Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 23

จรวดอากาศ

(Aircraft Rocket)
จรวด คือ อาวุธซัด “พุ่ง” หรือ Missileชนิดหนึ่งเคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้ด้วยอานาจการผลักดันอัน
เนื่องจากการแปรสภาพของดินขับ ซึ่งกลายเป็นแก๊สไปข้างหลังด้วยความเร็วสูง
๑. จรวดประกอบด้วยส่วนสาคัญ ๓ ส่วน
ก. หัวรบ (Warhead)
ข. ลาตัวจรวด(Motor)
ค. เครื่องให้การทรงตัว (Stabilizer)
๑.๑ หัวรบ(Warhead) เป็นส่วนที่ให้อานาจการทาลายต่อที่หมายโดยตรง ตามปกติจะบรรจุวัตถุ
ระเบิดแรงสูง (HE) หรือพวกสารเคมี (Chemical Agents)
- หัวรบที่บรรจุวัตถุระเบิดแรงสูงบางชนิดจะสร้างให้มีเปลือกบาง ๆ บรรจุดินระเบิดได้มากๆ
เพื่อหวังผลในการทาให้เกิดอานาจการผลักดัน (Blast) แต่บางชนิดก็ทาเปลือกหนาปานกลางเพื่อต้องการ
อานาจจากชิ้นสะเก็ดระเบิด(Frag) หัวรบจะมีชนวนหัว “Point Detonating (PD)” และชนวนท้าย “Base
Detonating (BD)” หรือชนวนหัวอย่างเดียว
- หัวรบที่บรรจุสารเคมีจะสร้างเปลือกบาง ๆ เพื่อให้สามารถบรรจุสารเคมีได้มาก ๆ ตอน
กลางของหัวรบในแนวแกนจะมี Bursterประกอบไว้ด้วย และจะต้องมีชนวนหัวท้ายเช่นเดียวกับจรวด ซึ่ง
บรรจุวัตถุระเบิดแรงสูง สาหรับสารเคมีที่ใช้ก็มี Casualty Gas, Harassing Gasและ Smoke
- หัวรบฝึก (Practice Warhead) เป็นโลหะกลวง ไม่บรรจุวัตถุระเบิดแต่บรรจุสารเฉื่อย
(Inert) เช่น ทราย หรือ Plasterเพื่อต้องการให้มีน้าหนักเท่าจรวดจริง
๑.๒ ลาตัวจรวด(Motor) ลาตัวจรวดเป็นชุดประกอบอันหนึ่งประกอบไว้ทางด้านท้ายหัวรบลาตัวจรวด
มีรูปร่างลักษณะทรงกระบอก ตอนท้ายของลาตัวบางแบบจะมีรูพ่น (Nozzle) ๑ รู บางแบบก็มีรูพ่นหลายรู
ภายในลาตัวตามยาวบรรจุดินขับ จรวด(Propellant Grain)และเครื่องจุดจรวด(Igniter)ส่วนตอนท้ายของ
ลาตัวจรวด สาหรับจรวดแบบให้การทรงตัวด้วยครีบบาง (Fin Type) จะมีที่สาหรับประกอบหางไว้ด้วยตอน
หัวและท้ายของลาตัวจะมีฝา หรือถ้วยครอบเพื่อปูองกันฝุุนผงและความชื้นเข้าไปข้างในลาตัว
- เครื่ องจุ ดจรวด (Igniter) ติดตั้งไว้ที่ส่ ว นหั ว ของล าตัว จรวด ประกอบด้ว ยดินดา(Black
Powder) และ Electric Squibโดยทั่วไปElectric Squibจะมีสายไฟ (lead Wire) สองสายซึ่งอยู่ในลาตัวแล้ว
โผล่ออกมาทางตอนท้ายของลาตัวเพื่อมาต่อเข้ากับ Plug ที่ลาตัวจรวดหรือที่ บ.
- ดินขับจรวด (Propellant Grain) คือ Ballistite เป็นแท่งดินขับจรวด ๑ แท่ง หรืออาจ
เป็นแท่งเล็ก ๆ หลายแท่งมัดรวมกั นก็ได้ ทั้งนี้แล้วแต่การออกแบบBallistite มีส่วนผสมหลักที่สาคัญอยู่ ๒
ชนิ ด คื อ Nitrocelluloseกั บ Nitroglycerineยั งมี ส่ ว นผสมอื่น ซึ่ งใช้ เป็ น ตั ว บัง คั บอั ต ราการเผาไหม้ และ
ส่วนผสมที่ให้เกิดความเสถียรในอายุการเก็บรักษา
รหัสซึ่งแสดงเกี่ยวกับดินขับมีดังนี้ H-9 JPNN-4 N-5
ลักษณะหรืออัตราการเผาไหม้ของดินขับ ขึ้นอยู่กับรูปร่างของดินสาหรับดินขับของจรวด ๒.๗๕ นิ้ว
เป็นดินแท่งกลม และมีรูกลวงรูเดียว แต่รูกลวงนั้นทาเป็นรูปดาว ๘ แฉกรอบนอกแท่งดินหุ้มไว้ด้วยวัตถุทนไฟ มี

ฉบับปรังปรุงเมื ่อปี ๖๐
จรวดอากาศ ๒

คุณ สมบั ติ ใ นการปู อ งกั น ไฟ หรื อความร้อ นที่ รุน แรงอัน เกิ ดจากการเผาไหม้ ข องดิ นขั บ มิ ใ ห้ ล าตัว จรวด
ร้อนเกินไป ซึ่งอาจจะถึงกับละลายขึ้นได้ ดินขับจรวดแบบนี้เป็นขับชนิดไหม้ทวี (Progressive Burning)
ดินขับจรวดโดยทั่วไปจะเก็บไว้ในที่ที่มีอุณหภูมิจานวนจากัดอันหนึ่ง (Temperature Limited)สาหรับ
จรวดขนาด ๒.๗๕ นิ้ว คือ -๖๕ องศา F จรวดขนาด ๕ นิ้ว -๒๐ ถึง +๑๒๐ องศา F
การเก็บรักษาดินขับจรวดในเย็นมากเกินไป (Low Temp.) ดินขับจรวดจะเปราะถ้าทาหล่นจากที่สูง
อาจทาให้ดินขับจรวดแตก เป็นการเพิ่มพื้นที่เผาไหม้แก่ดินขับ ณ บริเวณที่แตกนั้น และถ้าลาตัว จรวดบุบด้วย
แล้ว จะทาให้ปริมาตรของลาตัว เล็กลงด้วย ฉะนั้นในขณะทาการยิงอาจเกิดHigh Pressureเกิดการระเบิดได้
และดินขับที่เก็บไว้ในอุณหภูมิต่ากว่ากาหนด เวลายิง จะทาให้เสียประสิทธิทางขีปนวิธี คือ จรวดแล่นไม่ถึงที่
หมาย
การเก็บดินขับจรวดในสถานที่อุณหภูมิสูง (High Temp) เกินกว่าที่กล่าวมาแล้วดินขับจรวดจะอ่อน
และละลายได้ เวลายิงจะเกิด PRESSURE มากเกินกว่าที่ตัวจรวดจะทนทานได้ และอาจจะระเบิดขึ้น ได้อีก
ประการหนึ่งก็คือ จะทาให้เสียประสิทธิภาพทางขีปนวิธี คือยิงไกลกว่าระยะที่กาหนดไว้ เช่นกัน
๑.๓ เครื่องให้การทรงตัว(Stabilizer) เครื่องให้การทรงตัวของจรวดมีหน้าที่บังคับทิศทางแก่จรวด
เพื่อให้จรวดแล่นไปตามที่หมาย มีอยู่ ๓ แบบ คือ
A) Folding Fin
B) Spin Type
C) Wrap Around
A) แบบครีบหาง (Folding Fin) ครีบหางนี้ทาด้วยโลหะบาง ๆ เป็นแฉก ๔ แฉก ประกอบไว้ที่
ตอนท้ายของลาตัวจรวด ทาให้จรวดทรงตัวในอากาศได้ดี และแล่นตรงเปูาหมาย แยกเป็น
- ครีบหางพับได้
- ครีบหางพับไม่ได้
B) แบบหมุน (Spin Type) เป็นเครื่องให้การทรงตัวแบบหมุน ใช้กับจรวดชนิดไม่มีครีบหาง
โดยการจัดให้รูพ่นชนิดหลายรู ตั้งอยู่ในลักษณะที่เมื่อแก๊สไหลผ่านมาข้างหลังด้วยความเร็วนั้นจะก่อให้เกิด
การหมุนรอบแกนของตัวเองได้ การหมุนรอบแกนของมันขณะเคลื่อนที่นี้จะก่อให้เกิดการทรงตัวแล่นไปตาม
วิถีของมันได้
C) แบบม้วน (Wrap Around) คือ กางออกเมื่อจรวดวิ่งออกจากเครื่องยิง
๒. หลักการขับเคลื่อนของจรวด (The Rocket Principle)
หลักการขับเคลื่อนของจรวดได้อธิบายประกอบภาพแสดงดังต่อไปนี้
ก. เมื่อแก๊สอยู่ในที่ห้อมล้อมปิดใด ๆ ความดันของแก๊สจะมีค่าเท่ากัน และทิศทางตรงข้าม Pascal’s Law)
ดังนั้น แรงในทิศทางหนึ่งจะถูกลบล้างด้วยซึ่งมีค่าเท่ากันในทิศทางตรงกันข้าม ฉะนั้นที่ห้อมล้อมปิดนั้น จึงไม่
สามารถจะเคลื่อนที่ได้ คงอยู่นิ่ง ๆ (รูปที่ ๑)

