Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 1

The advanced formula

of Jenga tower's collapse


เรือง สูตรการคํานวณการล้มล่วงหน้าของเกมไม้เจงก้า
ผูจ
้ ด
ั ทํา : นางสาวชนิดาภา รักนุย
้ นางสาวภิรญา ลัทธิธนธรรม และ นางสาวอินทุอร สุนาพันธ์
ครูทีปรึกษา : นางอังคณา อรรฆยมาศ และ นางสาวสุดารัตน์ ปานทอง

ทีมาและความสําคัญ ขอบเขตของการศึกษา
เจงก้า (Jenga) หรือเกมตึกถล่ม เปนเกมทีนําท่อนไม้มา 54 ชินต่อกันเปนสิงก่อสร้างคล้ายๆ ประชากรทีใช้ในการศึกษา
ตึกขนาดย่อมทีมีขนาด 18 ชัน โดยแต่ละชันจะมีไม้วางเรียงกัน 3 ชิน สามารถเล่นได้ตังแต่ 1 นักเรียนชันมัธยมศึกษาปที 5 ห้องโครงการพิเศษ จํานวน 3 ห้อง
คนขึนไป โดยวิธก ี ารเล่น ผูเ้ ล่นจะทําการดึงท่อนไม้ออกมาทีละ 1 ชิน แล้วนําไปวางด้านบนสุด เปนนักเรียนทังสิน 96 คน
ของตึกอย่างระมัดระวังไม่ให้ตึกพังลงมา เมือมีผเู้ ล่นคนใดทํากล้มลงจะถือว่าเปนผูแ ้ พ้ เกมจะ กลุ่มตัวอย่างทีใช้ในการศึกษา
ถือว่าจบลงคณะผูจ ้ ด
ั ทําได้เล่นเกมนีกับเพือนๆ คณะผูจ ้ ด
ั ได้เกิดข้อสงสัยว่ามีวธ
ิ ห
ี ยิบแบบใดบ้าง นักเรียนระดับชันมัธยมศึกษาปที 5/3 จํานวน 29 คน
ทีจะทําให้ชนะเกมนีได้ในทุก ๆ ครัง และสามารถนําการวิเคราะห์การล้มของเจงก้าไปต่อยอดกับ เนือหาทีใช้ในการศึกษา
ชีวต
ิ ประจําวันได้อย่างไร เนืองจากเกมนีเปนเรืองทีนอกเหนือจากทีได้ศึกษาในห้องเรียนและ 1. เนือหาทางคณิตศาสตร์ทีเกียวข้อง เซต ลําดับและอนุกรม
คณะผูจ ้ ด
ั ทําต้องการทีจะศึกษาเพิมเติม โดยนําความรูใ้ นรายวิชาคณิตศาสตร์และฟสิกส์มา ความสัมพันธ์และฟงก์ชน ั ระบบพิกัดคาร์ทีเซียนในสามมิติ
คํานวณหาสมการรูปแบบทัวไปของการล้มของเจงก้าอย่างง่าย กรณีดง ึ บล็อกไม้ออกโดยไม่มี 2. เนือหาทางฟสิกส์ทีเกียวข้อง
แรงเสียดทานระหว่างบล็อกไม้หรือพืนผิวบล็อกไม้นนลื ั นจะทําให้เจงก้านันล้มได้หรือไม่ โดย จุดศูนย์กลาง สภาพสมดุลต่อการหมุน
สามารถปรับมวลและขนาดของบล็อกไม้ได้ จากเหตุผลและความสําคัญดังกล่าว คณะผูจ ้ ด
ั ทํา ระยะเวลา
จึงคิดทีจะนําองค์ความรูใ้ นรายวิชาคณิตศาสตร์เพิมเติมระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตังแต่วนั ที 16 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 มกราคม 2567
มาประยุกต์เพือหากระบวนการการล้มของเจงก้า

