Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 150

Chemical Bond

แรงยึดเหนี่ยวอนุภาคของสาร

แรงยึดเหนี่ยวภายในโมเลกุล
พันธะโคเวเลนต์ , พันธะไอออนิก, พันธะโลหะ
แรงยึดเหนี่ยวทางเคมี

แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
แรงแวนเดอร์วาลส์ , พันธะไฮโดรเจน
แรงดึงดูดระหว่างขั้ว
พันธะเคมีภายในอะตอม
พันธะไอออนิก (Ionic bond)
พันธะโควาเลนต์ (Covalent bond)
พันธะโลหะ (Metal bond)
พันธะไอออนิก (Ionic bond) : เป็นพันธะที่เกิดจากแรงกระทา
ระหว่างอะตอม 2 อะตอมที่มีประจุต่างกัน โดยจะเกิดการแลกเปลี่ยน
อิเล็กตรอนเกิดขึ้น ทาให้เกิดแรงดึงดูดทางไฟฟ้าสถิตระหว่างประจุที่
ต่างกัน โดย
atom ที่ สูญเสีย e- จะกลายเป็น อิออนบวก (Cation)
atom ที่ รับ e- จะกลายเป็น อิออนลบ (Anion)
3
Properties of Molecules
5
พันธะโคเวเลนต์
พันธะโคเวเลนต์ (Covalent bond) หมายถึง
พันธะที่ใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน

การเกิดพันธะโคเวเลนต์
นิวเคลียสของอะตอมทั้งสองจะต้องเข้ามาอยู่ใกล้กันในระยะที่
เหมาะสม เพื่อทาให้แรงดึงดูดทั้งหมดของระบบเท่ากับแรงผลัก
ทาให้อยู่ในภาวะสมดุลกัน รวมทั้งมีการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเกิดเป็นโมเลกุล
เรียกว่า เกิดพันธะโคเวเลนต์
ธาตุที่จะเกิดพันธะโคเวเลนต์

ส่วนมากเป็นธาตุอโลหะกับอโลหะ , อโลหะกับกึ่งโลหะ

เนื่องจากธาตุอโลหะมีพลังงานไอออไนเซชันค่อนข้างสูง
จึงเสียอิเล็กตรอนได้ยาก
ใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเกิดเป็นพันธะโคเวเลนต์
แรงยึดเหนีย่ วระหว่าง อะตอม

• แรงดึงดูด

• แรงผลัก
Hydrogen bonding
กฎ ออกเตต
Noble N oble gas
In 1916, Gilbert N. Lewis pointed gas notation
out that the lack of chemical reactivity He 1s2
of the noble gases indicates a high Ne [He]2s 2 2p 6
degree of stability of their electron Ar [N e]3s 2 3p6
Configurations Kr [A r]4s 2 4p6
Xe [Kr]5s 2 5p6

the octet rule – อะตอมหรือไอออน ที่มก


ี ารจัดเรียง
อิเล็กตรอนตามแบบก๊าซเฉือ
่ ย โดยจานวนอิเล็กตรอนวงนอก
เท่ากับแปด
วิธีเขียนสูตรโครงสร้างของโมเลกุลโคเวเลนต์
ก. สูตรโครงสร้างแบบจุด
.
ใช้จุด ( ) แทน เวเลนซ์อิเล็กตรอน
1. อะตอมของธาตุก่อนเกิดปฏิกิริยาให้เขียนแยกกัน
และ เขียนจุดแสดงเวเลนซ์อิเล็กตรอนล้อมรอบสัญลักษณ์
ของธาตุ
.
2. เมื่ออะตอม 2 อะตอมสร้างพันธะโคเวเลนต์ ให้เขียนจุด ( ) ไว้
ระหว่างสัญลักษณ์ของอะตอมคู่ร่วมพันธะ
ข. สูตรโครงสร้างแบบเส้น
ใช้เส้นตรง 1 เส้น ( ) แทน อิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกัน 1 คู่

ใช้เส้นตรง 2 เส้น ( ) แทน อิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกัน 2 คู่


ใช้เส้นตรง 3 เส้น ( ) แทน อิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกัน 3 คู่

ให้เขียนไว้ระหว่างสัญลักษณ์ของอะตอมคู่ร่วมพันธะ
ชนิดของพันธะโคเวเลนต์
พิจารณาจากจานวนอิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกันของอะตอมคู่ร่วมพันธะ ดังนี้
ก. พันธะเดี่ยว
เกิดจากอะตอมคู่สร้างพันธะทั้งสอง ใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน 1 คู่
ใช้เส้น 1 เส้น ( ) แทนพันธะเดี่ยว เช่น
Cl Cl