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
จรวดอากาศ ๓

รูปที่ ๑
ข. เมื่อเปิดด้านหนึ่งของที่ห้อมปิดนั้นความดันแก๊สทางด้านเปิดจะลดลงสู่ความดันของบรรยากาศ
ภายนอกอย่างรวดเร็ว แต่ขณะเดียวกัน ความดันที่ด้านตรงกันข้ามจะค่อยๆลดลงแต่อย่างไรก็ดี คงมีความดัน
สูงกว่าความดันบรรยากาศเสมอ ดังนั้น วัตถุจะเคลื่อนที่ไปในทิศทางเปิด และแก๊สจะไหลออกทางด้านที่เปิด
ถ้าความต้องการภายในมีค่าคงที่ตลอดเวลาเนื่องจากการเผาไหม้ของดินขับ ความดันค่าสูงจะอยู่
ทางด้านปิด ขณะเดียวกันความดันเปิดมีค่าใกล้เคียงกับความดันของบรรยากาศภายนอก ดังนั้น แรงที่ให้
เคลื่อนที่คือแรงที่เกิดจากความดันของแก๊สที่ด้านปิดกระทาบนพื้นที่อันหนึ่งซึ่งเท่ากับพื้นที่ของช่องปิดแรงนั้น
ค่าเท่ากับความดันคูณด้วยพื้นที่ช่องเปิด หรือ จะกล่าวอีกประการหนึ่ง แรงที่ให้การเคลื่อนที่คือ ปฏิกิริยาตอบ
ในการที่แก็สไหลออกทางช่องที่เปิด (รูปที่๒)

รูปที่ ๒
ค. ถ้าแก๊สไหลผ่านมุมชิ่งที่เปิดดังรูปที่ ๒ จะก่อให้เกิดการไหลของแก๊สอย่างอลหม่านไม่เป็นระเบียบ
(Turbulent Flow) ทาให้สูญเสียกาลังงาน การไหลของแก๊สนั้น เนื่องจากการขัดสี (Friction) เพื่อแก้เหตุอัน
นี้ จึงทารูปเปิดตามรูปที่ ๓ คือ เป็นรูพ่น (Nozzle) มีลักษณะเป็นท่อนทรงกรวย ๒ อัน เอาทางยอดกรวยต่อ
กัน ตรงที่ต่อโค้ง เพื่อให้ การไหลของแก๊ส สม่าเสมอไม่อลหม่าน และลดการสู ญเสี ยพลั งงานจากการขัดสี
ระหว่างแก๊สกับผิวของรูพ่นได้ตรงรอยต่อเรียกว่า คอ (Throat) เป็นส่วนที่กาหนดหรือบังคับอัตราการไหลของ
แก๊สด้วยในเมื่อมีการเผ่าไหม้ของดินขับเรื่อยๆ (รูปที่๓)

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
จรวดอากาศ ๔

รูปที่ ๓
๓. การแบ่งประเภทของจรวด (Classification Of Rockets)
ก. การแบ่งประเภทของจรวดตามความมุ่งหมายในการทางาน (Purpose) คือ
๑. Series Rocketคือ จรวดจริงใช้ในการรบโดยตรง หัวรับส่วนมากบรรจุไว้ด้วยวัตถุระเบิด
แรงสูง หรือบางชนิดบรรจุสารเคมี ซึ่งขึ้นอยู่กับความต้องการผลในการทาลายที่หมาย ส่วนหัวของจรวดจะมี
ชนวนติดตั้งอยู่ อาจจะมีทั้งชนวนท้าย ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับจรวดแต่ละชนิด
๒. Target Rocketคือ จรวดใช้สาหรับเป็นเปูาหมายโดยยิงจากพื้ นดินขึ้นสู่อากาศ เพื่อเป็น
เปูาหมายให้แก่หน่วยต่อสู้อากาศยาน ทาการยิงเปูาหมายอากาศ
๓. Practice Rocketคือ จรวดที่ใช้ในการฝึกยิง เพื่อให้นักบินมีความชานาญในการยิงบาง
แบบบรรจุสารเฉื่อยเข้าไว้ เพื่อให้มีน้าหนักเท่ากับจรวดจรอง ทอ. ไทยใช้จรวด ๒.๒๕ นิ้ว SCAR เพราะจรวดนี้
วิธีกระสุนเช่นเดียวกับจรวดจริง แต่มีขนาดเล็กกว่า และสร้างได้ด้วยราคาไม่แพง
ข. แบ่งตามลักษณะของสิ่งที่บรรจุ (Filler) ภายในหัวรบมีดังนี้
๑. High Explosive
๒. Chemical
๓. Inert
หัวรบที่บรรจุ HE ตามธรรม TNT หรือ COMP.Bเพื่อให้เกิดอานาจผลักดันหรือเกิดผลในทางสะเก็ด
จากเปลือกของมันหัวจรวด High Explosive Anti Tank (Heat) ดินเป็นรูปโพรง (Shape Charge) เพื่อให้ยิง
เปูาหมายที่เกาะ หัวรบที่บรรจุ Chemical Agents ส่วนมากเป็นสารเคมีชนิดเป็นพิเศษ และรบกวนตลอดทั้ง
พวกที่ทาให้เกิดควันเพื่ อเป็นฉากกาบัง และทาให้เกิดเพลิง,หัวรบ Inert ภายในบรรจุสารเฉื่อยชนิดต่างๆ
เพื่อให้มีน้าหนักเหมือนหัวรบจริงใช้ในการฝึกยิงเปูาหมาย โดยนาเข้าประกอบกับตัวจรวดธรรมดาที่มีดินขับ
บรรจุอยู่แล้ว
๔. การเรียกชื่อจรวด
โดยทั่วไปนิยมเรียกชื่อขึ้นต้นด้วยตัวเลขซึ่งเป็นขนาดจรวดและตามอักษรย่อ ซึ่งเป็นชื่อของมันเช่น
ก. 2.75” FFAR (Folding Fin Aircraft Rocket)
ข. 2.25” SCAR (Sub-Caliber Aircraft Rocket)
ค. 5” FFAR (Zun)
ง. 5” HVAR (High VelocityAircraft Rocket)

