Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 89

เพื่ อให้ผู้ต้องขัง

พระบาทสมเด็ จ พระปรเมนทรรามาธิ บ ดี สามารถเข้าถึง จากพระบรมราชโองการข้ า งต้ น จึ ง ท� ำ ให้ ลูกเธอเจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี


คณะกรรมการโครงการฯ ได้กำ� หนดแผนการด�ำเนินงาน กรมหลวงราชสาริ ณี สิ ริ พั ช ร มหาวั ช รราชธิ ด า
ศรีสนิ ทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ วั
มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้
การรักษาพยาบาล ตามโครงการในระยะที่ ๑ (ปี พ.ศ. ๒๕๖๓) ในเรือนจ�ำ/ ในฐานะองค์ประธานกรรมการโครงการฯ ทีท่ รงงาน
ประกาศพระบรมราชโองการแต่งตัง้ คณะกรรมการ อย่างรวดเร็ว ทัณฑสถาน ๒๕ แห่ง ซึ่งเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน เพื่อช่วยเหลือประชาชนทุกกลุ่ม และไม่เว้นแม้แต่
โครงการราชทัณฑ์ปันสุข ท�ำความ ดี เพื่อชาติ และเท่าเทียม รวมทั้งโรงพยาบาลแม่ข่ายได้น้อมน�ำพระบรม- ผู้ต้องราชทัณฑ์ให้ได้รับการดูแลขั้นพื้นฐาน
ศาสน์ กษัตริย์ เมื่อวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ราโชบายของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ วั ภายในรายงานประกอบด้วย พระบรมราโชบาย
เนือ่ งจากทรงมีพระราชด�ำริวา่ โรงพยาบาลราชทัณฑ์ ตามหลักมนุษยธรรม ไปสู ่ ก ารปฏิ บั ติ อ ย่ า งเต็ ม ก� ำ ลั ง ความสามารถ ที่มาโครงการ ผลการด�ำเนินงานในรอบ ๑ ปี และ
เป็นโรงพยาบาลแห่งเดียวในสังกัดกระทรวงยุตธิ รรม จนกระทั่งเกิดผลส�ำเร็จที่ชัดเจนในหลายๆ ด้าน การติดตามประเมินผลจากนักวิชาการทีส่ ะท้อนถึง
ต้องให้บริการแก่ผู้ต้องขังเป็นจ�ำนวนมาก และ และที่ ส� ำ คั ญ ผู ้ ต ้ อ งขั ง ที่ แ ม้ ไ ม่ ไ ด้ อ ยู ่ ใ นเรื อ นจ� ำ / ผลที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ ผู ้ ต ้ อ งขั ง และประชาชนทั่ ว ไป
ยังขาดแคลนบุคลากร เครือ่ งมือแพทย์ และเวชภัณฑ์ เมื่อวันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ พระบาท ทัณฑสถานเป้าหมายที่เหลืออีก ๑๑๘ แห่ง และ ประโยชน์ และผลทีเ่ กิดขึน้ จากรายงานเล่มนี้ คณะ
ดังนัน้ เพือ่ ให้ผปู้ ว่ ยเข้าถึงการรับการรักษาพยาบาล สมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ วั สมเด็จพระนางเจ้าฯ ประชาชนทั่วไปในพื้นที่ของโรงพยาบาลแม่ข่าย ท� ำ งานจั ด ท� ำ ผลงานในโอกาสครบรอบ ๑ ปี
อย่างเท่าเทียมตามหลักมนุษยธรรม และเมือ่ พ้นโทษ พระบรมราชินี องค์ประธานที่ปรึกษา โครงการ ๑๒ แห่ง ที่ขาดแคลนเครื่องมือและครุภัณฑ์ทาง โครงการราชทัณฑ์ปันสุข ท�ำความ ดี เพื่อชาติ
จะได้มีสุขภาพสมบูรณ์ท้ังกายและใจ ออกมาสู่ ราชทัณฑ์ปนั สุข ท�ำความ ดี เพือ่ ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ การแพทย์ขนาดใหญ่ซงึ่ กระทรวงสาธารณสุขยังไม่มี ศาสน์ กษัตริย์ ทีป่ ระกอบด้วยผูแ้ ทนจากกระทรวง
สังคมภายนอกและประกอบอาชีพสุจริตได้อย่างมี พร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิตยิ าภา งบประมาณจั ด ซื้ อ เครื่ อ งมื อ และครุ ภั ณ ฑ์ ท าง ยุตธิ รรม กระทรวงสาธารณสุข และคณะกรรมการฯ
คุณภาพ จึงทรงมีพระราชด�ำริที่จะพระราชทาน นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร การแพทย์ขนาดใหญ่ เช่น รถเอกซเรย์ ก็ได้รบั ผลแห่ง ต่างทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั
ความช่ ว ยเหลื อ ในเรื่ อ งการจั ด หาอุ ป กรณ์ แ ละ มหาวัชรราชธิดา องค์ประธานกรรมการโครงการฯ พระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้า สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี และ สมเด็จ
เครื่ อ งมื อ ทางการแพทย์ การรั ก ษาพยาบาล ได้ เ สด็ จ พระราชด� ำ เนิ น ในพิ ธี เ ปิ ด โครงการฯ เจ้าอยู่หัว ในการด�ำเนินโครงการนี้ด้วย พระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิตยิ าภา นเรนทิราเทพยวดี
การอบรมให้ความรูใ้ นเรือ่ งต่างๆ เช่น การส่งเสริม ณ ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ และทรง “รายงานครบรอบ ๑ ปี ราชทั ณ ฑ์ ป ั น สุ ข กรมหลวงราชสาริณสี ริ พิ ชั ร มหาวัชรราชธิดา และ
สุขภาพ การป้องกันโรคและการปฐมพยาบาลเบือ้ งต้น พระราชทานเครือ่ งมือและครุภณ ั ฑ์ทางการแพทย์ ท�ำความ ดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ เป็นรายงานที่ พระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ แต่หากมีข้อด้อย
แก่เรือนจ�ำและทัณฑสถาน ตลอดจนโรงพยาบาล รวบรวมผลการด�ำเนินงานตามโครงการ ทัง้ ในด้าน รวมทั้งความไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ใดๆ ของรายงาน
แม่ขา่ ย เพือ่ แก้ปญั หาขาดแคลนอุปกรณ์และครุภณ ั ฑ์ ของงานราชทั ณ ฑ์ ที่ เ กี่ ย วกั บ ผู ้ ต ้ อ งขั ง และงาน เล่มนี้ คณะผูจ้ ดั ท�ำขอน้อมรับไว้เพือ่ น�ำไปปรับปรุง
ทางการแพทย์ด้วยพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ด้านสาธารณสุขที่เกี่ยวกับด้านการแพทย์ตั้งแต่ แก้ไขในโอกาสต่อไป
พร้ อ มพระราชทานแนวทางการแก้ ไ ขปั ญ หา เริ่ ม โครงการจนถึ ง ปั จ จุ บั น ซึ่ ง แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง
อย่างเป็นระบบ ท�ำให้เกิดการประสานการปฏิบัติ ประโยชน์ทปี่ ระชาชนในฐานะผูต้ อ้ งราชทัณฑ์และ คณะท�ำงานฯ
ทางการแพทย์ ร ะหว่ า งหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ประชาชนทั่วไปที่ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจาก ธันวาคม ๒๕๖๓
เพื่อให้ผู้ต้องขังสามารถเข้าถึงการรักษาพยาบาล พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จ
อย่างรวดเร็ว และเท่าเทียมตามหลักมนุษยธรรม พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี และ สมเด็จพระเจ้า
หน้า
๑๐ ๓๔
หน้า
๗๓ผลการด�ำเนินงาน
๑๑๔
๑๑๔
ด้านสาธารณสุข

ระบบสาธารณสุขส�ำหรับ
บริการผู้ต้องขังในเรือนจ�ำ
ความเป็นมา ตามโครงการราชทัณฑ์ปันสุขฯ
๑๒๐
๗๔
โครงการราชทัณฑ์ปันสุข การเสด็จแทนพระองค์ องค์ประกอบส�ำคัญของการขับเคลื่อน

๑๓
ท�ำความ ดี เพื่ อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ในการพระราชทานเครื่องมือและครุภัณฑ์ การพั ฒนาระบบบริการ
ด้านราชทัณฑ์
ทางการแพทย์ ส�ำหรับผู้ต้องขังในเรือนจ�ำ
๓๕ เรือนจ�ำกลางระยอง
๗๔
เรือนจ�ำกลางชลบุรี
จ�ำนวนผู้ต้องขัง ๑๒๒ นโยบายที่กระทรวงสาธารณสุข
และทัณฑสถานหญิงชลบุรี มอบให้กับโรงพยาบาลทั่วประเทศ
๗๘ ข้อมูลการลงทะเบียน
วัตถุประสงค์
โครงการราชทัณฑ์ปันสุข
๔๐ เรือนจ�ำกลางนครศรีธรรมราช
เรือนจ�ำกลางสุราษฎร์ธานี
สิทธิหลักประกันสุขภาพ (สิทธิ UC)
ก่อนและหลังโครงการ ๑๕๒ สื่อโครงการ

