงสารมากกวารูปแบบ D เนื่องจากสารแพรผานเยื่อหุม
เซลลโดยตรง
3. รูปแบบ C เปนการลําเลียงที่สารจะตองเชื่อมเปนเนื้อเดียวกันกับเยื่อหุมเซลล
4. รูปแบบ D เปนการลําเลียงของนํ้า เมื่อแชเซลลพืชทิ้งไวในสารละลายเจือจาง
5. รูปแบบ A และ D ตองใชพลังงานจากเซลลในการลําเลียงสารเนื่องจากใชโปรตีนเปนตัวพา

3. ความเขมขนของสารมีผลตอกระบวนการแพรอยางไร
1. มีผลตอเยื่อหุมเซลล 2. มีผลตออัตราการแพร
3. ไมมีผลตอกระบวนการแพร 4. มีผลตอปริมาณนํ้าในการแพร

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 97
4. การแพรแบบฟาซิลิเทตมีอัตราการแพรเร็วกวา หรือชากวาการแพรแบบธรรมดา เพราะเหตุใด

4
1. ชากวา เพราะสารมีโมเลกุลใหญ
2. ชากวา เพราะโปรตีนตัวพามีจํานวนนอย
3. เร็วกวา เพราะสารมีโมเลกุลใหญ แตมีปริมาณมาก
4. เร็วกวา เพราะโปรตีนตัวพาทําใหสารผานเยื่อหุมเซลลไดเร็ว

5. การลําเลียงสารแบบใชพลังงานเปรียบเทียบไดกับเหตุการณใด
1. การตักนํ้าใสกะละมัง 2. การสูบนํ้าขึ้นสูถังเก็บนํ้า
3. การเทนํ้าออกจากกะละมัง 4. การปลอยนํ้าลงจากถังเก็บนํ้า

6. เมื่อใสปุยใหตนไมมากเกินไป ตนไมจะไมเจริญงอกงามตามตองการ แตกลับเหี่ยวเฉาลง เพราะ


เหตุใด
1. สารละลายในดินมีความเขมขนมากกวาในเซลล ทําใหนํ้าออสโมซิสจากเซลลออกสูดิน
2. สารละลายในดินมีความเขมขนมากกวาในเซลล ทําใหนํ้าออสโมซิสจากดินเขาสูเซลล
3. สารละลายในดินมีความเขมขนนอยกวาในเซลล ทําใหนํ้าออสโมซิสจากเซลลออกสูดนิ
4. สารละลายในดินมีความเขมขนนอยกวาในเซลล ทําใหนํ้าออสโมซิสจากดินเขาสูเซลล

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 98
7. ลอกผิว ใบว า นกาบหอยแล ว แช ล งในสารละลายนํ ้ า ตาลกลู โ คส เมื ่ อ นํา มาช อ งด ว ยกล อ ง

4
จุลทรรศนเห็นลักษณะดังภาพ สารละลายกลูโคสนี้เปนสารละลายประเภทใด เมื่อเทียบกับ
สารละลายในเซลลผิวใบ (O-net 49)

1. สารละลายไฮโพโทนิค 2. สารละลายไฮเพอรโทนิค
3. สารละลายไอโซโทนิค 4. อาจเปนขอ 2 หรือ 3 ก็ได

8. ขอใดเปนกลไกที่ตองใชพลังงาน (O-net 59)


1. การคายนํ้าของใบพืช 2. เมล็ดถั่วแหงเกิดการพองตัวเมื่อแชในนํ้า
3. การที่รากพืชดูดแรธาตุจากดินเขาสูเซลล 4. การแพรของเกล็ดดางทับทิมที่ละลายในนํ้า
5. การลําเลียงคารโบไฮเดรตหรือโปรตีนเขาออกเซลล

9. เมื่อหยดเซลลเม็ดเลือดแดงที่มีความเขมขนของนํ้าตาลซูโครสภายในเซลล 0.05 โมลารลงไปใน


สารละลายนํ้าตาลซูโครสความเขมขน 0.01 โมลาร ขอใดตอไปนี้กลาวถูกตอง (O-net55)
1. นํ้าออสโมซิสเขาเซลล ทําใหเซลลเตง 2. นํ้าจากในเซลล ออสโมซิสออกไปนอกเซลล
3. เซลลอยูในสภาพปกติ ไมเกิดการเปลี่ยนแปลง
4. การออสโมซิสจะเกิดขึ้นดวยอัตราเร็วที่เพิ่มขึ้น
5. แรงดันในเซลลที่เกิดขึ้นจากการออสโมซิส แปรผกผันกับความเขมขนของสารละลายในเซลล

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 99

4
เฉลยขอสอบ O-net บทที่ 4 การลําเลียงสารเซลล
1. 2
7. 2
2. 2
8. 3
3. 2
9. 1
4. 4 5. 2. 6. 1

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 5 การรักษาดุลยภาพ 100

5
หนวยที่ การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต

กลไกการรักษาดุลยภาพของนํ้าในพืช
นํ ้ า ส ว นใหญ ใ นต น พื ช จะถู ก กํ า จั ด ออกทางปากใบในรู ป ของไอนํ ้ า ที ่ ร ะเหยออกจาก
การควบคุมการคายนํ้าที่ปากใบเกิดขึ้นไดเนื่องจากที่
บริเวณรอบปากใบจะมี ซึ่งเปนเซลลชั้นนอกสุดของผิวใบ
(epidermis layer) พบไดทั้งดานบนและดานลางของใบ โดยดานลางของใบจะมีจํานวนเซลล
คุมมากกวาดานบนของใบ ภายในเซลลคุมจะมี
มีลักษณะที่แตกตางจากเซลลอื่น ๆ บนผิวใบ คือ เซลลคุมจะมีลักษณะเปนเซลลคู โดยผนัง
ดานในของเซลลคุมจะหนากวาผนังเซลลดานนอก

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 54 การรักษาดุลยภาพ 101
การเปดและปดปากใบเกิดขึ้นเนื่องจาก
โดยเมื่อในตนพืชมีนํ้าอยูมาก จะทําใหบริเวณนอกเซลลคุมมีความเขมขนตํ่ากวาในเซลลคุม
(Hypotonic solution) นํ้าจากเซลลตาง ๆ รอบเซลลคุมจะแพรเขาสูเซลลคุม ทําใหเซลลคุม
เตงเนื่องจากมีปริมาณนํ้ามาก ผนังของเซลลคุมจึงยืดออกดึงใหผนังสวนที่หนางอตัวแยกออก
จากกันสงผลใหปากใบเปดออก
แตในกรณีที่ใบตนพืช จะทํ า ให บ ริ เ วณ
นอกเซลลคุมมีความเขมขนสูงกวาในเซลลคุม (Hypertonic solution) นํ้าจากเซลลคุมจะแพร
ออกสูเซลลตาง ๆ ที่อยูรอบเซลลคุม เซลลคุมจึงหดตัวไมสามารถดึงผนังสวนที่หนาแยกออก
จากกันได สงผลใหปากใบปดลง นอกจากนี้ยังพบวา
ก็เปนปจจัยที่มีผลตอการเปดและปดปากใบดวยเชนกัน