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
จรวดอากาศ ๕

๕. จรวดมาตรฐาน (Standard Rocket) มีดังนี้


๕.๑ 2.75” FFARFolding Fin Aircraft Rocket) หรือ Mighty Mouse
จรวดอากาศขนาด ๒.๗๕”FFAR เป็นจรวดที่ใช้เป็นมาตรฐานในการรบอยู่ในปัจจุบัน เป็นจรวดแบบ
แรกที่กองทัพอากาศอเมริกันใช้กับ บ. ขับไล่แบบ “สกัดกั้น”(Interceptor Aircraft) ทาการยิงเปูาหมายจาก
อากาศสู่อากาศหรือ อากาศสู่พื้นดิน จรวดนี้มีน้าหนักประมาณ ๑๘.๕ ปอนด์ บ. ขับไล่สกัดกั้นสามารถบรรทุก
ไปได้มากว่า ๑๐๐ ลูก จรวดมีความเร็วมากกว่า ๒,๐๐๐ ฟุต/วินาที ระยะยิงไกลสุดประมาณ ๕ ไมล์
จรวดอากาศขนาด ๒.๗๕” ยาว ๔๘ นิ้ว (รวมทั้งหางที่พับแล้ว) มีเส้นผ่าศูนย์กลาง ๒.๗๕” และ
น้าหนักหัวรบทั้งชนวน ๖.๕ ปอนด์ ใช้ยิงจากจากเครื่องบินโดยบรรจุไว้ในเครื่องยิง (Launcher)

รูปที่ ๔ จรวด ๒.๗๕”FFAR


Dimensions And Operating Characteristics Of a Typical Complete Round And Listed
Below
Length Of Complete Rocket:
With Standard Warhead (M151) 52.81 IN
With Elongated Standard Warhead / (XM 229) 62.81 IN
Length Of Rocket Motor 39.36 IN
Overall Diameter 2.75 IN
Weight, LoadedComplete Rocket:
With Standard War head (M151) 20.56 Lb.
With Elongated Standard War head (XM 229) 27085 Lb.
Firing And Storage Temperature Range - 65 F TO + 150 F
Recommended Firing Current 3.0 AMPS
Minimum Firing Current 1.5 AMPS FOR 10 MILLISECONDS
Igniter Circuit Resistance (MK 125 MOD 5) 0.70 TO 2.00 OHMS
Maximum Velocity Static (Static Launch) 2100 F/S

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
จรวดอากาศ ๖

Maximum Effective Range


(With10 – Pound Warheads)
Area Target 3000 M.
Point Target 1500 M.
๕.๒ ส่วนประกอบต่างๆ ของจรวด ๒.๗๕ นิว้ FFAR (Component)
๕.๒.๑ ชนวน Fuzeเป็นกลไกชนิดหนึ่งทาง Mechanic ที่ทาให้จรวดเกิดการระเบิดขึ้น
การทางานของชนวนชนิดต่างๆ
ก. Fuze MK 176 PD (Point Detonating) ชนิดถ่วงเวลาเล็กน้อย ตัวชนวนสร้าง
ด้วยเหล็กเป็นรูปทรงกรวยยาว ๒.๗๕”
- ขบวนการจุด Firing Mechanism/Arming Mechanism Primer Delay–
Element Detonator Lead– In and Booster
- Armด้วยอัตราเร่งประมาณ ๒๐ G (Travel at least 500 Ft.)
- Delay–Element Provide .0004 Sec. มีไว้เพื่อถ่วงเวลารอจนกระทั่งจรวดทะลุ
เปูาหมาย จึงเกิดการระเบิดขึ้น
- ประกอบกับหัวรบ MK1
ข. Fuze MK 178 PD (Point Detonator) รูปร่างลักษณะ เหมือนกับ Fuze
MK176 PD
- ขบวนการจุด Firing Mechanism/Arming Mechanism Primer Delay (Flash
Tube = Primer) Detonator Lead– In and Booster
- Armด้วยอัตราเร่งประมาณ ๒๐ G.
- ประกอบกับหัวรบแบบ MK1
หมายเหตุMaximum Arming App. (T.O. ไม่ระบุ)
ค. Fuze M427 (Super Quick Impact Actuated) รูปร่างทรงกระบอกครอบ
หัวมน
- ชนวนมีความไวต่อการกระทบกระแทก
- ขบวนชนวน Mechanism/Arming Mechanism PrimerDetonator Lead– In
and Booster
- Maximum Arming App. 500-1200 FT. (200-360 Meter)
- ประกอบกับหัวรบแบบ MK1, MK151, MK156
หมายเหตุ ชนวนนี้แตกต่าง FuzeM423 ตรงที่โครงสร้างภายในออกแบบไว้เพื่อให้ระยะเวลาในการ
Arm และระยะทางการ Arm นาน และยาวนานกว่าชนวน FuzeM423 เพื่อใช้กับ บ. ความเร็วสูง
ง.Fuze MK181, PD (Point Detonation Fuze) รูปร่างลักษณะภายนอกคล้าย
กับ Fuze MK176/178
- ขบวนการจุด Primer Detonator Rotor Lead In and Booster ใน (รูป
Shape Charge)
- ARM ด้วยอัตราเร่ง
- ชนวนนี้ไวต่อการกระทบกระแทกโดยเฉพาะ Primer
- ไม่มีเข็มแทงฉนวน

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
จรวดอากาศ ๗

-ประกอบหัวรบหัวรบแบบ MK5 (Heat) โดยเฉพาะ


จ. Fuze Detonating: Integral With Warhead WDU-4A/A
- เป็นชนวนท้ายที่ประกอบกับหัวรบแบบ Flechettes
- ทางานแบบ Igniter Expelling Charge(ในอากาศ)
- Arming Distance 43 – 92 Meter
หมายเหตุ ไม่มีการถอดประกอบชนวน เพราะประกอบเรียบร้อยมาจากโรงงาน

รูปที่ ๕ ๒.๗๕”FFAR Warhead and Fuze


คุณลักษณะทั่วไปของฉนวนแบบต่างๆ
รายละเอียด M176 M427,M423 MK181
Weight 0.75 Lb. 0.62 Lb 0.82 Lb
Length 2.11 IN 3.2 IN -
Overall Length 3.01 IN 4.00 IN 3.37 IN
Diameter - 1.70 -
ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
จรวดอากาศ ๘

Temp , Limits - -65 TO + 165 F -


Exp,Booster Tetryl Tetryl M122 RDX,
Arming Distance 120-410 M. 200-360 M. Mix Shape Charge
(M427)
43-92 M. (M423) -
Total Exp.Weight 11 Grain 9 Grain -
Delay .0004 Sec. - -