๑๔
ท�ำความ ดี เพื่ อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ เรือนจ�ำกลางสงขลา
๘๒
๑๕๔
การให้ความรู้กับผู้ต้องขัง
และทัณฑสถานหญิงสงขลา ความส�ำเร็จของ
๔๔ เรือนจ�ำกลางเขาบิน จังหวัดราชบุรี
๙๒ การพั ฒนาศักยภาพผู้ต้องขัง การด�ำเนินงาน
โดยการอบรมผู้ต้องขังให้เป็น
และเรือนจ�ำกลางนครปฐม
อาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ ๑๕๔ เสียงสะท้อนจากผู้ต้องขัง

แผนการด�ำเนินงาน ๔๙ เรือนจ�ำกลางพิ ษณุโลก


๙๘ ข้อมูลบุคลากรทางการแพทย์ ๑๕๖ ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น
โครงการราชทัณฑ์ปันสุข เรือนจ�ำจังหวัดพิ ษณุโลก
ประจ�ำเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน
และทัณฑสถานหญิงพิ ษณุโลก
ท�ำความ ดี เพื่ อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๑๕๘ การติดตามและ

๑๖
ระยะที่ ๑
๕๔ เรือนจ�ำกลางคลองไผ่
๑๐๐ การบริการของแพทย์ ประเมินผลโครงการ
ในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน
เรือนจ�ำกลางนครราชสีมา
ทัณฑสถานหญิงนครราชสีมา
๑๐๔
๑๗๐
การจัดพื้ นที่/บริการ
และเรือนจ�ำกลางนครพนม
ของสถานพยาบาลเรือนจ�ำ/
ทัณฑสถานและแดนแรกรับ
๖๐ เรือนจ�ำกลางเชียงใหม่
คัดกรอง แยกโรค
การพระราชทาน และทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่
เครื่องมือและ ภาคผนวก
๑๑๐ การผลิตสื่อเพื่ อเผยแพร่

๒๖
ครุภัณฑ์ทางการแพทย์ ๖๕ ทัณฑสถานหญิงธนบุรี
โครงการราชทัณฑ์ปันสุขฯ ๑๗๐ แผนการด�ำเนินงาน
และทัณฑสถานบ�ำบัดพิ เศษหญิง
๑๑๒ อื่นๆ ๑๗๑ เรือนจ�ำเป้าหมายในระยะที่ ๒
๖๘ เรือนจ�ำกลางสมุทรปราการ
เรือนจ�ำกลางคลองเปรม ๑๗๓ รายนามผู้จัดท�ำ
เรือนจ�ำกลางบางขวาง
การเสด็จฯ และทัณฑสถานหญิงกลาง
เปิดโครงการราชทัณฑ์ปันสุขฯ
สารบัญแผนภูมิ สารบัญตาราง
หน้า
๑๐๐ แผนภูมิที่ ๙ ๘๐
หน้า การเปรียบเทียบการเข้าให้บริการ ตารางที่ ๑
๗๔ แผนภูมิที่ ๑ ของแพทย์ในการตรวจรักษา รายชื่อเรือนจ�ำ/
จ�ำนวนผู้ต้องขังชายและหญิงในเรือนจ�ำ/ ผู้ต้องขังก่อน-หลัง โครงการราชทัณฑ์ฯ ทัณฑสถานเป้าหมายคู่กับ
เลขหน้าแผนภูมิ
ทัณฑสถานเป้าหมาย ระยะที่ ๑ ในเรือนจ�ำ/ทัณฑ์สถานเป้าหมาย โรงพยาบาลแม่ข่าย
(ยกเว้นจ�ำนวนผู้ต้องขัง ระยะที่ ๑ ตามเกณฑ์การจัดบริการ และการขึ้นทะเบียนสิทธิ UC
ในทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์) ตรวจรักษาผู้ต้องขัง ก่อนและหลังโครงการราชทัณฑ์ปันสุขฯ
เลขหน้าตาราง
๗๕ แผนภูมิที่ ๒ ๑๑๔ แผนภูมิที่ ๑๐ ๘๒
จ�ำนวนและร้อยละของผู้ต้องขังสูงอายุ บทบาทภารกิจของหน่วยงาน ตารางที่ ๒
ในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานเป้าหมาย ระยะที่ ๑ ภายใต้สังกัดกระทรวงสาธารณสุข รายละเอียดการจัด
(ยกเว้นจ�ำนวนผู้ต้องขังสูงอายุ ที่เกี่ยวข้องในโครงการ สื่อประชาสัมพั นธ์มุมสุขภาพฯ
ในทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์) ราชทัณฑ์ปันสุขฯ ในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานเป้าหมาย
ระยะที่ ๑
๗๖ แผนภูมิที่ ๓ ๑๑๖ แผนภูมิที่ ๑๑
ร้อยละผู้ต้องขังแยกตามโรค จ�ำนวนโรงพยาบาลแม่ข่าย ๘๖
ในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานเป้าหมาย ระยะที่ ๑ ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ตารางที่ ๓
(ยกเว้นผู้ต้องขังในทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์) ที่รับผิดชอบดูแลสุขภาพผู้ต้องขัง ความพึ งพอใจ
ในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน ที่มีต่อการใช้บริการมุมสุขภาพ
๗๗ แผนภูมิที่ ๔ ราชทัณฑ์ปันสุขในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน
จ�ำนวนผู้ต้องขังต่างชาติ ๑๑๘ แผนภูมิที่ ๑๒
ในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานเป้าหมาย ระยะที่ ๑ นโยบายและการขับเคลื่อนการพั ฒนา ๑๐๒
(ยกเว้นผู้ต้องขังในทัณฑสถานราชพยาบาลทัณฑ์) ระบบบริการส�ำหรับผู้ต้องขังในเรือนจ�ำ ตารางที่ ๔
ตามแนวทางของโครงการราชทัณฑ์ปันสุข สาขาของแพทย์
๗๘ แผนภูมิที่ ๕ ท�ำความ ดี เพื่ อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ที่ให้บริการในโครงการราชทัณฑ์ปันสุขฯ
จ�ำนวนผู้ต้องขังก่อน-หลังขึ้นทะเบียน ระยะที่ ๑
สิทธิหลักประกันสุขภาพ ๑๒๓
ในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานเป้าหมาย ระยะที่ ๑ ๑๒๔ แผนภูมิที่ ๑๓ ตารางที่ ๕
(ยกเว้นผู้ต้องขังในทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์) กรอบแนวคิดแผนการด�ำเนินการ รายงานความครอบคลุม
ของกรมควบคุมโรค การลงทะเบียนสิทธิผู้ต้องขัง
๙๐ แผนภูมิที่ ๖ โครงการราชทัณฑ์ปันสุขฯ
ความพึ งพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด ๑๓๗ แผนภูมิท่ี ๑๔ ระยะที่ ๑
(เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ ผู้ต้องขังชาย ผู้ต้องขังหญิง) แผนการด�ำเนินงานการจัดระบบ
ที่มีต่อมุมสุขภาพราชทัณฑ์ปันสุข รายข้อ ฐานข้อมูลนิติจิตเวช ๑๔๓
ตารางที่ ๖
๙๖ แผนภูมิที่ ๗ ๑๓๘ แผนภูมิที่ ๑๕ รายงานการใช้ครุภัณฑ์พระราชทาน
จ�ำนวนอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) แนวทางการให้บริการผู้ป่วย ของโรงพยาบาลแม่ข่าย
ก่อน-หลังโครงการราชทัณฑ์ปันสุขฯ สถาบันโรคทรวงอก : Flow ผู้ป่วย OPD โครงการราชทัณฑ์ปันสุขฯ ๑๒ แห่ง
ตามเกณฑ์มาตรฐาน ๑:๕๐
๑๕๖ แผนภูมิที่ ๑๖ ๑๖๘
๙๘ แผนภูมิที่ ๘ จ�ำนวนครั้งการส่งผู้ต้องขัง ตารางที่ ๗
การเปรียบเทียบจ�ำนวนบุคลากรทางการแพทย์ ออกไปรักษาภายนอกเรือนจ�ำ หน้าที่ความรับผิดชอบ
ประจ�ำเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานต่อจ�ำนวนผู้ต้องขัง ทั้งแบบนอนพั กค้าง และแบบไปกลับ ของอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ
ก่อน-หลัง และเกณฑ์ ในอัตราส่วน ๑ : ๑,๒๕๐ คน (อสรจ.)
ความเป็นมา
โครงการราชทัณฑ์ปันสุข
ท�ำความ ดี เพื่ อชาติ ศาสน์ กษัตริย์
การด�ำเนินโครงการ และองค์ประธานกรรมการฯ ในการนี้ พระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ วั และสมเด็จพระ
ได้ พ ระราชทานแนวทางการท� ำ งานให้ กั บ กรม นางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชด�ำเนินเปิด
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสนิ ทร โดยมี พ ระราชด� ำ ริ ว ่ า ทั ณ ฑสถานโรงพยาบาล ราชทั ณ ฑ์ แ ละกระทรวงสาธารณสุ ข รวมทั้ ง โครงการราชทัณฑ์ปนั สุข ท�ำความ ดี เพือ่ ชาติ ศาสน์
มหาวชิ ร าลงกรณ พระวชิ ร เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ราชทั ณ ฑ์ เ ป็ น โรงพยาบาลแห่ ง เดี ย วในสั ง กั ด หน่วยงานอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง จึงท�ำให้เกิดการตืน่ ตัวและ กษัตริย์ เมือ่ วันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๖๒ ณ ทัณฑสถาน
มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ กระทรวงยุ ติ ธ รรม ต้ อ งให้ บ ริ ก ารแก่ ผู ้ ต ้ อ งขั ง ร่วมแรงร่วมใจในการท�ำงานระหว่างหน่วยงานขึ้น โรงพยาบาลราชทัณฑ์ ส่งผลให้ทุกฝ่ายร่วมแรง
แต่งตั้งคณะกรรมการโครงการราชทัณฑ์ปันสุข ในกรณีเจ็บไข้ได้ป่วยเป็นจ�ำนวนมาก รวมทั้งใน ซึ่ ง ถื อ เป็ น มิ ติ ข องการประสานการปฏิ บั ติ จ าก ร่วมใจในการสนองตามพระบรมราโชบายอย่าง
ท�ำความ ดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ เมื่อวันที่ เรื อ นจ� ำ /ทั ณ ฑสถานทั่ ว ประเทศยั ง ขาดแคลน ทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐด้วยกัน ภาครัฐกับภาค เต็มก�ำลังความสามารถ และจากผลการด�ำเนินงาน
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ โดยมีพระบาทสมเด็จพระปรเมนทร บุคลากร เครื่องมือแพทย์ และเวชภัณฑ์ การดูแล เอกชนและภาคประชาชน ดังนั้น การด�ำเนินการ ร่วมกันของทุกฝ่าย ได้บันทึกไว้ในรายงานฉบับนี้
รามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้า สุขภาพของผู้ต้องขังถือเป็นสิ่งส�ำคัญในการที่จะให้ นับแต่เริ่มโครงการจนถึงปัจจุบัน พบว่ามีการน�ำ เพื่อเป็นหลักฐานที่ทรงคุณค่าและตรึงตราไว้ในใจ
เจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธา ผู้ต้องขังป่วยเข้าถึงการรับการรักษาพยาบาลอย่าง แนวทางในการด�ำเนินงานตามเรือนจ�ำเป้าหมาย ของปวงชนชาวไทยทุกคน ว่าองค์พระมหากษัตริย์
พิ ม ลลั ก ษณ พระบรมราชิ นี เป็ น องค์ ป ระธาน เท่าเทียมตามหลักมนุษยธรรม จึงได้มีการก�ำหนด ๒๕ แห่ง ไปขยายสู่เรือนจ�ำ/ทัณ ฑสถาน และ ไทยทรงมีพระเมตตาห่วงใยประชาชนในทุกกลุ่ม
ที่ปรึกษา และมีสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชร เป้าหมายการด�ำเนินงานในช่วงแรกไว้ ๒๔ แห่ง และ โรงพยาบาลทัว่ ประเทศ จนกระทัง่ น�ำไปสูก่ ารเข้าถึง ทุกสถานที่ และไม่เลือกเชือ้ ชาติ ศาสนา และวรรณะ
กิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณี รวมทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์อีก ๑ แห่ง บริการด้านสุขภาพในกลุ่มผู้ต้องขังอย่างไม่เคย แต่อย่างใด
สิรพิ ชั ร มหาวัชรราชธิดา เป็นองค์ประธานกรรมการ รวมทั้งสิ้น ๒๕ แห่ง แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อเริ่มมี ปรากฏขึ้นมาก่อน