H N H
H
ชนิดของพันธะโคเวเลนต์
พันธะเดี่ยว(Single bond)
ข. พันธะคู่
เกิดจากอะตอมคู่สร้างพันธะทั้งสอง ใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน 2 คู่
ใช้เส้น 2 เส้น ( ) แทนพันธะคู่ เช่น

O O

O C O
H C C H
H H
ชนิดของพันธะโคเวเลนต์
พันธะคู(่ Double bond)
ค. พันธะสาม
เกิดจากอะตอมคู่สร้างพันธะทั้งสอง ใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน 3 คู่
ใช้เส้น 3 เส้น ( ) แทนพันธะสาม เช่น

N N

H C N
ชนิดของพันธะโคเวเลนต์
พันธะสาม(Triple bond)
ข้อยกเว้นสาหรับกฎออกเตต
โมเลกุลโคเวเลนต์จะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็นไปตามกฎออกเตต
ซึ่งทาให้สารประกอบอยู่ในสภาพที่เสถียร แต่อย่างไรก็ตามพบว่า
สารประกอบบางชนิด มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนไม่เป็นไปตามกฎออกเตต
จัดเป็นข้อยกเว้นสาหรับกฎออกเตต
ก. พวกที่ไม่ครบออกเตต
ได้แก่ สารประกอบของธาตุในคาบที่ 2 ของตารางธาตุ
ที่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนน้อยกว่า 4 เช่น Be B
ตัวอย่าง BeCl2 BeF2 BF3 BCl3
ข. พวกที่เกินออกเตต
ได้แก่ สารประกอบของธาตุที่อยู่ในคาบที่ 3 ของตารางธาตุเป็น
ต้นไป สามารถสร้างพันธะแล้วทาให้อิเล็กตรอนเกินแปด เช่น
PCl5 SF6 เป็นต้น

Cl Cl F
F F
P Cl S
Cl F F
Cl F
พันธะโคออดิเนตโคเวเลนต์
จะเป็นการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันอีกแบบหนึ่ง
โดยทีอ่ ิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะทั้ง 2 ตัว
จะได้มาจากอะตอมคู่สร้างพันธะเพียงตัวเดียว
อีกอะตอมหนึ่งเพียงแต่เข้ามาใช้อิเล็กตรอนด้วย
เพื่อให้ครบออกเตตเท่านั้น
หลักการเขียนสูตรลิวอิสของสารประกอบโคเวเลนต์
• หาจานวนเวเลนต์อิเลคตรอนทั้งหมดของสารนัน้
• เขียนโครงสร้างสูตรโดยให้อะตอมที่มีค่า EN ต่าเป็นอะตอมกลาง
• คานวนหา non-bonding electron
• กระจาย non-bonding electron ทั้งหมดไปยังอะตอมที่อยู่
รอบอะตอมกลางให้ครบแปด ถ้าไม่ครบหรือเหลืออิเลคตรอนให้เปลี่ยน
พันธะเดี่ยวเป็นพันธะคู่
ประจุฟอร์มาล (Formal Charge)

FC = V – N – B/2
เรโซแนนซ์ (Resonance)
เรโซแนนซ์ คือ ปรากฏการณ์ที่ไม่สามารถจะเขียนสูตรโครงสร้าง
แทนได้เพียงสูตรเดียวตามสมบัติที่เป็นจริง จึงเขียนอยู่ในรูปที่เรียกว่า
เรโซแนนซ์ หรือ เรโซแนนซ์ไฮบริด (Resonance hybrid)
โครงสร้างเรโซแนนซ์แบบใดเป็นไปได้มากสุด

• มีประจุฟอร์มาลต่าที่สุด
• อะตอมที่มีค่า EN สูงกว่า มักมีประจุฟอร์มาลเป็นลบ เนื่องจากมี
ความสามารถดึงอิเลคตรอนมากกว่า (แต่ไม่เสมอไป)
• อะตอมชนิดเดียวกันจะไม่มีประจุฟอร์มาลที่มีเครื่องหมายตรงข้าม
• เป็นไปตามกฎออกเตตมากที่สุด
เช่น CO2
• จงเขียนโครงสร้างเรโซแนนซ์ของสารต่อไปนี้
1. เบนซีน

2. โอโซน
การเขียนสูตรโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์
1. เรียงลาดับธาตุให้ถูกต้องตามหลักสากล ดังนี้คือ
Si , C , Sb , As , P , N , H , Te , Se , S , At , I , Br , Cl , O , F ตามลาดับ
2. ถ้าจานวนอะตอมของธาตุมากกว่าหนึ่ง ให้เขียนจานวนอะตอมด้วยตัวเลข
แสดงไว้มมุ ล่างขวา (อะตอมเดียว ไม่ต้องเขียน)
3. หลักการเขียนสูตรสารประกอบโคเวเลนต์ ใช้จานวนอิเล็กตรอนที่แต่ละ
อะตอมของธาตุที่ต้องการตามกฎออกเตตคูณไขว้
การเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์
1. อ่านชื่อธาตุข้างหน้าก่อน แล้วตามด้วยธาตุที่อยู่ข้างหลัง
เปลี่ยนพยางค์ท้ายเป็น - ide
2. ระบุจานวนอะตอมของธาตุด้วยตัวเลขในภาษากรีก