เซลลคุมเตง เซลลคุมเหี่ยว

การคายนํ้า (Transpiration)

พืชมีการคายนํ้าออกทางปากใบ โดยพืชจะลําเลียงนํ้าจากดินเขาสูรากโดยกระบวนการ
เพราะเมื่อเรารดนํ้าลงไปในดิน ในดินจะมีโมเลกุลของ
นํ้าหนาแนนกวาในเซลลรากพืช ทําใหนํ้าออสโมซิส
และลําเลียงไปยังสวนตาง ๆ ของพืช เพื่อใชในกระบวนการตาง ๆ เพื่อการเจริญเติบโต โดย
ลําเลียงผาน (ทอลําเลียงนํ้าของพืช)

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 5 การรักษาดุลยภาพ 102
ในการลําเลียงนํ้าจากรากขึ้นสูงสูบริเวณลําตนและปลายยอดพืชมีแรงที่เกี่ยวของ 2 แรง
1)
คือ แรงยึดระหวางโมเลกุลของนํ้าดวยกัน
2)
คือ แรงยึดระหวางโมเลกุลของนํ้ากับผนังทอ
ลําเลียง ทั้งสองแรงจะทํางานรวมกันเพื่อดึงนํ้า
ซึ่งอยูบริเวณรากขึ้นสูยอด บริเวณใบของตนไม
จะมีรูปากใบที่มีการคายนํ้าออกสูบรรยากาศ
ในบางกรณีพืชจะกําจัดใบเพื่อ

เชน การริดใบกิ่งตอน หรือการปรับตัวของพืช


ในทะเลทรายที่มีการลดรูปใบใหเปน
เพื่อลดการสูญเสียนํ้า

กลไกการรักษาดุลยภาพของนํ้าในมนุษย
นํ้าเปนองคประกอบสําคัญของรางกาย ในทุกๆวันมนุษยจะไดรับนํ้าเขาสูรางกายและขับ
นํ้าออกจากรางกายในปริมาณที่เทา ๆ กัน รางกายจําเปนตองไดรับนํ้าในปริมาณที่เพียงพอ
เพราะปฏิกิริยาตาง ๆ ที่สําคัญตอการเจริญเติบโตและการดํารงชีวิต ปริมาณนํ้าเฉลี่ยที่รับเขา
และขับออกจากรางกายของผูใหญใน 1 วัน อยูที่
ไต (Kidney) เปนอวัยวะที่มีบทบาทสําคัญในการรักษาดุลยภาพของนํ้า และกําจัดของ
เสียที่เกิดจาก โดยเฉพาะของเสี ย ที ่ มี
ไนโตรเจนเปนองคประกอบ ไดแก

อวัยวะในระบบขับถายของมนุษยประกอบดวย
1)
2)
3)
4)

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 5 การรักษาดุลยภาพ 103
โครงสรางและการทํางานของไต
หนาที่ของไต
1)
2)
3)
โครงสรางไต
1) เปนบริเวณที่อยูของหนวยไต (Nephron)
2) เปนชองกลวงตรงกลางไต
3) เปนสวนของทอที่จะรวมของเหลวที่ไดจาก
การกรองของไต

ไตแตละขางของมนุษยจะประกอบดวย มากมายเกือบราว
1 ลานหนวย หนวยไตแตละหนวยจะประกอบดวย
(กลุมหลอดเลือดฝอย)
(รูปรางคลายถวย)
(ทอยาวขดไปมา ขดแนบชิดกับหลอดเลือดฝอย)
(collecting duct) เปนทอเปดออกสูกรวยไต

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 5 การรักษาดุลยภาพ 104

การทํางานของไต
การทํางานของไตประกอบดวย 3 ขั้นตอนหลัก
1. การกรองสาร (filtration)
เลือดเขาสูไตผานหลอดเลือดเขาสู ซึ่งจะกรอง
สารขนาดเล็ก ( ) จาก
เลือดเขาสู Bowman’s capsule เม็ดเลือด เกล็ดเลือด สารที่มีขนาดใหญ (อัลบูมิน หรือ
โปรตีนอื่น ๆ) จะยังคงอยูในเลือด ไมสามารถผานรูของผนังหลอดเลือดโกลเมอรูลัสได
2. การดูดกลับ (reabsorption)
ของเหลวที่กรองไดจะไหลผานทอหนวยไต ซึ่งสารที่มีประโยชนตอรางกายจะถูกดูด
กลับทั้งหมด (กลูโคส, กรดอะมิโน) และบางสวน (นํ้า, ion ตาง ๆ) และนําเขาเลือดเพื่อรักษา
สมดุลนํ้าและสารตาง ๆ ของรางกาย
- บริเวณทอขดสวนตน จะมีการดูดกลับ
เชน

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 54 การรักษาดุลยภาพ 105
104
โดยอาศัยการทํางานของฮอรโมนตาง ๆ เชน อินซูลินในการดูดกลับ
และยังมีการดูดกลับนํ้าและแรธาตุตาง ๆ ที่อยูในรูปไอออนกลับสูเสน
เลือดดําฝอยที่อยูบริเวณใกลเคียง ในบริเวณทอขดสวนตนจะมีการขดของทอเพื่อชะลดการไหล
เพิ่มโอกาสในดูดกลับสารมากขึ้น
- บริเวณทอขดสวนกลาง หรือ หวงเฮนเล เป น ส ว น
ใหญ ซึ่งเกี่ยวของการทํางาน
ของ หรือ ซึ ่ ง สร า งจากสมองส ว น
หากมีปริมาณ ADH สูงจะมีการกระตุนการ
ดูดกลับนํ้า และมี ก ารดู ด กลั บ โซเดี ย มไอออนและคลอไรด ไ อออนใน
บริเวณนี้เชนกัน
- บริเวณทอขดสวนปลาย
และดูดกลับแรธาตุ รวมถึงนํ้ากลับเชนกัน ในบริเวณนี้จะมี
สูงที่สุด

3. การหลั่ง (secretion)
บางกรณีเซลลทอหนวยไตจะหลั่งสารบางชนิดที่ไดจากเลือดเขาสูทอหนวยไต (ion ตาง
ๆ) ของเหลวที่ไดจะถูกขับถายออกจากรางกายผานทางทอรวมเปนปสสาวะ