๕.๒.๒ หัวรบ (Warhead)สร้างด้วยเหล็ก ลักษณะด้านหน้าส่วนหัวเป็นช่องกลวงมีเกลียว


(Fuze Seat Liner) เพื่อใช้สาหรับประกอบชนวน (Fuze) ส่วนด้านหลังหรือส่วนท้ายภายนอกเป็นเกลียว เพื่อ
สาหรับประกอบเข้ากับ Head Closureที่ลาตัวจรวด Motorส่วนภายในลาตัวของหัวรบบรรจุด้วย
- วัตถุระเบิดแรงสูง HE. (High Explosive)
- สารเคมี Chemical
- สารเฉื่อย Inert
หัวรบแต่ละแบบแยกออกเป็น
ก. หัวรบ Warhead MK-1 (HE)ความมุ่งหมายโดยทั่วไปของการใช้หัวรบแบบบรรจุวัตถุ
ระเบิดแรงสูง (HE) แบบนี้นั้นก็เพื่อให้อานาจการระเบิดผลักดัน (Blast) และสะเก็ด (Frag)
- บรรจุวัตถุระเบิด HBX-1 = 1.4 Lb.
- Fuze MK 176
MK 178
MK 423, Super quick Impact
M 427, Super quick Impact
- ความมุ่งหมาย Air To Air, AirTo Ground
ข.หัวรบ Warhead M151, HE : PMI (Pearite Malleable Iron)รูปร่างทรงกระบอกยาวเพรียวที่
ส่วนหัว ความมุ่งหมายโดยทั่วไป การใช้หัวรบแบบนี้บรรจุวัตถุระเบิดแรงสูง (HE) ไว้จานวนมาก เพื่อให้เกิด
อานาจการผลักดัน (Blast) นั้นเอง
- บรรจุวัตถุระเบิด Comp.B4 = 2.3 Lb.
- Fuze M427 Super quick Impact
- ใช้แทนหัวรบแบบ MK-1 ได้
- ความมุ่งหมาย Air To Ground
ค. หัวรบ Warhead MK5 Heat (High Explosive Antitank) รูปร่างภายนอกคล้ายหัวรบ
แบบ MK-1 ความมุ่งหมายโดยทั่วไป ก็เพื่อจะใช้ทะลุทะลวงเปูาหมายที่เป็นเกราะหรือเหล็กหนา ภายในลาตัว
หัวรบแบ่งออกเป็น ๔ ส่วน ได้แก่
๑. เปลือกเหล็ก
๒. Shaped Charge Cone
๓. Explosive Filler
๔. Booster Pellet

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
จรวดอากาศ ๙

วัตถุระเบิดแรงสูงที่บรรจุอยู่เป็นรูปกรวย Shaped Chargeเมื่อเกิดการระเบิดขึ้นวัตถุระเบิด


รูปกรวย Shaped Chargeรวมตัวการให้อานาจการผลักดันและความร้อนสู งมาก เป็นกระแสเจ็ท (Jet
Streamer) ทะลุทะลวงต่อเปูาหมาย
- บรรจุวัตถุระเบิด COMP.B=0.9 Lb.(Shaped Charge)
- Fuze,MK181โดยเฉพาะ
- ความมุ่งหมาย Air To Ground
ง. หัวรบ Warhead M156 Smoke (WP) บรรจุสารเคมี (Chemical)รูปร่างลักษณะ
ภายนอกเหมือนหัวรบ M151, HE (Pmi) ความมุ่งหมายโดยทั่วไปเพื่อใช้ในการชี้เปูาหมายและให้เกิดเพลิง
ภายในบรรจุสารเคมี ได้แก่ WP, (White Phosphorus) และบรรจุวัตถุระเบิด HE ในแนวแกนกลางจานวน
น้อย Burster Chargeรองเพื่อให้อานาจการผลักดันให้สารเคมี WP. กระจายออกคลุมเปูาหมาย
- บรรจุสารเคมี WP=2.1 Lb
-บรรจุวัตถุระเบิด HE, Burster Charge Comp. B4=2 OZ
- Fuze M427 Super Quick Impact
- Air To Ground

รูปที่ ๖ หัวรบM156 Smoke (WP) และ หัวรบ WDU-4A/A


ซ. หัวรบ Warhead Flechette WDU-4A/Aหัวจรดสมบูรณ์พร้อมชนวน (Completed) เป็น
จรวดสังหารบุคคล (Anti personal) โดยมี Flechette ลูกดอกบรรจุอยู่ภายในหัวรบแบ่งออกเป็น ๓ ส่วน
๑. ส่วนหัวเป็น Plastic Cone ชุดหัวครอบยึดด้วย Shear Pin ๔ ตัว
๒. ลาตัวเป็น Aluminumเป็นที่เก็บ Flechette เรียงตามแนวนอน
๓. ส่วนท้ายเป็นชนวนท้าย Base Detonating Fuzeเป็นตัวจุด Explosive Chargeกับ
Flechette
- บรรจุ Flechette =๒๒๐๐ ดอก
- ประกอบชนวนพร้อมชุดมาจากโรงงาน (ไม่มีการถอดประกอบชนวนก่อนใช้งาน)
- ใช้ชนวนท้าย Base Detonating Fuze Integral With Warhead WDU-4A/A

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
จรวดอากาศ ๑๐

- การทางานของชนวนแบบ Expelling Charge


- Air To Ground

รูปที่ ๗ หัวรบ WDU-4A/A พร้อมชนวน


หมายเหตุ ต่างกับหัวรบ Warhead Flechette WDU-4/A ก็คือ Flechetteไม่เท่ากับแบบ WDU-
4/A บรรจุ Flechetteจานวน ๖,๐๐๐ ดอก
ฉ. หัวรบ Warhead Practice WTU-1/Bเป็นหัวรบที่ใช้ในการฝึก รูปร่างลักษณะเป็นโลหะ
หล่อชิ้นเดียวตลอด รวมถึงตัวชนวนด้วย เลียนแบบ Warhead M151
หมายเหตุ มีใช้อยู่ใน ทอ. ไทย
๕.๒.๓ Motor Assemblyลาตัวจรวดสร้างด้วยอลูมิเนียมผสม เป็นรูปทรงกระบอกไม่มี
ตะเข็บอลูมิเนียมหนา ๐.๐๗๒ นิ้ว และยาว ๓๒ นิ้ว ความยาวของเส้นผ่าศูนย์กลางถึงผิวนอก ๒.๗๕ นิ้ว
ลาตัวด้านหน้าผิวภายในโดยรอบมีช่องสาหรับใส่ Lock-Wireเพื่อยึด Head Closureให้แน่นติดกับลาตัว
ด้านหน้า ทางปลายหลัง ของลาตัวที่ผิวในก็มีร่องสาหรับใส่ Lock-Wireทั้งนี้ เพื่อที่จะทาการยึดชุดหางและรู
พ่นให้แน่นสนิทอยู่กับลาตัวจรวดตอนท้ายและยังมีส่วนประกอบภายในดังนี้
ก. Head Closureสร้างด้ว ยเหล็ กเป็นรูปถ้ว ย ความยาวประมาณ ๒.๕๐ นิ้ว และมี
เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๒.๕๐ นิ้ว Closure นี้ประกอบติดแน่นอยู่ในลาตัวด้านหน้า โดยให้ด้านเปิดหัน
ออกไปทางด้านหน้า ซึ่งจะต้องนาหัวจรดเข้ามาประกอบทางด้านของ Closureนี้ที่ผิวนอกจะทาเป็น ร่องไว้
โดยรอบ และที่ร่องนี้จะมียางเป็นรูปวงแหวน (O-Ring) ประกอบอยู่ด้วย O-Ringทาหน้าที่ปูองกันแก๊สซึ่งเกิด
จากการเผาไหม้ของดินขับ มิให้รั่วออกข้างนอกได้ และนอกจากนี้ยังเป็นตัวปูองกันความชื้น จากภายนอกที่จะ
ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
จรวดอากาศ ๑๑

เข้าไปในลาตัว ในขณะเก็บรักษาด้านหลังหรือด้านปิดของ Closureนั้น มี Blowout Diaphragmซึ่งทาหน้าที่