10 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 11
วัตถุประสงค์
โครงการราชทัณฑ์ปันสุข
ท�ำความ ดี เพื่ อชาติ ศาสน์ กษัตริย์

เพื่ อยกระดับการดูแลสุขภาพ
ผูต ้ อ
้ งขังให้ได้รบ
ั การรักษา
พยาบาลเท่ า เที ย มกั บ
บุคคลภายนอก ให้เป็นไป
ตามหลักสิทธิมนุษยชน พั ฒนาบุคลากรทางการแพทย์
ของกรมราชทั ณ ฑ์ ใ ห้ มี
ความเหมาะสมและ
มี ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ใ น
สายงาน รวมทั้ ง สร้ า ง
ขวัญและก�ำลังใจ

เพื่ อจัดระบบการรักษาพยาบาล
ส� ำ ห รั บ ผู้ ต้ อ ง ขั ง ใ ห้ มี
ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ
ประสิ ท ธิ ผ ล ตลอดจน
ปรับปรุงอนามัยสิง ่ แวดล้อม
การป้ อ งกั น โรคและการ พั ฒ น า อ า ส า ส มั ค ร
ส่งเสริมสุขภาพ ส า ธ า ร ณ สุ ข เ รื อ น จ� ำ
(อสรจ.) ให้ได้มาตรฐาน
และสามารถตอบสนอง
การดูแลสุขภาพผูต ้ อ้ งขัง
ในเรือนจ�ำได้

จัดหาอุปกรณ์ทางการแพทย์
ส�ำหรับสถานพยาบาลใน
เ รื อ น จ� ำ / ทั ณ ฑ ส ถ า น
ทั ณ ฑสถานโรงพยาบาล
ราชทัณฑ์ และโรงพยาบาล
แม่ข่าย

12 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 13
แผนการด�ำเนินงาน
โครงการราชทัณฑ์ปน
ั สุขฯ
ระยะที่ ๑
ได้ก�ำหนดเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานเป้าหมายในระยะที่ ๑ ไว้ ๒๕ แห่ง แบ่งเป็น เรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน
จ�ำนวน ๒๔ แห่ง และทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ จ�ำนวน ๑ แห่ง ดังนี้
๑. เรือนจ�ำกลางเขาบิน ๑๐. เรือนจ�ำกลางนครพนม ๑๙. ทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่
๒. เรือนจ�ำกลางระยอง ๑๑. เรือนจ�ำกลางเชียงใหม่ ๒๐. ทัณฑสถานหญิงชลบุรี
๓. เรือนจ�ำกลางพิษณุโลก ๑๒. เรือนจ�ำจังหวัดพิษณุโลก ๒๑. ทัณฑสถานหญิงธนบุรี
๔. เรือนจ�ำกลางคลองไผ่ ๑๓. เรือนจ�ำกลางนครปฐม ๒๒. ทัณฑสถานหญิงพิษณุโลก
๕. เรือนจ�ำกลางนครศรีธรรมราช ๑๔. เรือนจ�ำกลางสุราษฎร์ธานี ๒๓. ทัณฑสถานหญิงสงขลา
๖. เรือนจ�ำกลางสมุทรปราการ ๑๕. เรือนจ�ำกลางสงขลา ๒๔. ทัณฑสถานบ�ำบัดพิเศษหญิง
๗. เรือนจ�ำกลางชลบุรี ๑๖. เรือนจ�ำกลางบางขวาง ๒๕. ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์
๘. เรือนจ�ำกลางนครราชสีมา ๑๗. เรือนจ�ำกลางคลองเปรม
๙. ทัณฑสถานหญิงนครราชสีมา ๑๘. ทัณฑสถานหญิงกลาง
และได้มีการวางแผนการด�ำเนินโครงการฯ ในระยะต่อไป ดังนี้

ด�ำเนินการต่อเนื่องตามแผน รวบรวมข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์ รายงานผลการด� ำ เนิ น งาน


และด�ำเนินการต่อในเรือนจ�ำ วิจัย ประเมินผลและพัฒนา ให้คณะกรรมการทราบอย่าง
ที่ยังไม่ได้ด�ำเนินการ ปรับปรุงแผน ต่อเนื่อง

14 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 15
การพระราชทาน
เครื่องมือ รายการเครื่องมือและครุภัณฑ์ทางการแพทย์

และครุภัณฑ์
พระราชทานแก่โรงพยาบาลแม่ข่าย ๑๒ แห่ง
จ�ำนวน ๒๔ ชิ้น
เป็นเงิน ๙๘,๘๘๐,๐๐๐ บาท