3. ถ้าธาตุแรกมีอะตอมเดียวไม่ต้องระบุจานวนอะตอม
แต่ธาตุข้างหลังต้องระบุจานวนอะตอมเสมอแม้มีเพียงอะตอมเดียว
พลังงานพันธะ
พลังงานพันธะ หมายถึง พลังงานปริมาณน้อยที่สุดทีใ่ ช้เพื่อสลายพันธะ
ระหว่างอะตอมภายในโมเลกุลที่อยู่ในสถานะแก๊ส
พลังงานพันธะ
Ex ให้คานวณหาค่าพลังงานความร้อนของปฏิกิริยา
CH4 + Cl2 CH3Cl + HCl
โดยกาหนดพลังงานดังนี้
D(C-H) = 416 kJ/mol D(Cl-Cl) = 243 kJ/mol
D(C-Cl) = 328 kJ/mol D(H-Cl) = 428 kJ/mol
วิธีทา
พลังงานที่ใช้สลายพันธะทั้งหมด = 4 D(C-H) + D(Cl-Cl)
= 4(416) + 243 = 1907 kJ
พลังงานที่เกิดจากการสร้างพันธะทั้งหมด = 3D(C-H) + D(C-Cl) + D(H-Cl)
= 3(416) + 326 + 428
= 2004 kJ
พลังงานความร้อนของปฏิกิริยา = 1907 - 2004 = - 97 kJ
ตอบ ปฏิกิริยานี้คายความร้อน 97 kJ/mol
ความยาวพันธะ
ความยาวพันธะ หมายถึง ระยะที่สั้นที่สดุ ระหว่างนิวเคลียสของ
ธาตุ 2 อะตอมที่สร้างพันธะกัน
ความยาวพันธะ
ไอโซเมอริซมึ ( Isomerism)
ปรากฏการณ์ที่สารประกอบอินทรีย์มีสูตรโมเลกุลเหมือนกันแต่มีสมบัติ
แตกต่างกันเรียกว่า ไอโซเมอริซึม
และเรียกสารแต่ละชนิดว่า ไอโซเมอร์ (Isomer)

สาหรับไอโซเมอร์ที่มีสตู รโมเลกุลเหมือนกัน แต่มีสูตรโครงสร้างต่างกัน


จะเรียกว่า ไอโซเมอร์โครงสร้าง
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์

เส้นตรง (Linear)
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์

สามเหลีย่ มแบนราบ (Trigonal planar)


รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์

ทรงสี่หน้า (Tetrahedral)
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์

พีรามิดฐานสามเหลีย่ ม (Trigonal pyramidal)


รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์

มุมงอ (Bent / V-shaped)


รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์

พีรามิดคู่ฐานสามเหลี่ยม (Trigonal bipyramidal)


รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์

รูปไม้กระดานหก (Distorted tetrahedral / seesaw)


รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์

รูปตัวที (T-shaped)
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์

ทรงแปดหน้า (Octahedral)
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์

พีรามิดฐานสี่เหลีย่ ม (Square pyramidal)


รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์

สี่เหลี่ยมแบนราบ (Square planar)


รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ขั้วของโมเลกุล
ขั้วของโมเลกุล
ขั้วของโมเลกุล
ขั้วของโมเลกุล
ขั้วของโมเลกุล
ขั้วของโมเลกุล
ขั้วของโมเลกุล
ขั้วของโมเลกุล
ขั้วของโมเลกุล
ขั้วของโมเลกุล
ขั้วของโมเลกุล
ทฤษฎี VSEPR
( Valence Shell Electron Pair Repulsion)
# อะตอมต่างๆในโมเลกุลเกิดพันธะกันด้วยคู่อิเล็กตรอนวงนอกสุด
เรียกว่า อิเล็กตรอนคู่สร้างพันธะ (bonding pair)
โดยอะตอมอาจยึดกันด้วยอิเล็กตรอนคู่สร้างพันธะ 1 คู่ (พันธะเดี่ยว)
หรือ มากกว่า (พหุพันธะ)
ทฤษฎี VSEPR
( Valence Shell Electron Pair Repulsion)
# อะตอมบางอะตอมในโมเลกุลอาจมีอิเล็กตรอนคู่ที่ไม่สร้างพันธะ
(nonbonding pair) หรืออิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว (lone pair)
ทฤษฎี VSEPR
( Valence Shell Electron Pair Repulsion)
# อิเล็กตรอนคู่สร้างพันธะและอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวรอบอะตอม
ใดๆในโมเลกุลเป็นกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนที่มีประจุลบ จึงพยายามอยู่
ห่างกันให้มากที่สุดเพื่อให้มีแรงผลักซึ่งกันและกันของอิเล็กตรอน
เหล่านี้น้อยที่สุดและพลังงานของโมเลกุลมีค่าน้อยที่สุด
ทฤษฎี VSEPR
( Valence Shell Electron Pair Repulsion)
# อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวครอบครองที่ว่างมากกว่า
อิเล็กตรอนคู่สร้างพันธะ