ลดความอัดภายในลาตัว ในกรณีที่ดินขับถูกจุดขึ้นโดยบัง เอิญในขณะลาเลียง หรือในขณะเก็บในคลัง ภายใน
Closureจะทาเกลียวไว้สาหรับรองรับเกลียวหัวรบในการประกอบเป็น Complete Round
ข. Propellant Grain ดินขับที่ประกอบอยู่ภายในลาตัวจรวด ๒.๗๕ นิ้ว แบบ MK2, MK3
MK40 และ MODS เป็นชนิด Double Baseซึ่งได้กล่าวมาแล้วการไหม้ของดินขับไหม้เฉพาะด้านในออกมา
ส่วนผิวกายนอกห่อหุ้มไว้ด้วย Plasticซึ่งเป็นตัวกันไฟมิให้ไหม้จากภายนอกเข้าไป ดินขับจรวดซึ่งได้ปรับปรุง
แก้ไขให้ดีขึ้นนั้น ได้แก่ ดินขับภายในลาตัวจรวด แบบ MK2 MK3 และ MK4 Seriesดินขับเหล่านี้ลักษณะการ
เผาไหม้ของมันเป็นอย่างธรรมดา แม้ ว่าอุณหภูมิจะเปลี่ยน ซึ่งแตกต่างกับดินขับจรวด MK1 Seriesซึ่งยังมิได้
ดัดแปลงแก้ไข
ค. End Sleeveเป็นรูปทรงกระบอกติดแน่นอยู่กับส่วนท้ายของดินขับมียางอัดรูปวงแหวน
ประกอบอยู่ โดยรอบตัวของมัน ยางรูปวงแหวนนี้ จะทาหน้าที่ปูองกันแก๊ส รั่ว ออกมาตามช่องระหว่างผิ ว
ภายนอกของดินขับกับผิวภายในของลาตัวจรวด เป็นการปูองกันความร้อนให้แก่ลาตัวจรวด ณ ตาบลนั้น หาก
ว่าได้รับความร้อนสูงเกินควร และยางรูปวงแหวนนี้ยังเป็นตัวรองรับดินขับให้หยุ่นตัวในขณะที่จรวดมีอัตราเร่ง
ขณะยิงได้ด้วย
ง. Charge Support Ringเป็นรูปทรงกระบอกกลวงยืดหยุ่นได้ทาด้วย Fiberติดตั้งไว้ที่
ด้านหน้าของดินขับนี้ ทาหน้าที่สองอย่าง คือ
๑. ทาหน้าที่เป็นตัวเบ่งคลายสปริง เพื่อให้ดินขับแน่นตัวอยู่ตลอดเวลาภายในลาตัว
จรวด
๒. ทาหน้าที่คล้าย Shock Absorberให้แก่ดินขับในเมื่อทาลาตัวจรวดตกหล่น
ปัจจุบันได้เปลี่ยนไปใช้Charge SupportSpring ทดแทน
จ. Charge Support Discคือเบาะรองระหว่างเครื่องจุดจรวดกับท้ายของ Head Closure
ทาด้วย Glass Fiber
ฉ. Spacerเป็นเหล็กรูปวงแหวนคู่ มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๒ ๑/๒นิ้ว ติดตั้งประกอบไว้
ระหว่าง Charge Support Ringกับด้านหน้าของแท่งดินขับ
ช. Igniterเครื่ องจุ ด บรรจุไว้ ในกระป๋องแบน ๆ หนาประมาณ ๐.๕๐” และมีเ ส้ นผ่ า น
ศูนย์กลาง ๑.๕๐” ภายในกระป๋องเครื่องจุดมีส่วนผสมของ Black Powderและ Magnesiumมี Electric
Sqiub ประกอบอยู่ในส่วนผสมดังกล่าวแล้ว เพื่อใช้เป็นเครื่องจุดจรวดสายไฟ ๒ สาย ของ Sqiub ผ่านมายังรู
กลวงของดิ น ขั บ รู พ่น ที่ป ระกอบอยู่ ที่ชุ ดหางแยกสายไฟสายหนึ่ง เชื่อ มติ ดไว้ที่ แผ่ น Plateของรู พ่น ทาให้
Groundส่วนอีกสายหนึ่งผ่านรูพ่นหนึ่งออกไปที่ปลายสายไฟนี้จะมี Firing Contact Disc ประกอบอยู่ด้วย
หนึ่งอันซึ่งมันจะรวมอยู่ที่ปลายกึ่งกลางของแฉกหางทั้งสี่ที่พับอยู่

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
จรวดอากาศ ๑๒

รูปที่ ๘ ส่วนประกอบและชิ้นส่วนประกอบของจรวด ๒.๗๕”