ทางการแพทย์ ประกอบด้วย กล้องถ่ายภาพจอประสาทตาดิจิตอล แห่งละ ๑ เครื่อง


รถเอกซเรย์เคลื่อนที่แบบภาพดิจิตอล แห่งละ ๑ คัน
โรงพยาบาลแม่ข่าย ๑๒ แห่ง ประกอบด้วย

พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานเครื่องมือและครุภัณฑ์ทางการแพทย์
๑. รพ.นครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่
ด้วยพระราชทรัพย์สว ่ นพระองค์ รวมเป็นเงินทัง
้ สิน ่ สามารถจัดซือ
้ ๑๙๐,๐๗๒,๘๖๓ บาท ซึง ้ ๒. รพ.พุทธชินราช จังหวัดพิษณุโลก
เครื่องมือและครุภัณฑ์ทางการแพทย์ได้ถึง ๗๕๖ ชิ้น โดยแบ่งออกเป็น ๓. รพ.สวรรค์ประชารักษ์ จังหวัดนครสวรรค์
๔. รพ.สระบุรี จังหวัดสระบุรี
โรงพยาบาลแม่ข่าย ๑๒ แห่ง ๕. รพ.นครปฐม จังหวัดนครปฐม
จ�ำนวน ๒๔ ชิ้น ๖. รพ.ชลบุรี จังหวัดชลบุรี
๗. รพ.ขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
เป็นเงิน ๙๘,๘๘๐,๐๐๐ บาท ๘. รพ.อุดรธานี จังหวัดอุดรธานี
๙. รพ.ปากช่องนานา จังหวัดนครราชสีมา
เรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน ๒๔ แห่ง ๑๐. รพ.สรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี
จ�ำนวน ๖๑๕ ชิน้ ๑๑. รพ.มหาราชนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช
๑๒. รพ.สงขลา จังหวัดสงขลา
เป็นเงิน ๔๗,๗๙๖,๐๕๐ บาท
ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์
จ�ำนวน ๑๑๗ ชิ้น
เป็นเงิน ๔๓,๓๙๖,๘๑๓ บาท

16 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 17
รายการเครื่องมือและครุภัณฑ์ทางการแพทย์พระราชทาน รายการเครือ่ งมือและครุภัณฑ์ทางการแพทย์พระราชทาน
แก่เรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน ๒๔ แห่ง จ�ำนวน ๖๑๕ ชิ้น แก่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ จ�ำนวน ๑๑๗ ชิ้น
เป็นเงิน ๔๗,๗๙๖,๐๕๐ บาท เป็นเงิน ๔๓,๓๙๖,๘๑๓ บาท
ประกอบด้วย ประกอบด้วย
๑. เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจชนิดอัตโนมัติ (AED) พร้อมตู้ตั้งพื้นจอแสดงผล ๑. เครื่องช่วยหายใจชนิดควบคุมด้วยปริมาตรและความดันขนาดใหญ่
และระบบสัญญาณเตือน จ�ำนวน ๑๐ เครื่อง (Volume ventilator) จ�ำนวน ๒ เครื่อง
๒. เครื่องขูดหินปูน แบบ Electro Magnetic จ�ำนวน ๒๔ เครื่อง ๒. เครื่องดมยาสลบพร้อมเครื่องช่วยหายใจ (Anesthesia machine) จ�ำนวน ๑ เครื่อง
๓. เครื่องฉายแสง พร้อมที่วัดความเข้มแสง จ�ำนวน ๒๔ เครื่อง ๓. เครื่องเฝ้าระวังและติดตามสัญญาณชีพผู้ป่วยพร้อมภาควัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
๔. เครื่องชั่งน�้ำหนัก แบบดิจิตอล พร้อมที่วัดส่วนสูง จ�ำนวน ๓๑ เครื่อง ในคนไข้ใส่ท่อและไม่ใส่ท่อ (Monitor & Co2) จ�ำนวน ๑ เครื่อง
๕. เครื่องดูดเสมหะ จ�ำนวน ๓๑ เครื่อง ๔. เครื่องให้ความอบอุ่นชนิดเป่าลมร้อน (Temperature management unit) จ�ำนวน ๑ เครื่อง
๖. เครื่องวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ชนิด ๑๒ ลีด พร้อมระบบแปรผลอัตโนมัติ (EKG) จ�ำนวน ๒๓ เครื่อง ๕. เครื่องมืออุ่นสารน�้ำหรือเลือดเพื่อให้ทางหลอดเลือดด�ำ (Blood & infusion warmer)
๗. กล้องจุลทรรศน์ตรวจตาชนิดล�ำแสงแคบพร้อมระบบเก็บภาพดิจิตอล (slit lamp) จ�ำนวน ๔ เครื่อง
จ�ำนวน ๒๔ เครื่อง ๖. ระบบสารสนเทศฐานข้อมูลผู้ต้องขังของสถานพยาบาลลูกข่าย
๘. เครื่องนึ่งฆ่าเชื้อไฟฟ้า (Autoclave) ขนาดไม่น้อยกว่า ๔๐ ลิตร จ�ำนวน ๑๕ เครื่อง ๖.๑ Soft ware จ�ำนวน ๗ เครื่อง
๙. เครื่องปั่นเม็ดเลือดแดงอัดแน่น (ส�ำหรับหน่วยปฐมภูมิ) จ�ำนวน ๒๐ เครื่อง ๖.๒ Hard ware แม่ข่าย จ�ำนวน ๗ เครื่อง
๑๐. เครื่องปั่นและผสมสารอุดฟัน จ�ำนวน ๒๔ เครื่อง ๖.๓ Hard ware ลูกข่าย จ�ำนวน ๗ เครื่อง
๑๑. เครื่องพ่นยา ละอองฝอยพร้อมอุปกรณ์ จ�ำนวน ๒๔ เครื่อง ๗. ชุดโต๊ะตรวจหู คอ จมูก พร้อมเก้าอี้ผู้ป่วยและแพทย์ (Equipment cabinet) จ�ำนวน ๑ ชุด
๑๒. เครื่องฟังเสียงหัวใจเด็กในครรภ์ส�ำหรับศูนย์สุขภาพชุมชน จ�ำนวน ๑๐ เครื่อง ๘. เครื่องวัดความดันโลหิต แบบสอดแขน ชนิดอัตโนมัติ จ�ำนวน ๓ เครื่อง
๑๓. เครื่องวัดความดันโลหิตแบบตั้งพื้น จ�ำนวน ๒๔ เครื่อง ๙. เครื่องชั่งน�้ำหนัก แบบดิจิตอลพร้อมที่วัดส่วนสูง จ�ำนวน ๑ เครื่อง
๑๔. เครื่องวัดความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด (Pulse Oximeter) ๑๐. เครื่องวิเคราะห์ก๊าซในเลือด (Blood Gas) จ�ำนวน ๑ เครื่อง
ชนิดพกพาส�ำหรับบริการปฐมภูมิ จ�ำนวน ๒๓ เครื่อง ๑๑. เครื่องปั่นตกตะกอนความเร็วสูง (Max ๑๗,๐๐๐ RPM) จ�ำนวน ๑ เครื่อง
๑๕. เครื่องสั่นความถี่เหนือเสียง ขนาดไม่น้อยกว่า ๑.๕ ลิตร จ�ำนวน ๒๔ เครื่อง ๑๒. ตู้ดูดสารเคมี Ductless & Recirculation Fume Hood (๑๑๐๐*๘๘๕*๖๕๐ mm)
๑๖. เครื่องเอกซเรย์ฟัน จ�ำนวน ๒๔ เครื่อง จ�ำนวน ๑ เครื่อง
๑๗. โคมไฟตรวจภายใน/ผ่าตัดเล็ก จ�ำนวน ๒๓ เครื่อง ๑๓. เครื่องนึ่งฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ด้วยไอน�้ำระบบอัตโนมัติขนาดไม่น้อยกว่า ๑๐๐ ลิตร
๑๘. ชุดตรวจหู ตา (Opthalmoscope) จ�ำนวน ๒๒ เครื่อง (Pre-Post-Vac) จ�ำนวน ๑ เครื่อง
๑๙. เตียงเคลื่อนย้ายผู้ป่วยปรับระดับมือหมุน จ�ำนวน ๒๓ เครื่อง ๑๔. ตู้ปลอดเชื้อ Class II biological safety cabinet ไม่น้อยกว่า ๖ ฟุต จ�ำนวน ๑ ตู้
๒๐. เตียงตรวจภายใน จ�ำนวน ๑๐ เครื่อง ๑๕. เครื่องเอกซเรย์ขากรรไกรและใบหน้า (OPG) จ�ำนวน ๑ เครื่อง
๒๑. ถังออกซิเจนพร้อมอุปกรณ์การให้ครบชุด จ�ำนวน ๑๙ เครื่อง ๑๖. เครื่องล้างกล้องส่องตรวจชนิด ๒ หัว จ�ำนวน ๑ เครื่อง
๒๒. ยูนิตท�ำฟัน จ�ำนวน ๒๔ เครื่อง
๒๓. หม้อต้มเครื่องมือ จ�ำนวน ๑๙ เครื่อง
๒๔. หุ่นจ�ำลองผู้ใหญ่ใช้ในการสอน CPR จ�ำนวน ๑๒๐ อัน