กลไกการรักษาดุลยภาพนํ้าในมนุษย

ไตจะทํางานรวมกับสมองสวนไฮโพทาลามัสเพื่อรักษาสมดุลของนํ้าในรางกาย โดยอาศัย
ฮอรโมนวาโสเปรสซิน (Vasopressin) หรือ แอนติไดยูเรติกฮอรโมน (Antidiuretic hormone,
ADH) สรางจากสมองสวนไฮโพทาลามัส (Hypothalamus) และนํามาเก็บไวที่

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 54 การรักษาดุลยภาพ 106
• เมื่อรางกายขาดนํ้า
เมื่อรางกายเกิดภาวะขาดนํ้าหรือมีการรับประทานอาหารที่
1. จะสงผลให ความดันเลือดเพิ่มขึ้น
2.ความเขมขนของเลือดที่เพิ่มขึ้นจะกระตุนตัวรับสัญญานที่สมองสวน
3. ไฮโพทาลามัสจะสั่งการใหรางกาย และมี ก ารดื ่ ม นํ ้ า
เพื่อลดความเขมขนของเลือด และไฮโพทาลามัสจะสั่งการให
หลั่งฮอรโมนวาโสเปรสซิน(Vasopressin) หรือ ADH มากขึ้น
4. ADH จะกระตุนใหบริเวณทอหนวยไตดูดกลับ เขาสูกระแสเลือด
มากขึ้น
5. ทําใหปสสาวะที่ออกมาจะมีปริมาณนํ้า
6. นํ้าที่ถูกดูดกลับจะทําใหความเขมขนของเลือด
7. รางกายกลับเขาสูภาวะสมดุล
8. ความเขมขนของเลือดที่ลดลงจะลดการกระตุนสมองสวนไฮโพทาลามัส สงผลใหลด
การหลั่ง ADH
• เมื่อรางกายมีนํ้ามากเกินความตองการ
1. เมื่อรางกายมีนํ้ามากเกินความตองการ จะสงผลใหเลือดมีความเขมขน

2. ความเขมขนของเลือดที่ลดลงจะ สมองสวนไฮโพทาลามัส
3. สงผลใหตอมใตสมองสวนหลังหลั่ง ADH
4. ทอหนวยไต เขาสูกระแสเลือด
5. ปสสาวะที่ออกมาจะมี เพื่อขับนํ้าสวนเกินออกจากรางกาย
6. รางกายกลับเขาสูภาวะสมดุล

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 54 การรักษาดุลยภาพ 107
โรคไต

เกิดจากหลอดเลือดฝอยในโกลเมอรูลัส
เนื่องจากหลายสาเหตุ สงผลใหไต หากไมดูแลรักษาจะทําใหเกิดอาการ
ไตวายซึ่งอาจทําใหเสียชีวิตได อาการของโรคไตจะปรากฏก็ตอเมื่อประสิทธิภาพในการทํางาน
ของไตลดลงมาก โดยทั่วไปผูปวยที่เปนโรคเกี่ยวกับไตจะมีอาการบวมเพราะมีนํ้าสะสมอยูที่
ระหวางเซลลเปนจํานวนมาก

ผูปวยที่ไตทํางานไดเพียงรอยละ 10 จะตองเขารับการฟอกเลือดโดยการใชเครื่องไตเทียม
หรือผาตัดปลูกถายไตโดยนําไตจากคนที่มีสุขภาพดีมาปลูกถาย แตวิธีนี้ตองระวังปญหาเรื่อง
การตอตานการปลูกถายอวัยวะอันเนื่องมาจากการทํางานของระบบภูมิคุมกันของรางกายของ
ที่ผูไดรับการปลูกถายสวนใหญจึงใชไตจากผูที่มีความสัมพันธทางสายเลือด

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 5 การรักษาดุลยภาพ 108
กลไกการรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในมนุษย
การที่รางกายทํากิจกรรมตาง ๆ ไดนั้นตองใชพลังงานที่ไดจากการหายใจระดับเซลล
ซึ่งจะเกิด CO2 แลวรวมตัวกับนํ้าในเลือดเกิดเปน H2CO3 แตกตัวให H+ และ HCO3- ดังสมการ

โดยปกติความเปนกรด-เบสในเลือดขึ้นอยูกับการเปลี่ยนแปลงความเขมขนของ
ในเลื อ ด การทํ า กิ จ กรรมต า ง ๆ เช น การออกกํ า ลั ง กาย
การรับประทานอาหาร เปนปจจัยที่ทําใหความเขมขั้นของ H+ เปลี่ยนไป ถาความเขมขนของ
H+ ลดลง แสดงวาเลือดมีภาวะเปน มากขึ้น หรือถาความเขมขนของ H+
เพิ่มขึ้น แสดงวาเลือดมีภาวะเปน มากขึ้น แตโดยทั่วไปเลือดมีแนวโนม
ที่จะมีภาวะเปนกรด เนื่องจากมี เกิดขึ้นและสะสม
ตลอดเวลา รางกายจึงตองกําจัด H+

การรักษาดุลยภาพกรด-เบส
โดยการเพิม่ หรือลดอัตราการหายใจ

ปอดทําหนาที่ในการแลกเปลี่ยนแกสโดยการหายใจเขาเพื่อลําเลียง
เขาสูเซลลตาง ๆ ในรางกายและนํา ออกจาก
รางกายโดยการหายใจออก
ถาปริมาณ CO2 หรือ H+ สะสมอยูในเลือดมากจะสงผลใหเลือดมีความเปนกรดเพิม่ ขึ้น
การเปลี่ยนแปลงนี้จะสงสัญญาณไปกระตุนศูนยควบคุมการหายใจที่สมองสวน
ทําให อัตราการหายใจเพื่อขับ CO2 ออกจากปอด
เร็วขึ้น เชน การหายใจเร็วและลึกหลังการออกกําลังกายอยางหนัก แตถาเลือดเปนเบส อัตรา
การหายใจจะ เพื่อ โดยการสะสม CO2 ใน
เลือดทําใหความเปนกรด-เบสในเลือดเขาสูภาวะสมดุล

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 4 การรักษาดุลยภาพ 109

การรักษาดุลยภาพกรด-เบส
โดยการทํางานของไต
หากเลือดมีความเปนกรดสูงกวาปกติไตจะขับ
และ ออกจากรางกาย และดูดกลับ
และ กลับสูเสนเลือด
หากเลือดมีความเปนกรดตํ่ากวาปกติไตจะขับ
และ ออกจากรางกาย และดูดกลับ
และ กลับสูเสนเลือด