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
จรวดอากาศ ๑๓

หมายเหตุ ลาตัวจรวด (Rocket Motor) ที่ใช้ใน ทอ.ไทย แบ่งออกเป็น ๒ แบบ คือ


๑. Motor 2.75 InchRocket MK4 Mods 1-8 AND 10
- ลาตัวจรวดที่รูพ่น (Nozzle) เป็นแบบตัดตรง (Straight) ใช้กับ บ. ที่มีความเร็วสูง
ห้ามไปใช้กับ บ. ที่มีความเร็วต่า
๒. Motor 2.75 Inch Rocket MK40, MOD 0, 1 และ 3
- ลาตัวจรวดที่รูพ่น (Nozzle) เป็นแบบตัดเฉียง Scarfedเหมาะสาหรับ บ.ปีกหมุน
และ บ. ที่มีความเร็วต่า
๕.๒.๔ ส่วนประกอบของชุดหางและรูพ่น(Nozzle Fin Assembly) ชุดหางและรูพ่น ซึ่งเป็น
ส่วนประกอบที่สาคัญอันหนึ่งประกอบไว้ที่ตอนท้ายของลาตัวจรวด Nozzle Plateเป็นรูปถ้วยเหล็ก มีรูพ่น
ประกอบอยู่ด้วยกันทั้งหมด ๔ รู ตอนกลางระหว่างรูพ่นทั้ง ๔ นี้ มีเหล็กรูปกากะบาด ซึ่งเป็นตัวบังคับให้ครีบ
หางทั้ง ๔ แฉก อ้าออก ในขณะที่จรวดถูกจุดเรียกว่า “Fin Actuating Mechanics” มีแฉกหางทั้ง ๔ แฉก
ติดโดยรอบระหว่างช่องว่างของรูพ่นทั้ง สี่โดยแฉกหางยึดหางรวมทั้งแผ่นเชื่อมทางไฟ (Fin Retainer and
Contact Disc) อยู่ด้วย ซึ่งจะได้กล่าวถึงรายละเอียดของแต่ละอย่างต่อไปนี้
ชุดประกอบของหางมีดังนี้
ก. Nozzle Plate หรือแผ่นปิดท้ายรูปร่างคล้ายถ้วยทาด้วยเหล็กยาว ๑.๕๐” มีเส้นผ่าน
ศูน ย์ กลาง ๒.๗๕” ที่ก้ น ถ้ ว ยมี รู พ่ น ประกอบอยู่ต อนกลางระหว่า งรู พ่น ทั้ง สี่ นี้ จะมี โ ลหะรูป ทรงกระบอก
ประกอบอยู่ด้วย ซึ่งทาหน้าที่คล้ายกระบอกสูบของ Fin Actuating Mechanics เรียกว่า “Fin Actuating
Cylinder” ซึ่งรูพ่นปิดไว้ด้วยฝาปิด รูปถ้วยทาด้วยเหล็กบางเพื่อปูองกันความชื้นและสิ่ง ภายนอกจะเข้าไป
ภายใน เช่นเดียวกับ Head Closureซึ่งกล่าวมาแล้ว ตัวNozzle Plateจะมีร่องวงกลมอยู่ผิวภายนอกสองร่อง
ร่องหนึ่งตอนปลายปากถ้วยสาหรับใส่ยางวงแหวนรูปตัวโอ (O-Ring) เพื่อปูองกันแก๊สรั่ว และอีกร่องหนึ่ง
สาหรับใส่ Lock Wireให้แน่น เมื่อนา Nozzle Plateเข้าประกอบกับลาตัวจรวดอย่างไรก็ดี Nozzle Plate
หรือถ้วยปิดท้ายจรวดนี้ยังมีร่องอีกร่องหนึ่งเป็นร่องใหญ่อยู่ที่บริเวณก้นถ้วยกับบริเวณครีบหางทั้ง ๔ ครีบ ต่อ
จากร่ อ งทั้ ง สองที่ ก ล่ า วแล้ ว เป็ น ร่ อ งที่ เ ซาะไว้ ลึ ก และขอบร่ อ งสู ง กว่ า ผิ ว ภายนอกของล าตั ว จรวด คื อ มี
เส้นผ่าศูนย์กลางของขอบร่องเกินกว่า ๒.๗๕” เล็กน้อย ทั้งนี้ ต้องการที่จะให้ตัวจรวดมีความฝืดเล็กน้อย
ระหว่างที่บรรจุในท่อเครื่องยิง กับ Nozzle Plate ของจรวดทาให้จรวดแน่นอยู่กับที่ของมันที่เครื่องยิง ร่องนี้
เราเรียกว่า Launcher Latch RetainingGrooveภายในท่อเครื่องยิงจะมีแผ่นโลหะ ซึ่งจะเกาะเข้ากับร่องลึกนี้
พอดี ปูองกันจรวดหลุดออกมาจากท่อก่อนทาการยิง
ข. Fin Actuating Mechanismหรือกลไกบังคับครีบหาง ประกอบด้วยตัวกระบอกสูบและ
ลูกสูบ ซึ่งทาด้วยเหล็ก ที่หัวลูกสูบจะผ่าเป็นรูปไว้คล้ายกับสลักหัวผ่าธรรมดาโดยรอบหัวลูกสูบจะมีร่อง และ
ร่องนี้จะมียางรูปวงแหวนประกอบไว้ ทาให้หัวลูกสูบรัดกระบอกสูบแน่นพอดีที่แก๊สอันเกิดขึ้นจากการเผาไหม้
ของดินขับไม่สามารถเล็ดลอดออกไปได้
เมื่อดิน ขับ จรวดถูกจุ ดขึ้น แก๊สจากการเผาไหม้ของดินขับไม่ส ามารถเล็ ดลอดออกไปได้
ปลายด้านหนึ่งของก้านสูบ มีเหล็กรูปกากบาท (Crosshead) ประกอบอยู่และขันแน่นไว้ด้วยแปูนเกลียว จะ
ถอยหลังไปพร้อมกับก้านสูบ Crossheadก็จะไปดันเข้าที่แง่ของโคนครีบหาง ทาให้ครีบหางกางออกเมื่อปะทะ
กับกระแสอากาศ Crossheadจะถอยหลังเพื่อดันให้ครีบหางกางออกตามหน้าที่ของมัน ดังนั้นครีบหางก็จะ
กางออกและปะทะกับกระแสอากาศที่ พัดผ่าน ทาให้จรวดสามารถทรงตัวแล่นไปตามวิถีของมันครีบหางคง
กางอยู่ตลอดเวลาจนกว่าการเผาไหม้ของดินขับจะหมดสิ้น
ค. ครีบหางทาด้วยอลูมิเนียมผสมเป็นแผ่นบาง ยาว ๖.๕๐ นิ้ว กว้าง ๑.๒๕ นิ้ว ตอนโคนหาง
หนารีดบางไปเรื่อย ๆ จนถึงปลายหาง ขอบหน้าและชายหลังของครีบหางทาบาง ๆ โดยหางยึดไว้ด้วยสลักติด

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
จรวดอากาศ ๑๔

กับ Nozzle Plateทาให้หางสามารถพับเก็บและกางออกได้ หางเมื่อพับเข้าที่แล้ว คือพับยื่นไปทางหลังก็จะมี


เส้นผ่าศูนย์กลาง ๒.๗๕” เท่ากับล าตัวของจรวดปลายหางทั้งสี่จะเจาะร่องไว้เพื่อนาเอา Fin Retainer
ประกอบเข้าไว้ได้และชายหลังของครีบหาง ณ บริเวณใกล้ๆ กับปลายครีบหางก็เจาะร่องไว้เช่นกัน เพื่อให้ปุม
พลาสติกของ Fin Retainerเข้าไปในร่องนั้นได้ ที่โคนครีบหางด้านในทาให้กว้างเพียงเล็กน้อย คือกว้างไม่
เท่ากันความกว้างของครีบหางส่วนอื่น ๆ ทั้งนี้ เพราะต้องการให้สามารถพับเข้าที่ไม่ติดกับรูพ่น และพ้นจาก
Exhaust Blastในขณะครีบหางกางออกแล้ว
ง. Fin Retainerเป็นแผ่นครอบอลูมิเนียมหรือพลาสติกรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ซึ่งมีด้านแต่ละด้าน

กว้าง ๑๑ /๔ นิ้ว รวมยึดเข้าร่องไว้ที่ปลายครีบหาง มีหน้าที่ยึดหางให้อยู่ในลักษณะพับได้ตลอดเวลาที่จรวดยัง
มิได้ยิง แผ่น Retainerนี้ประกอบด้วยฉนวนกันไฟ แผ่นแคชเมี่ยม และ Contact Discซึ่งทาด้วยทองเหลือง
หรือโลหะ ซึ่งมีสายไฟของเครื่องจุดติดอยู่
จ. ข้อพึงระวังในการเก็บรักษาและปฏิบัติเกี่ยวกับจรวดอากาศขนาด ๒.๗๕”
คาเตือนและข้อพึงระวังต่อไปนี้ จะต้องปฏิบัติตามในระหว่างเก็บรักษาและการขนย้ายจรวด
๑. อุณหภูมิภายในคลังจะต้องอยู่ระดับคงที่และจะต้องเป็นอุณหภูมิจากัดอันหนึ่ง ซึ่ง เหมาะกับพัสดุ
ที่เก็บไว้
๒. ลาตัวจรวดต้องไม่เก็บไว้ในอาคารเดียวกันหรือใกล้กับอุปกรณ์อย่างอื่น
๓. อย่าเก็บลาตัวจรวดไว้ใกล้กับแผงเครื่องวัดไฟฟูาหรือใกล้กับสายไฟฟูาที่ใช้งานเครื่องส่ งวิทยุหรือ
เรดาร์
๔. อย่าเก็บลาตัวจรวดไว้กลางแดดที่ร้อนจัด
๕. สาหรับจรวด Folding Fin Rocket หางจะต้องมี Fin Protector สวมไว้เสมอ
๖. Shorting Clip ที่ปลายสายจุดของจรวดจะถอดออกได้ต่อเมื่อจะบรรลุจรวดเข้าท่อเครื่องยิง และ
ใส่คืนดังเดิมเมื่อเลิกบรรจุและจะนาจรวดไปเก็บ
๗. อย่านาไฟเข้าใกล้ในระยะ ๒๐๐ ฟุต ณ บริเวณที่เก็บจรวด
๘. การปฏิบัติการใด ๆ เกี่ยวกับจรวด เจ้าหน้าที่จะเข้าไปยังบริเวณจะต้องมีจานวนจากัดแก่การ
ปฏิบัติงานเท่านั้น
๙. ถ้าล าตัว จรวดตกจากที่สู งไม่เกิน ๒ ฟุต ให้ ทาการตรวจสภาพภายนอกโดยทั่ว ไป หากว่าไม่
ปรากฏว่าเกิดการบุบสลายหรือชารุด ให้ถือว่าจรวดนั้นดีใช้ราชการได้
๑๐. ถ้าลาตัวจรวดตกจากที่สูงเกินกว่า ๒ ฟุต หรือมีการกระทบกระแทกโดยแรงเท่ากับการตกจาก
ที่สูงดังกล่าวนี้ ให้ถือว่าจรวดนั้นชารุด ห้ามใช้ และจะต้องแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาทราบ
๑๑. ในการขนย้ายลาตัวจรวดในเขตที่มีอากาศเย็น จะต้องเพิ่มความระมัดระวังเป็นพิเศษเพราะดิน
ขับจรวดเปราะง่ายและอาจจะแตกได้ ถ้าได้รับการกระทบกระเทือนมาก
๑๒. ถ้าลาตัวจรวดได้รับอุณหภูมิเกินกว่าที่จากัดไว้ จะต้องนาไปเก็บไว้ในที่ซึ่งมีอุณหภูมิจากัดแจ้งไว้
ที่ลาตัวของมันอย่างน้อย ๖ ชั่วโมง ก่อนนาไปใช้งาน
๑๓. จงอย่ายืนตรงบริเวณข้างหลังหรือข้างหน้าจรวดในขณะที่กาลังติดตั้งจรวดเข้ากับเครื่องยิงที่ บ.
หรือหลังจากติดตั้งแล้ว
๑๔. บ. ที่จะทาการติดตั้งจรวดจะต้องไม่หันหัวเครื่องไปทางอาคารที่ทาการและผู้คน
๑๕. อย่าทาส่วนหัวของชนวนกระทบกระเทือนหรือทาชนวนตกหล่น เพราะจะบุบสลายและอาจไม่
ทาการจุดระเบิดยิงที่หมาย
๑๖. เมื่อถอดครอบหางจรวดออกแล้ว จงระวังอย่าให้ Contact Disc ไปแตะต้องกับแหล่งกาเนิดไฟฟูา
สถิตเป็นอันขาด