# อิเล็กตรอนที่สร้างพหุพันธะครอบครองที่ว่างมากกว่า
อิเล็กตรอนที่สร้างพันธะเดี่ยว
ทฤษฎีพันธะเวเลนซ์
( Valence Bond Theory , VBT)
# พันธะโคเวเลนต์เกิดขึ้นโดยออร์บิทัลอะตอม (Atomic orbital : AO)
วงนอกสุดที่มีอิเล็กตรอนบรรจุอยู่เพียงตัวเดียวซ้อน (Overlap) กับ
ออร์บิทัลอะตอวงนอกสุดที่มีอิเล็กตรอนเพียงตัวเดียวของอีกอะตอมหนึ่ง
และอิเล็กตรอนทั้งสองจะจัดตัวให้มีสปินตรงกันข้ามอยู่ในออร์บิทัลนี้
ออร์บิทัลไฮบริไดเซชัน
( orbital hybridization)
# กล่าวว่า “เมื่ออะตอม 2 อะตอมเข้าใกล้กันอิทธิพลของนิวเคลียส
ของอะตอมทั้งสองจะทาให้พฤติกรรมของอิเล็กตรอนในแต่ละอะตอม
เปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นออร์บิทัลของอะตอมที่เกิดพันธะจะแตกต่างไปจาก
ออร์บิทัลอะตอมในอะตอมเดี่ยวเวเลนซ์ออร์บิทัลที่มีพลังงานใกล้เคียงกัน
ของอะตอมเดียวกันจะเข้ามารวมกันเกิดเป็นออร์บิทัลอะตอมใหม่ ซึ่งมี
รูปร่าง ทิศทาง และพลังงานเปลี่ยนไปจากเดิม”
ออร์บิทัลไฮบริไดเซชัน
( orbital hybridization)
# ออร์บิทัลอะตอมที่เกิดขึ้นใหม่เรียกว่า ไฮบริดออร์บิทัลอะตอม
(Hybrid atomic orbital) หรือ ไฮบริดออร์บิทัล (Hybrid orbitals)
จานวนไฮบริดออร์บิทัลที่ได้นี้จะเท่ากับจานวนออร์บิทัลอะตอมที่มา
รวมกัน
Hybridization : sp3
Hybridization : sp3
Hybridization : sp3
Hybridization : sp3
Hybridization : sp2
Hybridization : sp
โมเลกุลทีม่ ีพันธะคู่ : sp2
โมเลกุลทีม่ ีพันธะคู่ : sp2
โมเลกุลทีม่ ีพันธะคู่ : sp2
โมเลกุลทีม่ ีพันธะสาม : sp
โมเลกุลทีม่ ีพันธะสาม : sp
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์
แรงแวนเดอวาลส์
•Dispersion forces หรือ London forces
•Dipole-Dipole forces
•Dipole-induced dipole force
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์
•Dispersion forces หรือ London forces

แปรผันตาม มวลอะตอม หรือมวลโมเลกุลของสาร


แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์
•Dipole-Dipole forces
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์
Dipole-induced dipole forces
สาหรับโมเลกุลที่ไม่มีขั้ว bp.และ mp. แปรตาม MW
Boiling Melting
Compound Formula
Point Point
pentane CH3(CH2)3CH3 36ºC –130ºC
hexane CH3(CH2)4CH3 69ºC –95ºC
heptane CH3(CH2)5CH3 98ºC –91ºC
octane CH3(CH2)6CH3 126ºC –57ºC
nonane CH3(CH2)7CH3 151ºC –54ºC
decane CH3(CH2)8CH3 174ºC –30ºC
Tetramethyl (CH3)3C-
106ºC +100ºC
butane C(CH3)3
จุดเดือดจุดหลอมเหลวของสารโคเวเลนต์
เอกสาร
ประกอบการ
เรียนหน้า 2

พิจารณา
-โมเลกุลไม่มีขั้ว
-โมเลกุลมีขั้วกับ
ไม่มีขั้ว
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์
พันธะไฮโดรเจน
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์
พันธะไฮโดรเจน
สารประกอบไฮโดรเจนกับธาตุหมู่ 4-7 แนวโน้ม bp. จะมากขึ้นตาม MW

ทาไม bp.ของ H2O > HF >NH3> CH4 ?