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 4 การรักษาดุลยภาพ 110
การรักษาดุลยภาพกรด-เบส
โดยการทํางานของบัฟเฟอร
การเปลี่ยนแปลงความเปนกรด-เบสในเลือดสงผลตอการทํางานของรางกาย ในเลือดจะมี
สารที่ทําหนาที่เปนบัฟเฟอรเพื่อใหการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นไดชาและไมเปลี่ยนแปลงมากจน
กระทบตอการทํางานของรางกาย สารบัฟเฟอรในเลือด เชน
เปนตน

กลไกการรักษาดุลยภาพของนํ้าและแรธาตุในสัตว

พารามีเซียม (โปรโตซัวนํ้าจืด)

พารามีเซียมอาศัยในนํ้าจืด ซึ่งนํ้าภายนอกมีความเขมขนของสาร
เมื่อเทียบกับภายในเซลลของพารามีเซียม ทําใหนํ้ามีการออสโมซิสเขามาในเซลลพารามีเซียม
จึงตองมีการ โดยพารามีเซียมมีออรแกเนลลพิเศษที่ชวย
ในการรักษาสมดุลของนํ้าภายในรางกาย คือ จะเก็บ
นํ้าสวนเกินภายในรางกาย แลวขับออกสูภายนอก

ปลานํา้ จืด

เนื่องจากความเขมขนของของเหลวที่อยูภายในตัวปลา นํ ้ า ที ่ อ ยู
รอบ ๆ ตัวปลา นํ้าจึง ตั ว ปลาตลอดเวลา หากเป น เช น นี ้ ป ลาจะ
ไดรับนํ้ามากเกินไป ปลานํ้าจืดจึงปรับตัวเพื่อลดปริมาณนํ้าที่เขาสูรางกาย โดยมีผิวหนังและ
เกล็ดเพื่อปองกันนํ้าไมใหซึมผานเขาตัวปลาได
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 4 การรักษาดุลยภาพ 111
แตที่เหงือกที่เปนเยื่อบาง ๆ ที่สัมผัสนํ้าตลอดเวล ไมสามารถปองกันนํ้าซึมเขาได อีกทั้งใน
ขณะที่ปลากินอาหารยอมมีนํ้าปะปนเขาไปดวย ปลานํ้าจืดแกปญหาโดยการ
และ ป ส สาวะปลาที่
ปลอยออกมาจึง และปสสาวะบอย เมื่อนํ้าซึมผานเขามาทาง
เหงือกได แรธาตุในรางกายจึงมีการซึมออกไดเชนกัน ปลาจึงตองมีเซลลพิเศษอยูที่บริเวณ
เหงือกทําหนาที่ กลั บ เข า ร า งกายโดยกระบวนการ

กลไกการรักษาดุลยภาพของนํ้าและแรธาตุในสัตว

ปลาทะเล

ปลาทะเลอาศัยอยูในนํ้าเค็ม ของเหลวในรางกายมีความเขมขน นํ ้ า ทะเล


จึงมีกระบวนการควบคุมนํ้าตรงกันขามกับปลานํ้าจืด โดยนํ้าในตัวปลาจะออสโมซิสออกจาก
รางกาย ปลาจึง เพื่อทดแทนนํ้าที่เสียไป และพยายามขับนํ้า
ออกจากรางกายในปริมาณนอย ปสสาวะ และมีความเขมขน
ส ว นการควบคุ ม แร ธ าตุ จะมี เ กล็ ด และผิ ว หนั ง ที ่ ส ามารถป อ งกั น
ซึมเขาตัวและมีวิธีขับแรธาตุที่มากเกินไปออก
โดยบริเวณเหงือกมีกลุมเซลลทําหนาที่ ที ่ เ ข า มาอยู  ใ นตั ว
มากเกินความจําเปนออกดวยวิธี สํ า หรั บ อาหารที่
ปลากินอาจมีแรธาตุตาง ๆ จากนํ้าปะปนเขาไปดวย แรธาตุเหลานั้นสวนใหญผานทางเดิน
อาหารออกไปทางทวารหนักโดยไมมีการดูดซึมเขาเชลล

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 4 การรักษาดุลยภาพ 112

กลไกการรักษาดุลยภาพของนํ้าและแรธาตุในสัตว

ทําไมถึงไมควรนําปลาทะเลมาเลีย้ งในนํา้ จืด หรือ นําปลานํา้ จืดมาเลี้ยงในนํา้ ทะเล???


โดยทั่วไปการนําปลามาเลี้ยงในสิ่งแวดลอมที่ไมเหมาะสมเชนนี้ ปลามักจะตาย เพราะการ
ดูดซึมที่หงือกของปลานํ้าจืดและปลาทะเลมีความแตกตางกัน จึงมีผลตอการไดหรือเสียแรธาตุ
เชน เหงือกปลานํ้าจืดปกติดูดแรธาตุเขารางกาย แตเมื่อนําไปเลี้ยงในนํ้าทะเล
จึงเขาสูรางกายมากเกินไป ตรงกันขามกับเหงือกปลาทะเลซึ่งปกติทํา
หนาที่ขับเกลือแรแตเมื่อนําปลาทะเลไปเลี้ยงในนํ้าจืดซึ่งมีแรธาตุปะปนอยูนอย ทําใหปลา

นกทะเล

นกทะเลจะไดรับแรธาตุเขาไปในรางกายพรอมกับอาหารทะเลที่กินเขาไป จึงไดรับแรธาตุ
ที่มากเกินไป นกทะเลจึงมีตอมสําหรับขับแรธาตุออก เรียกวา

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 4 การรักษาดุลยภาพ 113
กลไกการรักษาดุลยภาพอุณหภูมิในมนุษยและสัตว

สัตวเลือดอุน-สัตวเลือดเย็น

1. สัตวเลือดอุน (Endotherm) สัตวที่ไดรับความรอนจากกระบวนการเมทาบอลิซึมใน


รางกาย จะมีอุณหภูมิรางกาย สามารถควบคุมและรักษาอุณหภูมิใหคงที่
ตลอดเวลา หรืออาจมีการเปลี่ยนแปลงก็นอยมาก ไมวาอุณหภูมิของสิ่งแวดลอมภายนอกจะ
หนาวเย็นหรือรอนเพียงใดก็ตาม โดยอาศัย ในการรักษา
อุณหภูมิ เชน หากสิ่งมีชีวิตอยูในสภาพแวดลอมที่ีมีความหนาวเย็น อัตราเมทาบอลิซึมใน
รางกายจะ เพื่อเพิ่มความอบอุนใหกับรางกาย
ไดแก
1.2. สัตวเลือดเย็น (Ectotherm) สัตวที่ไดรับความรอนจากสิ่งแวดลอมภายนอก หาก
สิ่งแวดลอมมีอุณหภูมิสูงอุณหภูมิในรางกาย หากอุณหภูมิของ
สิ่งแวดลอมตํ่าอุณหภูมิในรางกาย ไดแก