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
จรวดอากาศ ๑๕

๑๗. ก่อนที่จะทาการติดตั้งจรวดเข้ากับเครื่องยิงจะต้องทาการ Ground ลาตัวจรวดทันทีเพื่อเป็น


การมิให้ไฟฟูาสถิตตกค้างอยู่ภายในจรวด
๑๘. ไฟฟูาสถิตซึ่งมีอยู่ในวงจรภายใน บ. ก็จะต้อง Ground เสียด้วยก่อนที่จะนาจรวดเข้าบรรจุใน
เครื่องยิง
๑๙. ห้ามทาการทดสอบใด ๆ เกี่ยวกับทางไฟจุดจรวดภายใน บ. อีกต่อไป หลังจากที่ได้ติดตั้งจรวด
เรียบร้อยแล้ว
๒๐. ต้องแน่ใจ และปฏิบัติตามข้อพึงระวังและคาเตือนทั้งหลายดังกล่าวมาแล้ว เพื่อเป็นการปูองกัน
อุบัติเหตุ
๖. การทาสีและการใช้ตัวอักษร (Painting& Marking For Aircraft Rocket)
จรวดเป็ น Ammunitionชนิ ดหนึ่ง ซึ่งจะมีชื่อ (Standard Nomenclature) และเลขงาน (Lot
Number) เขียนบอกไว้ที่หัว หรืออุปกรณ์ของมัน หรือไม่ก็มีอักษรเขียนบอกไว้ที่หีบห่อเพื่อให้ทราบชื่อ และ
ชนิดของจรวดนั้น
การทาสีและการเขียนอักษรหัวจรวด
ชนิดของหัวรบ ลาตัว สีคาด อักษร หมายเหตุ
วัตถุระเบิดแรงสูง(He) เขียวขี้ม้า เหลือง เหลือง คาดหัว – ท้าย
วัตถุระเบิดแรงสูง(Heat) เขียวขี้ม้าหรือดา - เหลือง -
สารเคมี (Smoke) เขียวอ่อน เหลือง เหลือง คาดหัว-ท้าย
Flechette WDU-4A/A เขียวขี้ม้า สี่เหลี่ยมขนม ขาว+น้าเงิน
เปียกปูนขาว
Practice(หัวฝึก) น้าเงิน ขาว

การทาสีที่หัวจรวดนั้น ก็มีความหมายเช่นเดียวกับ Ammunitionอื่น ๆ หรือลูกระเบิดโดยทั่ว ๆ ไป


กล่าวคือ เพื่อปูองกันสนิม เพื่อพรางและเพื่อแสดงให้ทราบว่าเป็น Ammunition ชนิดใด ซึ่งที่หัวจรวดก็ทาสี
(Painting) และมีตัวหนังสือ (Marking) แสดงไว้ดังกล่าวแล้วข้างต้น ส่วนการ Markingยังบอกรายละเอียดลง
ไปอีก คือบอก Type, Size, Modelและ Lot Number
สาหรับอุณหภูมิจากัด (Safe Temperature Limit) ของจรวดแต่ละนัดนั้น จะเขียนบอกไว้ที่ตัว
มอเตอร์ของจรวดแต่ละนัดที่หีบห่อ ซึ่งบรรจุตัวจรวดในการยิงหากว่าอุณหภูมิจากัดนี้มากเกินกว่าที่กาหนดไว้
แล้ว ตัวมอเตอร์อาจจะระเบิดขึ้น เนื่องจากมีความกดดันภายในสูง หากไม่มีการระเบิดก็จะเสียในทางขีปนวิธี
ได้ ดังได้กล่าวมาแล้วข้างต้น

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
จรวดอากาศ ๑๖

๗. คุณลักษณะที่ดี และข้อเสียของจรวด (Advantages And Dis-advantages Of


Rocket)
ก. คุณลักษณะที่ดีของจรวด
๑. มีอานาจในการระเบิดที่รุนแรง
๒. ไม่มีแรงสะท้อนถอยหลัง (Absence Recoil)
๓. สะดวกแก่การติดตั้ง

๔. Low Acceleration
๕. Launcherมีน้าหนักเบา
ข. ข้อเสียของจรวด
๑. มีประสิทธิภาพต่า เนื่องจากน้าหนักของ Motor
๒. มีอาการกระจายมาก
๓. ใช้ได้ในอุณหภูมิจากัด
๔. ไอร้อนที่พ่นออกมาข้างหลังอันตรายมาก

๘. ข้อควรระวังสาหรับจรวดอากาศ
ก. หัวรบสร้างขึ้นโดยมีชนวนท้ายประกอบไว้ด้วยจากโรงงานชนวนท้ายจะต้องอยู่ในที่ของมัน
ตลอดเวลา
ข. ห้ามสูบบุหรี่ใกล้ตัวมอเตอร์ เพราะดินขับจรวดไวไฟมาก
ค. อย่าถอดชนวนท้ายออกเป็นอันขาด ไม่ว่ากรณีใด ๆ
ง. แผ่นต่อทางไฟที่สายไฟจุดจรวดจะถอดออกได้ต่อเมื่อ Plugทางไฟจรวดนั้น พร้อมที่จะเสียกับขั้ว
ไฟแล้วเท่านั้น
จ. จงปฏิบัติตามข้อพึงระวังโดยทั่ว ๆ ไป สาหรับการปฏิบัติและการใช้กระสุนวัตถุระเบิดโดยถูกต้อง
ฉ. จรวดจะมีอานาจในการซัดพุ่งที่ได้ประกอบหัวรบเข้ากับตัวจรวดแล้ว ดังนั้นการประกอบจรวดจะ
กระทาแต่เพียงก่อนหน้าที่จะติดจรวดเท่านั้น สาหรับจรวดที่ประกอบขึ้นเรียบร้อยแล้ว ระวังอย่าให้ชี้ไปทางถัง
น้ามัน โรงเก็บวัตถุระเบิดหรือโรงเรือนใด ๆ เป็นอันขาดสาหรับเจ้าหน้าที่จงอย่ายืนข้างหน้าหรือข้างหลังจรวด
เป็นอันขาด
ช. สวิตซ์ในวงจรไฟฟูาที่จะยิงจรวดทุก ๆ อันจะต้อง Offให้หมดก่อนที่จะติดจรวดเข้ากับแผงและ
ก่อนที่จะเสียบขั้วไฟจุดจรวด ขั้วรับทางไฟ (Plug) ที่แผงหรือปีกของ บ. จะต้องได้รับการตรวจแล้ว และแน่ใจ
ว่าวงจรนั้นเปิดจริง และไม่มีไฟฟูาสถิต อยู่ ขั้วไฟจุดจรวดจะเสียบเข้าไปได้ก็ต่อเมื่อ บ. ได้ แท็กซี่ออกไปพ้น
จากลานจอด บ. และพร้อมที่จะวิ่งขึ้นได้แล้วเท่านั้น