สารโครงผลึกร่างตาข่าย
สารโครงผลึกร่างตาข่าย

ถ้าเราจะสังเคราะห์เพชร ได้หรือไม่ จะต้องทาอย่างไร ...ค้นคว้า


ส่ง จันทร์ที่ 30 ส.ค.
สารโครงผลึกร่างตาข่าย

โมเลกุลใดบ้างที่เป็นสารโครงผลึกร่างตาข่าย ? ค้นส่ง 30 ส.ค.


- วันจันทร์ 23 ส.ค.คาบคลินิก
จะเฉลยแบบฝึกหัดในเอกสาร

- นัดสอบเก็บคะแนนย่อย วันอังคารที่ 24 ส.ค.นี้


@ ให้นักเรียนค้นคว้าทารายงานเรือ่ ง ธาตุกัมมันตรังสี (6 คะแนน)
- การเกิด การสลายตัว และครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสี
ทั้งนี้นร.จะต้องสามารถอธิบายความหมายของธาตุกัมมันตรังสี ครึ่งชีวิต และเขียนสมการ
แสดงการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีได้
- ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ปฏิกิริยาฟิสชัน ปฏิกิริยาฟิวชัน
ทั้งนี้นร.ต้องสามารถอธิบายความหมายของปฏิกิริยาฟิชชันและฟิวชัน พร้อมทั้งบอก
ประโยชน์ของปฏิกิริยาทั้งสอง
- ประโยชน์ของกัมมันตรังสีสารกัมมันตรังสีและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการใช้สาร
กัมมันตรังสี เช่นด้านการเกษตร ใช้ในการแพทย์ ในทางอุตสาหกรรม ในทางธรณีวทิ ยา
ทั้งนี้นร.ต้องบอกประโยชน์และโทษของธาตุกัมมันตรังสี และอธิบายการป้องกันอันตราย
จากกัมมันตรังสีได้
- ออกข้อสอบเกี่ยวกับแต่ละหัวข้อเรื่อง 5 ข้อ ให้สอดคล้องกับผลที่คาดหวังแล้วนามาเสนอใน
กลุ่มตนพร้อมกันในวันที่ 21 ก.ย.
โดย 23 ก.ย.หลังจากนั้นจะสอบแข่งขันกันระหว่างกลุ่ม กลุ่มที่ได้คะแนนผ่าน 80 % จะได้ 3
คะแนน กลุ่มที่ท็อปจะได้ 4 คะแนน กลุ่มที่ไม่ผ่านได้ 2 คะแนน
พันธะไอออนิก
กฎ ออกเตต
Noble N oble gas
In 1916, Gilbert N. Lewis pointed gas notation
out that the lack of chemical reactivity He 1s2
of the noble gases indicates a high Ne [He]2s 2 2p 6
degree of stability of their electron Ar [N e]3s 2 3p6
Configurations Kr [A r]4s 2 4p6
Xe [Kr]5s 2 5p6

the octet rule – อะตอมหรือไอออน ที่มก


ี ารจัดเรียง
อิเล็กตรอนตามแบบก๊าซเฉือ
่ ย โดยจานวนอิเล็กตรอนวงนอก
เท่ากับแปด
พันธะไอออนิก
พันธะไอออนิก

Na + Cl

Na+ + Cl-
พันธะไอออนิก
• ตัวอย่างการเขียนสูตรสารประกอบไอออนิก
+
* Na กับ Cl - NaCl
* K + กับ Br- KBr
* NH4+ กับ Cl- NH4Cl
* Ba2+ กับ OH- Ba(OH)2
* CH3COO- กับ H+ CH3COOH
+
* NH4 กับ PO4 3-
(NH4)3PO4
พันธะไอออนิก
ไอออนบวกและไอออนลบของธาตุบางธาตุในตารางธาตุ
Li+ N3- O2- F-
H+
Na+ Mg2+ H- Al3+ P3- S2- Cl-