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 4 การรักษาดุลยภาพ 114
กลไกการรักษาดุลยภาพอุณหภูมิ

ปกติรางกายมนุษยมีอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ องศ าเ ซ ล เ ซ ี ย ส
เป นอุณหภูม ิที่เหมาะสมกับการทํางานของเอนไซม อยางไรก็ ตามการดํ าเนินกิจ กรรมใน
ชีวิตประจําวันสามารถทําใหอุณหภูมิรางกายเปลี่ยนแปลงได รางกายจึงตองปรับตัวเพื่อรักษา
อุณหภูมิใหคงที่เสมอ
รางกายมีกลไกการควบคุม อุณหภูม ิภายในใหคงที่ดวยการทํางานรวมกันของระบบ
หมุนเวียนเลือด ผิวหนังและกลามเนื้อโครงราง โดยมีสมอง
เปนศูนยควบคุมอุณหภูมิในรางกายใหคงที่
1. กลไกการรักษาดุลยภาพภายในรางกายเมื่ออุณหภูมิรางกาย ปกติ
จะสงสัญญาณไปที่สมองสวนไฮโพทาลามัส (hypothalamus) ทําให
- อัตราเมแทบอลิซมึ ลดการสรางความรอนจากกระบวนการเม-
แทบอลิซึม
- หลอดเลือดที่ผิวหนัง
- ตอมเหงื่อ
- เสนขน เพิ่มการระบายความรอน
2. กลไกการรักษาดุลยภาพภายในรางกาย

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 4 การรักษาดุลยภาพ 115
บางครั้งรางกายจะมีอุณหภูมิสูงกวาปกติหรือเปนไขเนื่องจากรางกายไดรับเชื้อโรคหรือสิ่ง
แปลกปลอม ซึ่งมีผลทําใหสมองสวนไฮโพทาลามัสกําหนดคาอุณหภูมิในรางกายใหสูงกวาปกติ
รางกายจึงรูสึกหนาวสั่น เพราะอุณหภูมิจริงของรางกายในขณะนั้นตํ่ากวาอุณหภูมิที่กําหนดขึ้น
ใหม การที่อุณหภูมิของรางกายสูงขึ้นนี้จะเปนการชวยยับยั้งการเจริญของจุลนิ ทรียบางชนิดได

การรักษาอุณหภูมิในมนุษย

1. โครงสราง. สามารถระบายความรอนออกจากรางกายได รอยละ97


2. ระบบ รอยละ 2
3. การขับถาย รอยละ 1

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน แบบฝกหัด 116
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชวี ิต
ใหนักเรียนตอบคําตอบลงในชองวางใหถูกตอง
1. อวัยวะที่กําจัดของเสียในรูปของของเหลวในรางกายมนุษย ไดแก

2. สวนของหนวยไตที่ทําหนาที่กรองของเสียในเลือด คือ

3. สารที่ทอหนวยไตดูดกลับ คือ

4.เรารูสึกกระหายนํ้าเมื่อรางกายขาดนํ้า เพราะ

5. ถาปริมาณนํ้าที่รับเขาและออกไมสมดุลกัน นักเรียนคิดวาจะเกิดปญหารางกายอยางไร

6. ให น ั ก เรี ย นศึ ก ษาลั ก ษณะภายนอกและภายในของไต พร อ มทั ้ ง วาดรู ป และชี้


สวนประกอบที่สําคัญของไต

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน แบบฝกหัด 117
7. จงเติมคําในชองวางใหถูกตองในแผนภาพแสดงกลไกการรักษาสมดุลของนํ้าในรางกาย

8. ใหนักเรียนเติมขอความในแผนผังความคิดตอไปนี้

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 118

5
หนวยที่ การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต

1. ชายสุขภาพดีคนหนึ่ง ทํากิจกรรมและอาศัยอยูในสภาวะที่แตกตางกัน ดังนี้


สภาวะ A นั่งทํางาน 2 ชั่วโมง ในหองที่มีอุณหภูมิ 24 องศาเซลเซียส โดยมีการดื่มนํ้า
สภาวะ B เลนกีฬากลางแจง 2 ชั่วโมง ในบริเวณที่มีอุณหภูมิ 29 องศาเซลเซียส โดยไมมีการดื่มนํ้า
ขอใดกลางถูกตองเกี่ยวกับกลไกของรางกายในขณะที่ชายคนนี้อยูในสภาวะ A และ B
1. สภาวะ A ทําใหเลือดเขมขน ตอมใตสมองสวนหลังไมหลั่งฮอรโมนเพื่อใหรางกายดูดนํ้ากลับ
2. สภาวะ A ทําใหเลือดเจือจาง ตอมใตสมองสวนหลังถูกกระตุนใหหลั่งฮอรโมนเพื่อใหรางกายดูดนํ้ากลับ
3. สภาวะ B ทําใหเลือดเจือจาง ตอมใตสมองสวนหลังไมหลั่งฮอรโมนเพื่อใหรางกายดูดนํ้ากลับ
4. สภาวะ B ทําใหเลือดเขมขน ตอมใตสมองสวนหลังถูกกระตุนใหหลั่งฮอรโมนเพื่อใหรางกายดูดนํ้ากลับ
5. สภาวะ B ทําใหเลือดเจือจาง ตอมใตสมองสวนหลังถูกกระตุนใหหลั่งฮอรโมนเพื่อรางกายดูดนํ้ากลับ

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 119
2. พืช A และ B เจริญเติบโตในสภาพแวดลอมที่ตางกัน คือ ทะเลทรายและปาดิบชื้น โดยพืชแตละ
ชนิดมีลักษณะใบตางกัน ดังนี้
พืช A ใบมีการลดรูปใหมีขนาดเล็ก มีสารเคลือบที่ผิวใบหนา และมีจํานวนปากใบนอย
พืช B ใบมีขนาดใหญ มีสารเคลือบที่ผิวใบบาง และมีจํานวนปากใบมาก
ผลการศึกษาอัตราการคายนํ้าของพืช 2 ชนิด ในชวงเวลาหนึ่ง เปนดังกราฟ
กราฟแสดงอัตราการคายน้ํา

จากขอมูล ขอใดระบุกราฟแสดงอัตราการคายนํ้าของพืชและลักษณะพื้นที่ที่เหมาะสมตอการ
เจริญเติบโตของพืชดังกลาวไดถูกตอง
1. กราฟที่ 1 แสดงอัตราการคายนํ้าของพืช A ซึ่งเจริญไดดีในพื้นที่ทะเลทราย
2. กราฟที่ 1 แสดงอัตราการคายนํ้าของพืช B ซึ่งเจริญไดดีในพื้นที่ทะเลทราย
3. กราฟที่ 2 แสดงอัตราการคายนํ้าของพืช A ซึ่งเจริญไดดีในพื้นที่ทะเลทราย
4. กราฟที่ 2 แสดงอัตราการคายนํ้าของพืช A ซึ่งเจริญไดดีในพื้นที่ปาดิบชื้น
5. กราฟที่ 2 แสดงอัตราการคายนํ้าของพืช B ซึ่งเจริญไดดีในพื้นที่ปาดิบชืน้