บทคัดย่อ วัตถุประสงค์
การศึกษาค้นคว้าครังนีมีวต ั ถุประสงค์มาจาก เมือมีการก่อสร้างตึกมักพบปญหาทีกระบวน 1. เพือนําความรูใ้ นวิชาคณิตศาสตร์และฟสิกส์มาปรับใช้
การสร้างเเต่ไม่สามารถทุบโครงสร้างทังหมดได้เนืองจากงบประมาณทีจํากัดจึงอยากทราบว่า เบืองต้นในชีวต
ิ ประจําวัน
มีวธ
ิ ใี ดทีสามารถทุบตึกในส่วนทีผิดพลาดให้ไม่กระทบกับโครงสร้างตึกส่วยใหญ่โดยใช้ไม้เจนก้า 2. เพือศึกษาหากระบวนการการล้มของเจงก้า
(Jenga) เปนเเบบจําลองตึก โดยประชากรทีใช้ในการศึกษาค้นคว้าครังนี คือ นักเรียนชัน 3. เพือนํากระบวนการทีคิดได้มาปรับใช้กับการทุบตึก
มัธยมศึกษาปที 5 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุร ี จํานวน 16 ห้อง เปนนักเรียนทังสิน เฉพาะส่วน
643 คน กลุ่มตัวอย่างทีใช้ในการศึกษาครังนี เปนนักเรียนชันมัธยมศึกษาปที 5/3 โรงเรียนสวน
กุหลาบวิทยาลัย นนทบุร ี ภาคเรียนที 1 และภาคเรียนที 2 ปการศึกษา 2566 จํานวน 29 คน
เครืองมือทีใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติทีใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลีย ร้อยละ
สมมติฐาน
ผลการศึกษาพบว่าสูตรการคํานวณการล้มล่วงหน้าของเกมไม้เจงก้าอยูใ่ นระดับคุณภาพ
กระบวนการทีคิดได้สามารถนําไปใช้ได้จริง
มากทีสุด โดยการวิจย ั ครังนีมีวตั ถุประสงค์เพือศึกษาความรูค ้ วามเข้าเกียวกับสูตรการคํานวณ
มีผลลัพย์เปนไปตามทฤษฏีทีคํานวณไว้
การล้มล่วงหน้าของเกมส์ไม้เจงก้า เพือเผยแพร่การคํานวณการล้มล่วงหน้าของเกมส์ไม้เจงก้า
และศึกษาความพึงพอใจของผูท ้ ีนําไปประยุกต์ใช้ต่อไป ซึงผลการศึกษาสามารถสรุปผลได้ ดังนี
นักเรียนมีความรูพ ้ ง
ึ พอใจ โดยพิจารณาจากความพึงพอใจ ซึงมีค่าเฉลียของคําตอบทีพอใจมาก
อยูใ่ นระดับมากทีสุด (X = 4.89) และมีความพึงพอใจต่อความสามารถในการปรับรูปแบบการใช้
งานได้ตามความต้องการมากทีสุด คิดเปนร้อยละ 97 สรุปผลดําเนินงาน

ี ําเนินการ
วิธด
1. กําหนดเรืองทีจะศึกษา โดยสมาชิกทัง 3 คน ประชุมร่วมกัน
2. สํารวจปญหาทีพบในโรงเรียน หรือปญหาทีใกล้ตัวมากทีสุด
3. เลือกเรืองทีจะศึกษา โดยเลือกเรืองทีสมาชิกมีความสนใจมากทีสุด
4. ศึกษาแนวคิดในการแก้ปญหา ผูศ ้ ึกษาจึงทําการสํารวจความคิดเห็น ความพึงพอใจและ
สร้างเครืองมือ (แบบสอบถาม) ศึกษาเพียงเพือให้มค ี วามรู ้ ความเข้าใจ
5. ตังชือเรือง
6. สมาชิกทัง 3 คน พบครูผส ู้ อนเพือปรึกษาวางแผนและรับฟงความคิดเห็น ปรับปรุงแก้ไข
7. เขียนความเปนมาและความสําคัญของปญหา วัตถุประสงค์ สมมติฐาน ขอบเขตการวิจย ั
และประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รบ ั โดยศึกษาข้อมูลจากหนังสือ วิทยานิพนธ์และสืบค้นข้อมูล
จากอินเทอร์เน็ต และจดบันทึกในโครงร่างรายงานเชิงวิชาการ
8. สร้างเครืองมือ ทีเปนแบบสอบถาม โดยแบ่งเปน 4 ตอน จํานวน 10 ข้อ
9. สร้างช่องทางเผยแพร่ความรู ้ เรืองสูตรการคํานวณการล้มล่วงหน้าของเกมไม้เจงก้า
10. สร้างสือ/ผลิตภัณฑ์/ชินงาน เรืองสูตรการคํานวณการล้มล่วงหน้าของเกมไม้เจงก้า
11. นําเครืองมือทีปรับปรุงแล้วไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง
12. รวบรวมข้อมูล
13. วิเคราะห์ขอ้ มูล
14. สรุปการศึกษา

You might also like