K+ Ca2+ โลหะทรานซิชันอาจเกิดไอออน Ga3


+
As3- Se2- Br-

มากกว่า 1 ชนิด เช่น Cr2+ Cr3+ ,


Rb+ Sr2+ Mn2+ Mn3+ In3+ Sn2+ Sb3- Te2- I-
Fe2+ Fe3+ Sn4+
Co2+ Co3+
Cs+ Ba2+ Tl3+ Pb2+ Bi3+
Cu+ Cu2+ Pb4+
ตัวอย่างสารประกอบไอออนิก
การอ่านชื่อสารประกอบไอออนิก
1. สารประกอบธาตุคู่ ( Binary compound )
- ถ้าสารประกอบเกิดจากธาตุโลหะที่มีไอออนได้ชนิดเดียว
รวมตัวกับอโลหะ ให้อ่านชื่อโลหะที่เป็นไอออนบวก แล้ว
ตามด้วยชื่อไอออนลบโดยลงเสียงพยางค์ท้ายด้วย
ไอด์ ( ide ) เช่น
* NaCl = Sodiumchloride
* CaI2 = Calciumiodide
การอ่านชื่อสารประกอบไอออนิก
- ถ้าสารประกอบเกิดจากธาตุโลหะเดียวกันที่มีไอออนได้หลาย
ชนิด รวมตัวกับอโลหะ ให้อ่านชื่อโลหะที่เป็นไอออนบวก
แล้วตามด้วยค่าประจุของไอออนโลหะโดยวงเล็บเป็นเลข
โรมัน แล้วตามด้วยชื่อไอออนลบโดยลงเสียงพยางค์ท้ายด้วย
ไอด์ ( ide ) เช่น
* FeCl2 = Iron ( II ) chloride
* FeCl3 = Iron ( III ) chloride
• ic - suffix for higher charge
• ous - suffix for lower charge
เช่น
CuCl2 copper (II) chloride or cupric chloride
CuCl copper (I) chloride or cuprous chloride

FeBr3 iron (III) bromide or ferric bromide


FeBr2 iron (II) bromide or ferrous bromide
การอ่านชื่อสารประกอบไอออนิก
2. สารประกอบธาตุสามหรือมากกว่า ( Ternary compound )
- ถ้าสารประกอบเกิดจากธาตุโลหะหรือกลุ่มไอออนบวกรวม
ตัวกับกลุ่มไอออนลบ ให้อ่านชื่อไอออนบวกของโลหะ
( ไอออนนั้นเกิดไอออนบวกได้ชนิดเดียว ) หรือกลุ่มไอออน
บวก แล้วตามด้วยชื่อกลุ่มไอออนลบ เช่น
* Na2SO4 = Sodiumsulphate
* (NH4)3PO4 = Ammoniumphosphate
การอ่านชื่อสารประกอบไอออนิก
- ถ้าสารประกอบเกิดจากธาตุโลหะที่เกิดไอออนได้หลายชนิด
รวมตัวกับกลุ่มไอออนลบ ให้อ่านชื่อไอออนบวกของโลหะแล้ว
วงเล็บค่าประจุของไอออนบวกนั้น แล้วจึงอ่านชื่อกลุ่มไอออน
ลบตามหลัง เช่น
* CrSO4 = Chromium (II) sulphate
* Cr2(SO4)3 = Chromium (III) sulphate
Polyatomic ion
• SO42- ; sulfate ion • OH-: hydroxide

• SO32- ; sulfite ion • CN-; cyanide

• ClO4- ; perchlorate ion • SCN-: thiocyanate

• ClO3- ; chlorate ion • CH3COO-: acetate

• ClO2- ; chlorite ion • CrO42-: chromate

• ClO- ; hypochlorite ion • Cr2O72-: dichromate

• MnO4-: permanganate
ลองทาแบบฝึกหัด
1. จงอ่านชื่อสารประกอบต่อไปนี้
ก. NaOH • โซเดียมไฮดรอกไซด์
ข. NH4Cl • แอมโมเนียมคลอไรด์
ค. CaCO3 • แคลเซียมคาร์บอเนต
ง. Al2O3 • อลูมิเนียมออกไซด์
จ. Pb(NO3)2 • เลด(II)ไนเตรท
ฉ. Fe2O3.2H2O • ไอร์ออน(III)ออกไซด์ไดไฮเดรต
โครงสร้างของสารประกอบไอออนิก
โครงสร้างของสารประกอบไอออนิก

Na+ แต่ละไอออนถูกล้อมรอบด้วย Cl- 6 ไอออน


Cl- แต่ละไอออนถูกล้อมรอบด้วย Na+ 6 ไอออน
Na+ : Cl-
1 : 1

NaCl
โครงสร้างของสารประกอบไอออนิก
Ca2+
F-

Ca2+ แต่ละไอออนถูกล้อมรอบด้วย F - 8 ไอออน


F - แต่ละไอออนถูกล้อมรอบด้วย Ca2+ 4 ไอออน
Ca2+ : F-
1 : 2
CaF2
โครงสร้างของสารประกอบไอออนิก
พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก
Born-Harber cycle
1. พลังงานการระเหิด = Heat of Sublimation ; S
2. พลังงานการสลายพันธะ = Dissociation Energy ; D or bond enthalpy
3. พลังงานไอออไนเซชัน = Ionization energy ; IE
4. พลังงานสัมพรรคภาพอิเล็กตรอน = Electron Affinity ; EA
5. พลังงานโครงผลึกหรือพลังงานแลตทิซ = Lattice energy
H๐f = S + D + IE + EA + Lattice
พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก
Born-Harber cycle of 1 mol NaCl
Born-Harber cycle of 1 mol NaCl
Born-Harber cycle of 1 mol MgCl2
Born-Harber cycle of LiF
Ex พิจารณาปฏิกิริยาระหว่าง Li(s) + 1/2F2 (g)  LiF(s)
ซึ่งมีพลังงานการเกิดปฏิกิริยาเท่ากับ -594.1 KJ
กาหนดให้
1. Li(s)  Li(g) : H1 = 155.2 KJ
2. 1/2F2(g)  F(g) : H2 = 75.3 KJ
3. Li(g)  Li+(g) + e- : H3 = 520 KJ
4. F(g) + e-  F-(g) : H4 = -328 KJ
5. Li+(g) + F-(g)  LiF(s) : H5 = ? KJ