3. ตนมะมวงตอบสนองตอสภาวะแหงแลงเนื่องจากฝนไมตกตามฤดูกาลอยางไร
1. ปากใบเปดกวางมากขึ้น เมื่อรับนํ้าจากอากาศ
2. ปากใบปดเฉพาะเวลากลางคืน เพื่อปองกันการสูญเสียนํ้า
3. รากใชพลังงานเพิ่มขึ้น เพื่อใหสามารถดูดนํ้าได
4. ทิ้งใบบางสวนเพื่อลดการคายนํ้า

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 120
4. ขอใดกลาวถึงการรักษาดุลยภาพของนํ้าและแรธาตุของปลานํ้าจืดไดถูกตอง
1. ไตขับปสสาวะที่มีความเขมขนสูงและปริมาณนอย
2. ไตขับปสสาวะเจือจางและปริมาณนอย
3. ไตขับปสสาวะที่มีควาสมเขมขนสูงและปริมาณมาก
4. ไตขับปสสาวะเจือจางและปริมาณมาก

5. ขอใดไมใชกลไกการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
1. เวลาเลนกีฬาจะมีเหงื่อออกมา
2. เม็ดเลือดขาวทําลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอม
3. ปลาทะเลขับเกลือสวนเกินออกทางปสสาวะ
4. พารามีเซียมมีคอนแทร็กไทลแวคิวโอล
5. เมื่อเลือดเขมขนขึ้น สมองสวนไฮโพทาลามัสจะทําใหรูสึกกระหายนํ้า

6.

ขอใดอธิบายการเปลี่ยนแปลงในรางกายไดถูกตองภายหลังจากเด็กคนหนึ่งวิ่งเลนตากแดดมาก
เกินไปทําใหรางกายของเขาขาดนํ้า
1. เลือดมีความเขมขนสูง ความดันเลือดลดลง รางกายหลั่ง ADH ทําใหปสสาวะนอย
2. เลือดมีความเขมขนสูง ความดันเลือดลดลง ยับยั้งการหลั่ง ADH ทําใหปสสาวะมาก
3. เลือดมีความเขมขนสูง ความดันเลือดสูง รางกายหลั่ง ADH ทําใหปสสาวะนอย
4. เลือดจะเจือจาง ความดันเลือดลดลง รางกายหลั่ง ADH ทําใหปสสาวะนอย
5. เลือดจะเจือจาง ความดันเลือดสูง ยับยั้งการหลั่ง ADH ทําใหปสสาวะมาก

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 121
7. ก. และ ข. เปนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางอุณหภูมิรางกายและอุณหภูมิสิ่งแวดลอมของ
สัตวชนิดใด ตามลําดับ

1. ปลาฉลาม และ กบ 2. นกกางเขน และ กิ้งกา


3. หนู และ นกแพนกวิน 4. เตา และ โลมา

8. คนปกติมีโปรตีนในนํ้าเลือด 8.0 g/100 cm3 ชายคนหนึ่งไปตรวจสุขภาพพบวามีโปรตีนในนํ้า


เลือด 8.0 g/100 cm3 และโปรตีนในนํ้าปสสาวะ 5.2 g/100 cm3 เขามีโอกาสเปนโรคใดมากทีส่ ดุ
1. โรคเกี่ยวกับกระเพาะอาหาร 2. โรคเกี่ยวกับไต
3. โรคเกี่ยวกับหลอดเลือด 4. โรคเกี่ยวกับตับและนํ้าดี
5. โรคลําไสเล็กอักเสบ
5. เมื่อเลือดเขมขนขึ้น สมองสวนไฮโพทาลามัสจะทําใหรูสึกกระหายนํ้า

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 122
9. จากการวิเคราะหหาปริมาณสารตางๆ 5 ชนิดในนํ้าเลือด ในของเหลวที่ผานการกรองที่หนวยไต
และปสสาวะของคนปกติ สารในตัวเลือกใดนาจะเปนโปรตีน

10. สารใดที่ไมพบในปสสาวะของคนปกติ
1. โปรตีน 2. ยูเรีย 3. ยูริก 4. เกลือโซเดียม

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ขอสอบ O-net 123

เฉลยขอสอบ O-net บทที่ 5 การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต


1. 4 2. 3 3. 4 4. 4 5. 2. 6. 3
7. 2 8. 2 9. 1 10. 1

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 6 ภูมิคุมกัน 124

6
หนวยที่ ภูมิคุมกัน

การสรางภูมิคุมกันและกําจัดเชื้อโรค
กลไกการตอตานหรือทําลายสิ่งแปลกปลอมในมนุษยสามารถแบงไดเปน 2 แบบ
การตอตานหรือทําลายสิ่งแปลกปลอม
แบบปองกันไมจําเพาะ(non-specific defense)
1. การปองกันดานแรก (first line of defense) :

: ชั้นหนังกําพรามี Keratin ปองกันการรุกรานของสิ่งแปลกปลอม


: เปนกรดยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย
: มีเมือกปองกันและดักจับสิ่งแปลกปลอมที่เขามากับระบบทางเดินหายใจ
และทางเดินอาหาร
: โบกพั ด และดั ก จั บ สิ ่ ง แปลกปลอมขนาดใหญ ใ นบริ เ วณโพรงจมู ก
: สารคัดหลั่งเหลานี้มีเอนไซม lysozyme ทําลายแบคทีเรีย
: กรด HCl, เอนไซมทําลายจุลินทรียและสิ่งแปลกปลอมที่หลุดเขามากับ
อาหาร
: ยับยั้งการเจริญของราและแบคทีเรียที่ชองคลอด
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 6 ภูมิคุมกัน 125

ตัวอยางการปองกันดานแรก

2. การปองกันดานสอง (second line of defense) :