18 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 19
ตัวอย่างเครื่องมือและครุภัณฑ์ทางการแพทย์พระราชทาน

๑๗. ยูนิตท�ำฟัน จ�ำนวน ๒ เครื่อง


๑๘. เครื่องเอกซเรย์ทั่วไปขนาดไม่น้อยกว่า ๑๐๐๐ mA. แบบแขวนเพดานดิจิตอล
๒ จอรับภาพ จ�ำนวน ๑ เครื่อง
๑๙. เครื่องตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจพร้อมระบบประมวลผลขนาดกระดาษบันทึก
แบบกระดาษความร้อนขนาดไม่น้อยกว่าเอ ๔ จ�ำนวน ๕ เครื่อง
๒๐. กล้องถ่ายภาพจอประสาทตาดิจิตอล (Fundus Camera) จ�ำนวน ๑ เครื่อง
๒๑. กล้องส่องตรวจกระเพาะอาหารและล�ำไส้เล็กส่วนต้นชนิดวีดิทัศน์
แบบคมชัด (Gastroscope) จ�ำนวน ๑ เครื่อง
๒๒. เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดไบเฟสิค พร้อมภาควัดออกซิเจนในเลือด
(Defibrillator biphasic) จ�ำนวน ๒ เครื่อง
๒๓. เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจชนิดอัตโนมัติ (AED) จ�ำนวน ๒ เครื่อง
๒๔. เครื่องควบคุมการให้ยาและสารละลายโดยใช้กระบอกฉีดยา
(Syring pump) จ�ำนวน ๕ เครื่อง
๒๕. เครื่องควบคุมการให้ยาและสารละลายอัตโนมัติ (Infusion Pump)
จ�ำนวน ๑๐ เครื่อง
๒๖. เครื่องนึ่งฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ด้วยไอน�้ำระบบ Pre-Post-Vac สองประตู
ขนาดไม่น้อยกว่า ๕๗๐ ลิตร (Autoclave) จ�ำนวน ๑ เครื่อง
๒๗. เครื่องเฝ้าติดตามการท�ำงานของหัวใจและสัญญาณชีพอัตโนมัติขนาดกลาง
เชื่อมต่อระบบ Central monitor จ�ำนวน ๙ เครื่อง
๒๘. เตียงผู้ป่วยส�ำหรับ ICU ปรับระดับด้วยไฟฟ้า ชนิด ๔ มอเตอร์ จ�ำนวน ๔ เตียง
๒๙. หุ่นจ�ำลองผู้ใหญ่ใช้ในการสอน CPR ส�ำหรับ ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์
เรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน โรงพยาบาลเครือข่าย ๕ แห่ง แห่งละ ๕ ตัว จ�ำนวน ๒๕ ตัว
๓๐. รถเอกซเรย์เคลื่อนที่แบบภาพดิจิตอล จ�ำนวน ๑ คัน
๓๑. เครื่องฟอกไตแบบวัดค่าโซเดียมในเลือดอัตโนมัติ จ�ำนวน ๖ ตัว

20 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 21
๑ ๖ ๘

๗ ๙

๔ ๕

๑. เครื่องขูดหินปูน แบบ Electro Magnetic ๖. เครื่องพ่นยาละอองฝอย พร้อมอุปกรณ์


๒. เครื่องฟังเสียงหัวใจเด็กในครรภ์ ๗. เครื่องนึ่งฆ่าเชื้อไฟฟ้า Autoclave
๓. เครื่องชั่งน�้ำหนักแบบดิจิตอล พร้อมที่วัดส่วนสูง ๘. เครื่องปั่นเม็ดเลือดแดงอัดแน่น Hematocrit
๔. เครื่องดูดเสมหะ ๙. เครื่องปั่นและผสมสารอุดฟัน
๕. เครื่องตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ พร้อมระบบประมวลผล
ขนาดกระดาษบันทึก แบบกระดาษความร้อน

22 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 23
๑๔ ๑๗

๑๐ ๑๒

๑๕

๑๑ ๑๓

๑๘

๑๖

๑๐. เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจชนิดอัตโนมัติ ๑๔. ชุดตรวจหู ตา


๑๑ หุ่นจ�ำลองผู้ใหญ่ ใช้ในการสอน CPR ๑๕. เครื่องสั่นความถี่เหนือเสียง
๑๒. เตียงผู้ป่วยส�ำหรับ ICU ปรับระดับด้วยไฟฟ้า ชนิด ๔ มอเตอร์ ๑๖. ยูนิตท�ำฟัน
๑๓. เครื่องวัดความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด Pulse Oximeter ๑๗. โคมไฟตรวจภายใน/ผ่าตัดเล็ก
๑๘. เครื่องวัดความดันโลหิต
แบบสอดแขนชนิดอัตโนมัติ

24 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 25
๒๘ ธันวาคม ๒๕๖๒

เวลา ๑๕.๐๐ น. พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จ


พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชด�ำเนินไปยังทัณฑสถาน-
โรงพยาบาลราชทัณฑ์ ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร
กรุ ง เทพมหานคร เพื่ อ เป็ น องค์ ป ระธานในพิ ธี เ ปิ ด การด� ำ เนิ น งาน
ตามโครงการราชทัณฑ์ปันสุข ท�ำความ ดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ โดยมี
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวง
ราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา องค์ประธานกรรมการโครงการ
ราชทัณฑ์ปนั สุขฯ ผูบ้ ริหารกระทรวงยุตธิ รรม ผูบ้ ริหารกระทรวงสาธารณสุข
อธิบดีกรมราชทัณฑ์ และคณะบุคคลที่เกี่ยวข้อง เฝ้าฯ รับเสด็จ
ในพิธเี ปิดการด�ำเนินงานตามโครงการราชทัณฑ์ปนั สุข ท�ำความ ดี เพือ่ ชาติ
ศาสน์ กษัตริย์ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี
กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา กราบบังคมทูลรายงาน

26 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 27
“ข้าพระพุทธเจ้าในนามคณะกรรมการโครงการราชทัณฑ์ปันสุข กรุงเทพฯ ด้วย พระมหากรุณาธิคุณครั้งนี้ จะน�ำไปสู่ความก้าวหน้าของ
มีความส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าล้นกระหม่อมหาที่สุดมิได้ งานราชทัณฑ์ไทย และเป็นตัวอย่างที่ดีให้แก่ประเทศต่างๆ ทั่วโลก ใน
ที่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จ การดูแลผู้ต้องขังในด้านการแพทย์ต่อไป
พระราชด�ำเนินมาทรงเปิดโครงการราชทัณฑ์ปันสุข ในวันนี้ ข้าพระพุทธเจ้า และคณะกรรมการโครงการราชทัณฑ์ปนั สุขฯ มีความ
โครงการราชทัณฑ์ปันสุข เป็นโครงการที่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทมี ส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น ที่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท และ
พระบรมราชโองการจัดตั้งขึ้น ด้วยทรงพระราชด�ำริว่า ผู้ต้องขังส่วนใหญ่ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี มีพระมหากรุณาทรงรับเป็นประธาน
ประสบปัญหาด้านสุขภาพ เนื่องจากขาดแคลนเครื่องมือและครุภัณฑ์ ทีป่ รึกษาโครงการ และเสด็จพระราชด�ำเนินมาพระราชทานเครือ่ งมือและ
ทางการแพทย์ เวชภัณฑ์ และขาดบุคลากรทางการแพทย์ที่จะดูแลรักษา ครุภัณฑ์ทางการแพทย์ ซึ่งจัดซื้อด้วยทุนพระราชทานส่วนพระองค์ ให้แก่
จึงได้พระราชทานแนวทางการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ท�ำให้เกิดการ ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ และโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวง
บูรณาการทางการแพทย์ระหว่างกระทรวงสาธารณสุข หน่วยงานทางการ สาธารณสุข ในวันนี้ถือเป็นการเปิดโครงการอย่างเป็นทางการและเป็น
แพทย์ของทหาร ต�ำรวจ โรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัย โรงพยาบาล ก้าวแรกของการด�ำเนินงานตามโครงการ ยังมีเรือนจ�ำและทัณฑสถาน
เอกชน ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กับกรมราชทัณฑ์ อย่างที่ เป้าหมายอีก ๒๔ แห่ง ที่จะได้รับพระราชทานพระมหากรุณาธิคุณเช่นนี้
ไม่เคยปรากฏมาก่อน ทั้งยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ เป็นล�ำดับถัดไป ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายขอรับพระบรมราโชบายใส่เกล้า
จิตอาสาพระราชทาน “เราท�ำความ ดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์” ได้เข้ามา ใส่กระหม่อม เพือ่ น�ำไปด�ำเนินการให้บงั เกิดผลเป็นรูปธรรม มีความส�ำเร็จ
มีส่วนร่วมในการช่วยเหลือด้านการแพทย์ การพยาบาล และด้านอื่นๆ และความก้าวหน้ายิ่งๆ ขึ้นไป”
ทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ ให้ผตู้ อ้ งขังได้เข้าถึงการรักษาพยาบาลอย่างเท่าเทียมตาม
หลักมนุษยธรรม นับเป็นการสืบสาน รักษา และต่อยอดแนวพระราชด�ำริ ค�ำกราบบังคมทูลรายงานของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี
ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา
บรมนาถบพิตร เกีย่ วกับการดูแลและพัฒนาคุณภาพชีวติ ของผูต้ อ้ งขัง เพือ่ ในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี
เสด็จพระราชด�ำเนินไปในพิธีเปิดโครงการราชทัณฑ์ปันสุขฯ ณ ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์
ให้สามารถด�ำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณภาพหลังจากพ้นโทษ วันเสาร์ที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๖๒
ทั้งยังสอดคล้องกับข้อกฎหมาย ข้อก�ำหนดแมนเดลา และข้อก�ำหนด