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
จรวดอากาศ ๑๗

จรวดอากาศ ขนาด 2.75 นิ้ว แบบ CRV-7 (Wrap Around Fin)


ผู้ผลิต
Bristol Aerospace Limited, Canada
คุณลักษณะทั่วไป
ระบบจรวด CRV-7 (Canadian Rocket Vehicle 7) เป็นระบบจรวดขนาด ๒.๗๕ นิ้ว หางม้วน
(Wrap Around Fin) สามารถใช้กับหัวรบมาตรฐานขนาด ๒.๗๕ นิ้ว ได้แทบทุกแบบ
มอเตอร์ CRV-7 มี ๒ แบบ คือ
- RLU-5001/B หรือ C-14 ใช้ดินขับจรวดชนิด Compositeผสมผงอลูมิเนียมเป็นมอเตอร์
จรวดพลังงานสูง เพื่อใช้ยิงจาก บ.
- RLU-5002/B หรือ C-15 ใช้ดินขับจรวดชนิด Compositeไม่ผสมผงอลูมิเนียมเป็น
มอเตอร์จรวดลดควัน พลังงานน้อยกว่า C-14 ประมาณ ๕%เพื่อใช้ยิงจาก ฮ., จาก บ. หรือยิงพื้นสู่พื้น

รูปที่ ๙ RLU-5001/B, RLU-5002/B, Assembly-Fin Close


Launcherของระบบจรวดอากาศขนาด ๒.๗๕” แบบ CRV-7 ซึ่งอยู่ในสายการผลิตในขณะนี้
มี ๓ แบบ คือ
- LAU-5002 A/A เป็นชนิด ๖ ท่อยิง ใช้งานได้หลายครั้ง
- LAU-5003 A/A เป็นชนิด ๑๙ ท่อยิง ใช้งานได้ครั้งเดียว
- SUU-5003A เป็นชนิด ๔ ท่อยิง ลักษณะเช่นเดียวกับ SUU-20

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
จรวดอากาศ ๑๘

รูปที่ ๑๐ RLU-5001/B Aft Assembly – Fins Deployed


สมรรถนะ
๑.Total Impulseคือ โมเมนตัมทั้งหมดที่ดินขับสามารถให้กับจรวดได้จรวดใดที่ดินขับมี Total
Impulseสูงก็จะถูกขับเคลื่อนให้มีความเร็วสูง มีระยะยิงไกลกว่า
เปรียบเทียบ Total Impulse ของจรวดอากาศขนาด ๒.๗๕” แบบ CRV-7 กับจรวดแบบต่าง ๆ
ได้ดังนี้
จรวด Total Impulse
CRV-7 C-14 10315 NS (Newton Second)
CRV-7 C-15 9790 NS (Newton Second)
MK66 7120 NS (Newton Second)
MK4 / MK40 5250 NS (Newton Second)
๒.ความเร็ว จรวดอากาศขนาด ๒.๗๕”แบบ CRV-7 ใช้ดินขับพลังงานสูงให้ความเร็วของจรวดสูง
เพิ่มพลังงานจลน์ในการกระทบเปูาหมายขึ้นเป็นอย่างมาก ตัวอย่างเช่นเมื่อยิงจาก บ. ความเร็ว ๔๕๐ น๊อต
มุมดา ๓๐ ระยะ Slant Range๑๐,๐๐๐ Ftใช้หัวรบหนัก ๙.๓ ปอนด์ เปรียบเทียบความเร็วและพลังงานจลน์
กระทบเปูาของจรวด CRV-7 กับจรวดต่าง ๆ ได้ดังนี้
จรวด ความเร็วกระทบเปูา พลังงานจลน์ (คิดเฉพาะหัวรบ)
CRV-7 C-14 ประมาณ ๓,๐๐๐ Ft/Sec ๑.๕ Millon Ft. Lb
CRV-7 C15 ประมาณ ๒,๗๕๐ Ft/Sec ๑.๒ Millon Ft. Lb
MK66 ประมาณ ๑,๙๐๐ Ft/Sec ๐.๕ Millon Ft. Lb
MK4 / MK40 ประมาณ ๑,๓๐๐ Ft/Sec ๐.๓ Millon Ft. Lb
๓. ระยะยิง Slant Range จรวดอากาศขนาด ๒.๗๕” แบบ CRV-7 มีความแม่นยาและมีพลังงาน
เพียงพอที่จะใช้ยิงตามปกติได้จาก Slant Range๘,๐๐๐-๑๔,๐๐๐ Ft. และระยะยิงหวังผลไกลสุดที่มีใน
ตารางยิงจัดไว้ถึง ๑๙,๐๐๐ Ft.

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
จรวดอากาศ ๑๙

๔. ความแม่นยา จรวดอากาศขนาด ๒.๗๕” แบบ CRV-7 มีระบบจุดจรวด ระบบปล่อยจรวด


(Release System) และปริมาณ Total Impulseที่แน่นอนจึงมีความแม่นยาสูง
เปรียบเทียบค่าการกระจายของจรวดอากาศขนาด ๒.๗๕” แบบ CRV-7 กับจรวดแบบต่าง ๆ ได้ดังนี้
จรวด การกระจาย(Dispersion)
CRV-7 ประมาณ ๕ Mils(วัดจากการยิง Ripple๑๙ นัด)
MK-66 ประมาณ ๓ Mils
MK4 / MK40 ประมาณ ๙ Mils
๕. อายุการเก็บรักษา จรวดอากาศขนาด ๒.๗๕” แบบ CRV-7 มีอายุการเก็บรักษาได้นาน ๑๐ ปี ใน
สภาพที่เหมาะสม (อุณหภูมิเฉลี่ยไม่เกิน ๒๒◦C อุณหภูมิสูงสุดไม่เกิน ๖๖◦C (๑๕๐ ◦F) ต่าสุดไม่ต่ากว่า-๕๔◦C
โดยจรวดอยู่ในหีบห่อจากโรงงาน)
๖. การรับรองการใช้จรวด จรวดอากาศขนาด ๒.๗๕” แบบ CRV-7 ได้ผ่านการรับรองใช้ และผ่าน
การทดลองยิงแล้วจาก บ. แบบต่าง ๆ ดังนี้
บ. F-18, F-16, F-4, A-4, A-6, A-7, AV-8B, CF-104, CF-5, F-5E/F, S-2, DH Twin Otter, Hunter,
Mirage lll และ G-91
ฮ. BO-105, UH-1D, UH-58
๗. หัวรบ จรวดอากาศขนาด ๒.๗๕” แบบ CRV-7 สามารถใช้กับหัวรบ ๒.๗๕ นิ้ว มาตรฐานแบบ
ต่าง ๆ ได้เช่น
หัวรบ ชนิด
WTU-1/B ฝึก
WTU-5001/B ฝึก
M151 HE
M156 Smoke
M247 HEDP (High Explosive Dual Purpose)

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
จรวดอากาศ ๒๐

RLU-5001/B Rocket Motor

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
จรวดอากาศ ๒๑

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
จรวดอากาศ ๒๒

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
จรวดอากาศ ๒๓

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐

You might also like