2.1 การอักเสบการอักเสบ (inflammation) ในกรณีที่รางกายเกิดบาดแผล ทําให


สิ่งแปลกปลอมเขาสูเนื้อเยื่อได รางกายจะมีกลไกการตอตานหรือทําลายสิ่งแปลกปลอมแบบไม
จําเพาะ คือ การทํางานของเซลลเม็ดเลือดขาวกลุม phagocyte ที่แทรกตัวออกจากหลอด
เลือดฝอยไปตามเนื้อเยื่อ และทําลายสิ่งแปลกปลอมดวยกระบวนการฟาโกไซโทซิส
โดยบริเวณที่เกิดบาดแผลและมีเชื้อโรคเขาสูเนื้อเยื่อ เนื้อเยื่อที่เสียหายและเชื้อโรคจะสง
สัญญาณเคมีไปดึงดูด phagocyte มายังบริเวณที่เกิดบาดแผลมากขึ้น โดย phagocyte จะดับ
จับเชื้อโรคไวไมใหแพรกระจายไปยังบริเวณอื่น ๆ จากนั้นจะทําลายเชื้อโรคและเนื้อเยื่อที่
เสียหายโดย และหลั่งสารไปกระตุนใหหลอดเลือดฝอยบริเวณนี้
ขยายตัว เพื่อนําเลือดและเซลลเม็ดเลือดขาวมามากขึ้นมีการซึมผานของหลอดนํ้าเหลืองเพื่อนํา
สารตาง ๆ ที่ชวยกําจัดเชื้อโรคเขาสูบริเวณบาดแผลทําใหมีการบวม แดง อุณหภูมิสูงขึ้น และ
รูสึกปวดการที่บริเวณบาดแผลมีอุณหภูมิสูงขึ้นจะชวยยับยั้งการเจริญของของโรคบางอยางได
ถาเกิดบาดแผลขนาดใหญที่มีการอักเสบมากขึ้นเปนบริเวณกวาง อาจกระตุนใหอุณหภูมิของ
รางกายสูงขึ้นจนไปเชื้อโรคที่ถูกทําลายจากการอักเสบและ phagocyte ที่ตายแลวจะรวมตัว
เปนหนองและถูกกําจัดออกทางบาดแผล และเซลลในบริเวณนั้นจะแบงเซลลเพื่อซอมแซม
เนื้อเยื่อที่ถูกทําลายไป ในที่สุดแผลจะแหงและจะตกสะเก็ดหลุด

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 6 ภูมิคุมกัน 126
2.2 การเปนไข (fever) เปนสภาวะการปองกันโรคโดยทั่วไปของรางกาย สภาวะที่
รางกายกําลังตอสูกับเชื้อโรคนั้นเรียกวารางกายอยูในสภาวะติดเชื้อ อุณหภูมิที่สูงขึ้นจะชวย
ยับยั้งการแพรกระจายของเชื้อโรคและเรงกระบวนการซอมแซมตาง ๆ ของรางกาย
กลไกการตอตานหรือทําลายสิ่งแปลกปลอม
แบบจําเพาะ (specific defense)
1. การปองกันดานสาม :
ถาเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมเล็ดลอดออกมาจากกลไกการปองกันดานแรกและดานสอง
เขามาสูเนื้อเยื่อได รางกายจะใชกลไกการตอตานหรือทําลายสิ่งแปลกปลอมแบบจําเพาะ หรือ
ทํางานไปพรอมกับระบบปองกันดานสองเลยก็ได ซึ่งรางกายจําเปนจะตองตรวจจับ antigen
ของเชื้อโรค หรือสิ่งแปลกปลอมได โดยอาจจะเปน ไวรัส แบคทีเรีย รา รวมถึงชิ้นสวนของสิ่ง
เหลานี้ และจะไปกระตุนการทํางานของลิมโฟไซต (lymphocyte)
ลิมโฟไซตที่สําคัญ คือ

เซลลทีผูชวย (Helper T-cell) จะรับสัญญานจากแอนติเจนของเชื้อโรคบนเซลลเม็ดขาว


กลุมฟาโกไซตที่ไปทําลายเชื้อโรคกอนหนา จดจําชนิดของเชื้อโรคและสงสัญญานไปยังเซลลทีที่
ทําหนาที่ทําลายสิ่งแปลกปลอม (Cytotoxic T-cell) ใหทําลายเชื้อบางชนิดและเซลลรางกายที่
ติดเชื้อ และสงสัญญานไปยังเซลลบี (B cell) ใหจดจําเชื้อโรคและแบงเซลลเพื่อพัฒนาเปน
เซลลพลาสมา (Plasma cell) เพื่อสรางแอนติบอดีสําหรับทําลายเชื้อโรค และปลอยสูนํ้าเลือด
หรือพลาสมา แอนติบอดีจะไปจับกับแอนติเจนของเชื้อโรคทําใหเชื้อถูกทําลาย

ระบบนํ้าเหลือง (Lymphatic System)


มีหนาที่กําจัดสิ่งแปลกปลอมหรือเชื้อโรค ออกจากเลือดและนํ้าเหลือง รักษาสมดุลของ
ของเหลวระหวางเนื้อเยื่อ ดูดซึมไขมันและกลีเซอรอลเขาสูระบบบริเวณลําไสเล็ก

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 6 ภูมิคุมกัน 127
สวนประกอบของระบบนํา้ เหลือง

1. นํ้าเหลือง (Lymph) คือ ของเหลวในเลือดที่ซึมออกจากเสนเลือดเขาสูทอนํ้าเหลือง


2. ทอนํ้าเหลือง (Lymphatic Vessels) ทําหนาที่นํานํ้าเหลืองจากทั่วรางกายไปบริเวณ
คอและไหลกลับสูเสนเลือด
3.อวัยวะนํ้าเหลือง (Lymphatic Organs) ไดแก
3.1. (Lymph node) เปนเนื้อเยื่อ
ในระบบนํ้าเหลืองที่มีลักษณะเปนรูปไขกอนเล็ก ๆ เชื่อม
ตอกับทอนํ้าเหลือง กระจายอยูทั่วรางกาย มีเซลล
เม็ดเลือดขาวอยูภายใน ชวยดักจับสิ่งแปลกปลอมตาง ๆ
ที่เขาสูรางกายโดยเฉพาะเชื้อโรคที่ปะปนมากับนํ้าเหลือง

3.2. (thymus gland)


ทําหนาที่สรางและพัฒนาเม็ดเลือดขาวชนิด
เซลลทีเพื่อตอตานสิ่งแปลกปลอมที่เขาสูรางกาย

3.3. (Tonsils) มี 3 ตําแหนง


อยูรอบ ๆ หลอดอาหาร โดยภายในตอมทอน-
ซิลจะมีเม็ดเลือดขาวคอยทําหนาที่ทําลายสิ่ง
แปลกปลอมที่เขาสูรางกาย