28 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 29
นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี
ทรงกดปุ่มเปิดแพรคลุมป้าย “มุมสุขภาพราชทัณฑ์ปันสุข” และทอดพระเนตรเครื่องมือและ
ครุภัณฑ์ทางการแพทย์พระราชทานและบอร์ดนิทรรศการของพระบรมวงศานุวงศ์ที่ทรงงาน
เพื่อช่วยเหลือผู้ต้องขัง

30 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 31
อีกทั้งยังทรงพระราชทานความเมตตาในการเสด็จเยี่ยมผู้ต้องขังป่วยฟอกไตและผู้ป่วย
โรคต่างๆ ณ ชั้น ๖ ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์

32 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 33
การเสด็จ
แทนพระองค์
ในการพระราชทานเครื่องมือ
และครุภัณฑ์ทางการแพทย์
เรือนจ�ำกลางระยอง
ณ เรือนจ�ำ/ทัณฑสถานเป้าหมาย เรือนจ�ำกลางชลบุรี
ระยะที่ ๑
พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า
และทัณฑสถานหญิงชลบุรี
โปรดกระหม่ อ มให้ สมเด็ จ พระเจ้ า ลู ก เธอ เจ้ า ฟ้ า พั ช รกิ ติ ย าภา ๑๐ มกราคม ๒๕๖๓
นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา
พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณา
เสด็ จ แทนพระองค์ ใ นการพระราชทานเครื่ อ งมื อ และครุ ภั ณ ฑ์
โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้า
ทางการแพทย์ตามโครงการราชทัณฑ์ปันสุข ท�ำความ ดี เพื่อชาติ
พัชรกิตยิ าภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณสี ริ พิ ชั ร
ศาสน์ กษัตริย์ ในเรือนจ�ำเป้าหมาย ระยะที่ ๑ ดังนี้
มหาวัชรราชธิดา เสด็จแทนพระองค์ในการพระราชทานเครือ่ งมือ
และครุภัณฑ์ทางการแพทย์ตามโครงการราชทัณฑ์ปันสุข
ท�ำความ ดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ให้กับเรือนจ�ำกลาง
ระยอง เรือนจ�ำกลางชลบุรี และทัณฑสถานหญิงชลบุรี ณ
เรือนจ�ำกลางระยอง ต�ำบลหนองละลอก อ�ำเภอบ้านค่าย
จังหวัดระยอง

34 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 35
ในครั้งนี้พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว อันก่อให้เกิดประสิทธิภาพเพิม่ มากขึน้ และเกิดผลดี
และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ได้พระราชทาน ต่อการให้บริการกับผู้ต้องขัง และประชาชนทั่วไป
เครือ่ งมือและครุภณ
ั ฑ์ทางการแพทย์ รวมทัง้ การจัด ถือเป็นบทเรียน และแบบอย่างทีด่ ี ซึง่ จะน้อมน�ำไปใช้
บริการทางการแพทย์ให้กับผู้ต้องขังในเรือนจ�ำ/ เป็นแนวทางในการท�ำงานระหว่างหน่วยงานต่อไป
ทัณฑสถานเป้าหมายทั้ง ๓ แห่ง และพระราชทาน ในส่วนของฝ่ายสาธารณสุขจังหวัดระยอง ได้มคี วาม
รถเอกซเรย์ เ คลื่ อ นที่ แ บบภาพดิ จิ ต อล ให้ กั บ ก้าวหน้า และถือเป็นนวัตกรรมในการท�ำงานที่
โรงพยาบาลชลบุรี ซึง่ การเสด็จแทนพระองค์ของสมเด็จ สอดคล้องกับข้อก�ำหนดแมนเดลาของสหประชาชาติ
พระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิตยิ าภา นเรนทิราเทพยวดี ซึ่งนวัตกรรมตัวอย่างที่ชัดเจน คือ โรงพยาบาล
กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา ในครั้งนี้ บ้านค่าย จังหวัดระยอง ได้มกี ารแบ่งพืน้ ทีใ่ นโรงพยาบาล
ท�ำให้เกิดการบูรณาการในการท�ำงาน ระหว่างหน่วยงาน ให้เป็นส่วนที่ดูแลผู้ต้องขังป่วย
สาธารณสุ ข และหน่ ว ยงานราชทั ณ ฑ์ ใ นพื้ น ที่

36 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 37
สมเด็ จ พระเจ้ า ลู ก เธอ เจ้ า ฟ้ า พั ช รกิ ติ ย าภา จากนัน้ เสด็จพระราชทานของเยีย่ มให้แก่ผตู้ อ้ งขังป่วย
นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร ชายและหญิง รวมถึงผู้ต้องขังในห้องแม่และเด็ก
มหาวัชรราชธิดา ทรงเปิด “มุมสุขภาพราชทัณฑ์ปนั สุข” โดยพระราชทานถุงพระราชทานให้กบั ผูต้ อ้ งขังหญิง
และทอดพระเนตร ห้องทันตกรรม การสาธิตของ ตั้งครรภ์ จ�ำนวน ๓ ราย เด็กติดผู้ต้องขัง จ�ำนวน
อาสาสมั ค รสาธารณสุ ข เรื อ นจ� ำ (อสรจ.) และ ๑๒ ราย
ทอดพระเนตรนิทรรศการ โครงการราชทัณฑ์ปนั สุขฯ

38 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 39
เรือนจ�ำกลางนครศรีธรรมราช
เรือนจ�ำกลางสุราษฎร์ธานี
เรือนจ�ำกลางสงขลา
และทัณฑสถานหญิงสงขลา
๒ กุมภาพั นธ์ ๒๕๖๓ เรือนจ�ำกลางนครศรีธรรมราช เรือนจ�ำกลาง
สุราษฎร์ธานี เรือนจ�ำกลางสงขลา และทัณฑสถานหญิง
อี ก ทั้ ง ในโรงพยาบาลสงขลา ได้ ด� ำเนิ น การ
แบ่ ง พื้ น ที่ รั บ ผู ้ ต ้ อ งขั ง เป็ น ผู ้ ป ่ ว ยใน ซึ่ ง ถื อ เป็ น
พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า สงขลา ได้รับพระราชทานเครื่องมือและครุภัณฑ์ การประสานการปฏิบัติร่วมกันระหว่างกระทรวง
โปรดกระหม่อมให้ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิรา ทางการแพทย์ รวมทั้ ง โรงพยาบาลมหาราช สาธารณสุขและกระทรวงยุติธรรม
เทพยวดี กรมหลวงราชสาริณสี ริ พิ ชั ร มหาวัชรราชธิดา เสด็จแทนพระองค์ นครศรีธรรมราชและโรงพยาบาลสงขลา ได้รับ ในการนี้ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิตยิ าภา
ในการพระราชทานเครื่องมือและครุภัณฑ์ทางการแพทย์ตามโครงการ พระราชทานรถเอกซเรย์เคลือ่ นทีแ่ บบภาพดิจติ อล นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร
ราชทัณฑ์ปันสุข ท�ำความ ดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ให้กับเรือนจ�ำกลาง จ�ำนวน ๑ คัน ซึ่งนอกจากจะเพิ่มขีดความสามารถ มหาวัชรราชธิดา ได้พระราชทานพระราชทรัพย์
นครศรีธรรมราช เรือนจ�ำกลางสุราษฎร์ธานี เรือนจ�ำกลางสงขลา และ ในการรักษาผู้ต้องขังแล้วประชาชนในพื้นที่จังหวัด ส่วนพระองค์ จ�ำนวน ๕๐๐,๐๐๐ บาท เพื่อเป็นทุน
ทัณฑสถานหญิงสงขลา ณ เรือนจ�ำกลางนครศรีธรรมราช ต�ำบลนาพรุ นครศรีธรรมราช จังหวัดสงขลา และจังหวัดใกล้เคียง ตั้งต้นในการสร้างสถานพยาบาล ณ เรือนจ�ำกลาง
อ�ำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช ยังได้รับประโยชน์ทางการแพทย์อีกด้วย ปัตตานี