ทาแบบฝึกหัด หน้า 17
Ionic Bonds As
“Intermolecular” Forces
• There are no molecules in an ionic solid, and therefore
there can’t be any intermolecular forces.
• There are simply inter-ionic attractions.
• Lattice energy is a measure of the strength of inter-
ionic attraction.
• The attractive force between a pair of oppositely
charged ions increases as the charges on the ions
increase and as the ionic radii decrease. Lattice energies
increase accordingly.
Interionic Forces of Attraction
ทดสอบ
• NH4Cl มีพันธะใดบ้างในโมเลกุล ตาแหน่งใด
สมบัติของของสารประกอบไอออนิก
การละลายน้าของสารประกอบไอออนิก

ตัวละลาย < 0.1 g / H2O 100 g ที่ 25๐ C แสดงว่าไม่ละลาย


ตัวละลาย > 1 g / H2O 100 g ที่ 25๐C แสดงว่าละลายได้ดี
ตัวละลาย 0.1 g ถึง 1 g / H2O 100 g ที่ 25๐C แสดงว่าละลายได้บางส่วน
การละลายน้าของสารประกอบไอออนิก
พลังงานการละลาย ( Heat of Solution, E)
• พลังงานที่ใช้ทาลายแรงดึงดูดระหว่างไอออนบวกและไอออนลบในโครง
ผลึกของแข็ง ถ้าใช้ของแข็ง 1 โมล พลังงานนี้จะ = Lattice energy, E1
• Hydration energy, E2
คือ พลังงานที่คายออกมาเมื่อไอออนบวกและไอออนลบถูกล้อมรอบ
โดยโมเลกุลของน้า
• Heat of Solution , E
คือ พลังงานที่คายออกมาหรือดูดเข้าไป จากการละลายสาร 1 โมล
ในตัวทาละลายตามจานวนที่กาหนดให้
การละลายน้าของ KCl
KCl(s)  K +(g) + Cl-(g) : Hlatt = +690 kJ/mol ---(1)
K +(g) + Cl-(g) + (x+y)H2O(l)  K +(H2O)x + Cl-(H2O)y
:Hhyd = -686 kJ/mol ---(2)
(1)+(2) KCl(s) + (x+y)H2O(l)  K +(H2O)x + Cl-(H2O)y
:Hsoln = 690 -686 = +4 kJ/mol

KCl(s) K+(aq) + Cl-(aq)


Hsoln = Hlatt + Hhyd
ถ้า Hlatt > Hhyd จะได้ Hsoln เป็น + ดูดความร้อน

ถ้า Hlatt < Hhyd จะได้ Hsoln เป็น - คายความร้อน


พลังงานการละลายของ NaCl
พลังงานในการเกิดสารละลาย CuSO4
Cu2+(g) + SO42-(g)

ขั้น 1 E1
พลังงาน

ขั้น 2 E2
CuSO4(s)

พลังงานที่คายออกมา
Cu2+(aq) + SO42-(aq)
สภาพการละลาย บอกให้ทราบถึง
1. ความสามารถในการละลายของสารประกอบไอออนิกที่ไม่เท่ากัน
จึงเป็นคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละสาร
2. สามารถกาหนด / บ่งชี้ได้ว่า การละลายจะเกิดตะกอนเมื่อไร
สรุป สภาพการละลายของสารประกอบไอออนิก
ละลายน้าได้ ( Soluble )
1. สารประกอบทุกชนิดของโลหะแอลคาไล ( หมู่ 1 )
2. สารประกอบแอมโมเนียม ( NH4+)
3. สารประกอบทุกชนิดของ NO3- , ClO3- , ClO4-
4. สารประกอบส่วนใหญ่ของ Cl- , Br- , I - ยกเว้นกับ Ag+ , Hg 22+ และ Pb2+
5. สารประกอบส่วนใหญ่ของ SO42 - ยกเว้น BaSO4 , HgSO4 , PbSO4
ไม่ละลายน้า ( Insoluble )
1. สารประกอบส่วนใหญ่ของ OH –
ยกเว้น OH – ของโลหะแอลคาไล และของ Ba(OH)2
ส่วน Ca(OH)2 ละลายได้เล็กน้อย
2. สารประกอบ CO32 - , PO43 - , S 2 –
ยกเว้น สารประกอบของโลหะแอลคาไล ( หมู่ 1 ) และ NH4+
ตัวอย่าง จงจาแนกสารประกอบไอออนิกต่อไปนี้ออกเป็นสารที่
ละลายได้ ละลายได้เล็กน้อย หรือไม่ละลาย
ก) Ag2SO4 ไม่ละลาย ง) CuS ไม่ละลาย
ข) CaCO3 ไม่ละลาย จ) Ca(OH)2 ละลายได้เล็กน้อย
ค) Na3PO4 ละลาย ฉ) ZnSO4 ละลาย
Electrical Conductance of Ionic Compounds