3.4. (spleen) เปนอวัยวะนํ้าเหลืองที่ใหญที่สุด ทําหนาที่สรางและ


ทําลายเม็ดเลือดขาว รวมทั้งทําลายเม็ดเลือดแดงที่หมดอายุแลว

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 6 ภูมิคุมกัน 128
ประเภทของภูมิคุมกัน
แบงออกเปน 2 ประเภทใหญๆ ดังนี้
ภูมิคุมกันตามธรรมชาติ
(Natural Immunity)
เปนภูมิคุมกันที่ไดรับการถายทอดมาจากแมตั้งแตอยูในครรภ ทารกจะมีภูมิคุมกันโรคบาง
ชนิด เชน โรคคอตีบ โรคหัด และไขทรพิษไดเองตามธรรมชาติ แตภูมิคุมกันนี้จะอยูประมาณ 3
เดือนหลังคลอดหลังจากนั้นก็จะลดลง
ภูมิคุมกันหลังการคลอด
(Acquired Immunity)
แบงออกเปน 2 ประเภท
1) ภู ม ิ ค ุ  น กั น ก อ เอง (Active Immunity) เป น ภู ม ิ ค ุ  ม กั น ที ่ เ กิ ด เมื ่ อ ร า งกายได ร ั บ
แอนติเจนเขาไปแลวสรางแอนติบอดีหรือกระตุนเซลลทีที่จําเพาะตอแอนติเจนนัน้ ขึ้นมาตอตาน
และรางกายมีการสรางเซลลความจําที่มีความจําเพาะตอแอนติเจนนี้เตรียมไว ทําใหเมื่อไดรับ
แอนติเจนเดิมรางกายจะตอบสนองไดอยางรวดเร็ว
2) ภู ม ิ ค ุ  ม กั น รั บ มา (Passive Immunity) เป น วิ ธ ี ท ี ่ ร  า งกายได ร ั บ แอนติ บ อดี ท ี ่ มี
ความจําเพาะตอแอนติเจนเขาไป เพื่อใหรางกายตอบสนองตอแอนติเจนชนิดนั้นไดทันทีความ
แตกตางระหวางภูมิคุมกันแบบกอเองและแบบรับมา

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 6 ภูมิคุมกัน 129

หมูเลือด

การจําแนกหมูเลือดระบบ ABO

จําแนกตามชนิดของแอนติเจน (antigen) ที่อยูบนเยื่อหุมเซลลเม็ดเลือดแดง ซึ่งมี 2 ชนิด


คือ แอนติเจน A และแอนติเจน B โดยจําแนกไดเปนเลือดหมู A B AB และ O
แอนติบอดี (antibody) เปนโปรตีนที่อยูในพลาสมา ในระบบเลือด ABO มี 2 ชนิด คือ
แอนติบอดี A และแอนติบอดี B

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 6 ภูมิคุมกัน 130
หลักการใหและรับเลือด

แอนติเจนบนเยื่อหุมเซลลเม็ดเลือดแดงของผูใหจะตองไมตรงกับแอนติบอดีในพลาสมา
ของผูรับเนื่องจากแอนติบอดีจะจับกับแอนติเจนชนิดเดียวกันทําใหเซลลเม็ดเลือดแดงเกาะกัน
เปนกอนและตกตะกอน อาจเปนอันตรายถึงชีวิตได

ความผิดปกติของระบบภูมิคุมกัน
1) โรคภูมิแพ (Allergy) สาเหตุ เกิดจากปฏิกิริยาที่ผิดปกติในการสราง Antibody
เพื่อตอตาน Antigen ตัวอยางโรค

2) โรคการสรางภูมิตานทานเนื้อเยื่อตนเอง (Autoimmune Diseases) สาเหตุเกิด


จากภูมิคุมกันทีไมสามารถแยกแยะความแตกตางระหวางเซลลของตนเองและสิ่งแปลกปลอม
ได ตัวอยางโรค ซึ ่ ง เกิ ด จาก Antibody ไปจั บ และทํ า ลาย
อวัยวะสวนใดสวนหนึ่งของรางกาย ทําใหเกิดการอักเสบของอวัยวะนั้น

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน บทที่ 6 ภูมิคุมกัน 131

3) โรคเอดส (AIDS: Acquired Immune Deficiency Syndrome) สาเหตุเกิดจาก


เชื้อไวรัส HIV (Human Immunodeficiency Virus) เขาไปทําลายเม็ดเลือดขาวบางชนิดใน
รางกาย จึงทําใหภูมิตานทานของรางกายบกพรอง ไมสามารถสราง Antibody เพื่อตอตานเชื้อ
โรคได

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน แบบฝกหัด 132
ภูมิคุมกัน

1. ให น ั ก เรี ย นในเครื ่ อ งหมาย  หน า ข อ ความที ่ ก ล า วถู ก ต อ ง และใส เ ครื ่ อ งหมาย 
หนาขอความที่กลาวผิด จากนั้นขีดเสนใตขอความที่ผิด และแกไขใหถูกตอง
1.1 กลไกการตอตานหรือทําลายสิ่งแปลกปลอมแบบจําเพาะเจาะจงมีประสิทธิภาพสูง
กวากลไกการตอตานหรือทําลายแบบไมจําเพาะ เนื่องจากมีความจําเพาะตอแอนติเจนและการมี
เซลลที่จําตอแอนติเจนนั้น

1.2 เด็กที่เคยไดรับวัคซีนบาดทะยัก เมื่อเขาสูวัยหนุมสาวจําเปนตองไดรับวัคซีนซํ้าอีก

1.3 การฉีดวัคซีนไขหวัดใหญจะชวยปองกันโรคไขหวัดใหญไดทุกชนิด

1.4 ทอกซอยดผลิตจากสารพิษของแบคทีเรีย

2. จงบอกความแตกตางของภูมิคุมกันที่กอเองและภูมิคุมกันที่รับมา

ภูมิคุมกันกอเอง ภูมิคุมกันรับมา

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน แบบฝกหัด 133
3. จากภาพการตรวจสอบหมูเลือด เลือดที่นํามาทดสอบเปนหมูเลือดใด

ผลการทอดสอบ หมูเลือด

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคผนวก 134
คณะผูจัดทําหนังสือเรียน
อาจารยจารุวัฒน ชูรกั ษ สาขาวิชาเคมี
อาจารยจารุวรรณ ไทยเถียร สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่วั ไป
อาจารยจตุพร บุญชัยยุทธศักดิ์ สาขาวิชาเคมี
อาจารยวีระพล ลาภเกิด สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่วั ไป
อาจารยภาณุพงศ กาสอน สาขาวิชาชีววิทยา
อาจารยสุมิตรา สุขเพ็งดี สาขาวิชาเคมี
อาจารยสิรธิ ิดา หาริกนั สาขาวิชาเคมี
อาจารยจันทิมันตุ จันทรัตน สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่วั ไป
อาจารยภาวินี กิจพรอมผล สาขาวิชาเคมี
อาจารยปรียารัตน ภูนาท สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่วั ไป

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

You might also like