40 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 41
จากนัน้ เสด็จไปยังแดนพยาบาล เพือ่ ทอดพระเนตร ๔ เรือนจ�ำ ได้แก่ เรือนจ�ำกลางนครศรีธรรมราช
“มุมสุขภาพราชทัณฑ์ปนั สุข” พร้อมพระราชทาน เรือนจ�ำกลางสุราษฎร์ธานี เรือนจ�ำกลางสงขลา
ถุงพระราชทานให้แก่ผู้ต้องขังชายป่วย จ�ำนวน และทัณฑสถานหญิงสงขลา และ ๓ โรงพยาบาล
๑๑ ราย และทอดพระเนตรการสาธิตของอาสาสมัคร ได้ แ ก่ โรงพยาบาลมหาราชนครศรี ธ รรมราช
สาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) ในการช่วยเหลือ โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี และโรงพยาบาลสงขลา
ผู้ป่วย และเสด็จไปยังบริเวณจัดนิทรรศการของ

42 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 43
เรือนจ�ำกลางเขาบิน
จังหวัดราชบุรี
และเรือนจ�ำกลางนครปฐม
๑๐ กุมภาพั นธ์ ๒๕๖๓
พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า เรือนจ�ำเป้าหมายที่ได้รับพระราชทานเครื่องมือและ
โปรดกระหม่อมให้ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา ครุภัณฑ์ทางการแพทย์ในวันดังกล่าว จ�ำนวน ๒ แห่ง ได้แก่
นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา เรือนจ�ำกลางเขาบิน และเรือนจ�ำกลางนครปฐม รวมทั้งยัง
เสด็ จ แทนพระองค์ ใ นการพระราชทานเครื่ อ งมื อ และครุ ภั ณ ฑ์ พระราชทานรถเอกซเรย์เคลื่อนที่แบบภาพดิจิตอลให้กับ
โรงพยาบาลนครปฐม ซึ่งนอกจากเพิ่มขีดความสามารถใน
ทางการแพทย์ตามโครงการราชทัณฑ์ปันสุข ท�ำความ ดี เพื่อชาติ
การรักษาผู้ต้องขังแล้ว ประชาชนในพื้นที่จังหวัดนครปฐม
ศาสน์ กษัตริย์ แก่เรือนจ�ำกลางเขาบิน และเรือนจ�ำกลางนครปฐม และจังหวัดใกล้เคียงยังได้ประโยชน์อีกด้วย
ณ เรือนจ�ำกลางเขาบิน ต�ำบลน�้ำพุ อ�ำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี

44 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 45
นอกจากนี้โรงพยาบาลนครปฐม ได้มีการใช้ สมเด็ จ พระเจ้ า ลู ก เธอ เจ้ า ฟ้ า พั ช รกิ ติ ย าภา
ระบบ VDO Conference ส�ำหรับผู้ป่วยจิตเวช นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร
และมี แ ผนที่ จ ะใช้ ร ะบบดั ง กล่ า วที่ แ ผนกฉุ ก เฉิ น มหาวัชรราชธิดา เสด็จทอดพระเนตรการสาธิต ล�ำดับต่อไป เสด็จทอดพระเนตร “มุมสุขภาพ
ตลอด ๒๔ ชั่วโมง ในส่วนของเรือนจ�ำกลางเขาบิน การตรวจรั ก ษาผู ้ ต ้ อ งขั ง ป่ ว ย โดยแพทย์ จ าก ราชทั ณ ฑ์ ป ั น สุ ข ” ทอดพระเนตรการสาธิ ต
ยั ง ได้ รั บ ความร่ ว มมื อ จากทั น ตแพทย์ จิ ต อาสา โรงพยาบาลค่ายภาณุรังษี ในอาคารราชทัณฑ์ปันสุข ของอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) ชาย
โรงพยาบาลดอนตูม เดือนละ ๑ – ๒ ครั้ง และจาก ในการช่วยเหลือผูป้ ว่ ย และพระราชทานถุงพระราชทาน
มูลนิธแิ พทย์อาสาสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ให้แก่ผู้ต้องขังชายป่วย จ�ำนวน ๓ ราย และผู้ต้องขัง
ปีละ ๑ ครั้ง พิการและชรา จ�ำนวน ๑๘ ราย

46 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 47
เรือนจ�ำกลางพิ ษณุโลก
เรือนจ�ำจังหวัดพิ ษณุโลก
และทัณฑสถานหญิงพิ ษณุโลก
จากนั้นเสด็จไปยังบริเวณจัดนิทรรศการ
๑๕ กุมภาพั นธ์ ๒๕๖๓
ของเรือนจ�ำและทัณฑสถาน ในพื้นที่เขต ๗
ประกอบด้วยเรือนจ�ำกลางเขาบิน เรือนจ�ำกลาง พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณา
ราชบุรี เรือนจ�ำกลางนครปฐม เรือนจ�ำจังหวัด โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้า
กาญจนบุรี เรือนจ�ำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พัชรกิตยิ าภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณสี ริ พิ ชั ร
เรื อ นจ� ำ กลางเพชรบุ รี เรื อ นจ� ำ จั ง หวั ด มหาวัชรราชธิดา เสด็จแทนพระองค์ในการพระราชทาน
สมุ ท รสาคร เรื อ นจ� ำ กลางสมุ ท รสงคราม เครื่องมือและครุภัณฑ์ทางการแพทย์ตามโครงการราชทัณฑ์
เรือนจ�ำจังหวัดสุพรรณบุรี และเรือนจ�ำอ�ำเภอทองผาภูมิ โรงพยาบาลพระจอมเกล้ า จั ง หวั ด เพชรบุ รี ปันสุข ท�ำความ ดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ให้แก่เรือนจ�ำกลาง
และโรงพยาบาลในพื้นที่เขต ๕ ได้แก่ โรงพยาบาล โรงพยาบาลสมุทรสาคร โรงพยาบาลสมเด็จ พิษณุโลก เรือนจ�ำจังหวัดพิษณุโลก และทัณฑสถานหญิง
ราชบุ รี โรงพยาบาลนครปฐม โรงพยาบาลพหล- พระพุทธเลิศหล้า โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช พิษณุโลก ณ เรือนจ�ำกลางพิษณุโลก ต�ำบลวังทอง อ�ำเภอ
พลพยุ ห เสนา โรงพยาบาลประจวบคี รี ขั น ธ์ และโรงพยาบาลทองผาภูมิ วังทอง จังหวัดพิษณุโลก

48 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 49
เรือนจําเปาหมายในเขต ๖ ที่ไดรับ
พระราชทานเครื่ อ งมื อ และครุ ภั ณ ฑ์
ทางการแพทย์ ๓ แหง คือ เรือนจํากลาง
พิษณุโลก เรือนจําจังหวัดพิษณุโลก และ
ทัณฑสถานหญิงพิษณุโลก โดยโรงพยาบาล
แม่ข่ายที่ได้รับพระราชทานรถเอกซเรย
เคลือ่ นทีแ่ บบภาพดิจติ อล ได้แก่ โรงพยาบาล
พุ ท ธชิ น ราช จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลก และ
โรงพยาบาลสวรรคประชารักษ์ จังหวัด
นครสวรรค์ ซึง่ นอกจากเพิม่ ขีดความสามารถ
ในการรักษาผูต อ งขังแลว ประชาชนในพืน้ ที่
จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดนครสวรรค และ
จั ง หวั ด ใกล เ คี ย ง ยั ง ได รั บ ประโยชน
ทางการแพทยอีกดวย
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิตยิ าภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณี
สิริพัชร มหาวัชรราชธิดา เสด็จเปิดและทอดพระเนตร “มุมสุขภาพราชทัณฑ์ปันสุข”
ห้องตรวจตา ห้องทันตกรรม และทอดพระเนตรการสาธิตการช่วยเหลือผู้ป่วย (สาธิต
การวัดความดัน) ของอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) ชาย