Fig. 9.9
• สมการไอออนิก
• 2AgNO3 (aq) + H2SO4 (aq) Ag2SO4 (s) + 2HNO3 (aq)

2Ag+(aq) + 2NO3- (aq) + 2H +(aq)+ SO42-(aq) Ag2SO4(s)+ 2H +(aq) + 2NO3- (aq)

• สมการไอออนิกสุทธิ
Net ionic form ; 2Ag+(aq) + SO42-(aq) Ag2SO4 (s)
• ทาการทดลอง 2.2 การเกิดปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก
การเขียนสมการไอออนิก
• หลักการเขียนสมการไอออนิก
1. ให้เขียนเฉพาะส่วนไอออนหรือโมเลกุลของสารทาปฏิกิรยิ ากันเท่านั้น
2. ถ้าสารทีเ่ กี่ยวข้องในปฏิกริ ิยาเป็นสารที่ไม่ละลายน้าหรือไม่แตกตัวเป็น
ไอออนหรือเป็นออกไซด์หรือเป็นก๊าซให้เขียนสูตรของสารนั้นในสมการ
ได้
3. ดุลสมการไอออนิกโดยทาจานวนอะตอมและจานวนไอออนของธาตุทุก
ธาตุ พร้อมทั้งดุลประจุทั้งซ้ายและขวาของสมการให้เท่ากัน
• 2AgNO3 (aq) + H2SO4 (aq) Ag2SO4 (s) + 2HNO3 (aq)
2Ag+(aq) + 2NO3- (aq) + 2H +(aq)+ SO42-(aq) Ag2SO4(s)+ 2H +(aq) + 2NO3- (aq)

Net ionic form ; 2Ag+(aq) + SO42-(aq) Ag2SO4 (s)


การเขียนสมการไอออนิก
1. 3Cr(NO3)2 (aq) + CuSO4 (aq) Cu (s) + 2Cr(NO3)3 (aq) + CrSO4 (aq)
net ionic form: 3Cr2+ (aq) + Cu2+ (aq) Cu (s) + 2Cr3+ (aq)

2. MgBr2 (aq) + Cl2 (g) MgCl2 (aq) + Br2 (l)


net ionic form: 2Br - (aq) + Cl2 (g) 2Cl - (aq) + Br2 (l)

3. Al(NO3)3 (aq) + 3NaOH (aq) Al(OH)3 (s) + 3NaNO3 (aq)


net ionic form: Al3+ (aq) + 3OH - (aq) Al(OH)3 (s)
พันธะโลหะ
1. พันธะโลหะเกิดจากการที่อะตอมของโลหะใช้เวเลนซ์
อิเล็กตรอนร่วมกัน โดยที่เวเลนซ์อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่
เป็นอิสระไปทั่วทั้งก้อนโลหะ
2. ความแข็งแรงของพันธะโลหะขึ้นอยู่กับจานวนเวเลนซ์
อิเล็กตรอนของโลหะและประจุของไอออนบวก
(ธาตุหมู่ I, II และ III มีความแข็งแรงของพันธะโลหะ คือ หมู่ III > II > I)

3. การเกิดพันธะในโลหะแสดงได้ด้วยแบบจาลองทะเล
อิเล็กตรอน
พันธะโลหะ
พันธะโลหะ
สมบัติของโลหะ
1. โลหะนาความร้อนและนาไฟฟ้าได้ดี เนื่องจากเวเลนซ์
อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปมาได้ทั่วทั้งก้อนโลหะ
2. โลหะมีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง เนื่องจากเวเลนซ์
อิเล็กตรอนของอะตอมทั้งหมดยึดอะตอมไว้อย่างแข็งแรง
3. โลหะสามารถนามาตีให้แผ่ออกเป็นแผ่นและดึงเป็นเส้นได้
เนื่องจากมีกลุ่มเวเลนซ์อิเล็กตรอนช่วยยึดอนุภาคไว้
4. โลหะสะท้อนแสงได้ เนื่องจากการรับและปล่อยคลื่นแสง
จากกลุ่มเวเลนซ์อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้โดยอิสระ

You might also like