50 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 51
จากนั้ น เสด็ จ ไปยั ง บริ เ วณจั ด นิ ท รรศการ ๑๑ โรงพยาบาล ได้ แ ก่ โรงพยาบาลวั ง ทอง
๑๓ เรือนจ�ำ ได้แก่ เรือนจ�ำกลางพิษณุโลก เรือนจ�ำ โรงพยาบาลพิ จิ ต ร โรงพยาบาลก� ำ แพงเพชร
จังหวัดพิษณุโลก ทัณฑสถานหญิงพิษณุโลก เรือนจ�ำ โรงพยาบาลค่ายพ่อขุนผาเมือง โรงพยาบาลหล่มสัก
และเสด็จไปยังอาคารเรือนนอนผู้ต้องขังชายป่วย
จังหวัดพิจิตร เรือนจ�ำกลางก�ำแพงเพชร เรือนจ�ำ โรงพยาบาลสุ โ ขทั ย โรงพยาบาลสวรรคโลก
เพื่อพระราชทานถุงพระราชทานให้กับผู้ต้องขังชายป่วย
จังหวัดเพชรบูรณ์ เรือนจ�ำอ�ำเภอหล่มสัก เรือนจ�ำ โรงพยาบาลสวรรค์ ป ระชารั ก ษ์ โรงพยาบาล
จ�ำนวน ๘ ราย และผู้ต้องขังชรา จ�ำนวน ๒๐ ราย
จังหวัดสุโขทัย เรือนจ�ำอ�ำเภอสวรรคโลก เรือนจ�ำกลาง บรรพตพิสัย โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสิน
นครสวรรค์ ทัณฑสถานเปิดหนองน�ำ้ ขุน่ เรือนจ�ำกลาง มหาราช และโรงพยาบาลอุทัยธานี
ตาก และเรื อ นจ� ำ จั ง หวั ด อุ ทั ย ธานี และ

52 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 53
เรือนจ�ำกลางคลองไผ่
เรือนจ�ำกลางนครราชสีมา
ทัณฑสถานหญิงนครราชสีมา
และเรือนจ�ำกลางนครพนม เรือนจ�ำเป้าหมายทีไ่ ด้รบั พระราชทานเครือ่ งมือ จังหวัดอุดรธานี และจังหวัดขอนแก่น รวมทั้งพื้นที่
๒ มีนาคม ๒๕๖๓ และครุภณั ฑ์ทางการแพทย์ในวันดังกล่าว จ�ำนวน ๔ แห่ง ใกล้เคียง ยังได้รับประโยชน์ด้วย
คือ เรือนจ�ำกลางคลองไผ่ เรือนจ�ำกลางนครราชสีมา จากนั้นได้เสด็จไปยังอาคารพยาบาลเพื่อเปิด
พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรด ทัณฑสถานหญิงนครราชสีมา และเรือนจ�ำกลาง “มุ ม สุ ข ภาพราชทั ณ ฑ์ ป ั น สุ ข ” ทรงกดปุ ่ ม เปิ ด
กระหม่อมให้ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี นครพนม รวมทั้ ง ยั ง พระราชทานรถเอกซเรย์ แพรคลุ ม ป้ า ย “มุ ม สุ ข ภาพราชทั ณ ฑ์ ป ั น สุ ข ”
กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา เสด็จแทนพระองค์ในการ เคลื่ อ นที่ แ บบภาพดิ จิ ต อล ให้ กั บ โรงพยาบาล ทอดพระเนตรภายใน “มุมสุขภาพราชทัณฑ์ปนั สุข”
พระราชทานเครือ่ งมือและครุภณ ั ฑ์ทางการแพทย์ตามโครงการราชทัณฑ์ปนั สุข ปากช่องนานา โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ ทอดพระเนตรห้อง Telemedicine ห้องทันตกรรม
ท�ำความ ดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ให้กับเรือนจ�ำกลางคลองไผ่ เรือนจ�ำกลาง โรงพยาบาลอุดรธานี และโรงพยาบาลขอนแก่น และการสาธิตของอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ
นครราชสีมา ทัณฑสถานหญิงนครราชสีมา และเรือนจ�ำกลางนครพนม ณ ซึ่งนอกจากประชาชนในจังหวัดนครราชสีมาและ (อสรจ.) ชาย ในการช่วยเหลือผูป้ ว่ ย (สาธิตการย้อม
เรือนจ�ำกลางคลองไผ่ อ�ำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดใกล้เคียงแล้ว ประชาชนในจังหวัดอุบลราชธานี สไลด์เพื่อคัดกรองวัณโรคผ่านกล้องวงจรปิด)

54 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 55
ล�ำดับต่อไป เสด็จไปยังห้องนอนผู้ต้อง
ขังป่วย พระราชทานถุงพระราชทานให้กับ ล�ำดับถัดมา เสด็จไปยังบริเวณจัดนิทรรศการ
ผู้ต้องขังชายป่วย จ�ำนวน ๖ ราย และผู้ต้อง ๕ เรือนจ�ำ ได้แก่ เรือนจ�ำกลางคลองไผ่, เรือนจ�ำกลาง
ขังชรา จ�ำนวน ๑๕ ราย นครราชสี ม า, ทั ณ ฑสถานหญิ ง นครราชสี ม า,
จากนั้นเสด็จไปยังชั้น ๒ ทอดพระเนตร เรือนจ�ำกลางนครพนม และเรือนจ�ำอ�ำเภอสีควิ้ และ
การสาธิตของอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ ๔ โรงพยาบาล ได้แก่ โรงพยาบาลปากช่องนานา,
(อสรจ.) ชาย ในการช่วยเหลือผู้ต้องขัง โรงพยาบาลเดอะโกลเดนเกท, โรงพยาบาลนครพนม
พยายามฆ่าตัวตาย และโรงพยาบาลสีคิ้ว

56 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 57
ในกรณีทผี่ ปู้ ว่ ยต้องได้รบั การรับไว้รกั ษาใน ๑.หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย ชั้น ๒ อาคาร
โรงพยาบาล (Admit) ได้ มี ก ารสร้ า งห้ อ ง ร่มเย็นเป็นสุข จัดท�ำห้องแยกขังได้ประมาณ
ควบคุมผู้ต้องขังในโรงพยาบาล (ห้องปันสุข) ๔ เตียง (ส�ำหรับผู้ต้องขังชายป่วย)
จากนั้นเสด็จไปยังโรงพยาบาลปากช่องนานา การส่งตัวมารักษาที่โรงพยาบาลปากช่องนานา ที่ตึกอายุรกรรมชาย อายุรกรรมหญิง และ ๒.หอผู้ป่วยอายุรกรรมหญิง ชั้น ๓ อาคาร
เพื่อเปิดห้องปันสุข ซึ่งเป็นห้องส�ำหรับการดูแล ได้ มี ก ารจั ด ช่ อ งทางพิ เ ศษส� ำ หรั บ ผู ้ ต ้ อ งขั ง ป่ ว ย ศัลยกรรมชาย ซึ่งได้เริ่มการด�ำเนินการสร้าง ร่มเย็นเป็นสุข จัดท�ำห้องแยกขังได้ประมาณ
ผู้ต้องขังในเรือนจ�ำให้เข้าถึง “สิทธิขั้นพื้นฐาน” ทั้งผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยฉุกเฉิน ไปจนถึงห้องยา โดยมี ห้องปันสุข ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๖ ๔ เตียง (ส�ำหรับผู้ต้องขังหญิงป่วย)
โรงพยาบาลปากช่องนานาได้สร้างความร่วมมือและ เป้าหมายเพือ่ ให้บริการผูต้ อ้ งขังป่วยเป็นอันดับแรกๆ ในขณะนั้ น ได้ มี ก ารประชุ ม หารื อ ร่ ว มกั น ๓.หอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย ชั้น ๒ อาคาร
บูรณาการร่วมกับกรมราชทัณฑ์ ในการจัดบริการ เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้กับเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ ระหว่างโรงพยาบาลปากช่องนานา เรือนจ�ำกลาง มูลนิธิฯ จัดท�ำห้องแยกขังได้ประมาณ ๒ เตียง
ยึ ด หลั ก ความเท่ า เที ย มทางด้ า นสุ ข ภาพ ในการดูแลผู้ต้องขัง คลองไผ่ ทัณฑสถานหญิงนครราชสีมา และ (ส�ำหรับผู้ต้องขังชายป่วย)
หลักมนุษยธรรมที่ก่อให้เกิดประสิทธิภาพมากขึ้น ทัณฑสถานเกษตรอุตสาหกรรมเขาพริก โดยมี จากนั้นได้พระราชทานถุงพระราชทาน
และผลที่ดีต่อผู้ต้องขัง นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมาเป็น ให้กับผู้ต้องขังป่วย จ�ำนวน ๒ ราย
ประธาน จึ ง ได้ มี ก ารจั ด สรรพื้ น ที่ ส� ำ หรั บ เสด็จไปยังห้อง Telemedicine ชั้น ๑
สร้างห้องปันสุขในโรงพยาบาลปากช่องนานา ทอดพระเนตรห้อง Telemedicine และการสาธิต
ซึ่งแยกเป็น ๓ ส่วน ดังนี้ การให้ค�ำปรึกษาทางไกลระหว่างแพทย์และ
พยาบาลในเรือนจ�ำ

58 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 59
เรือนจําเปาหมายในเขต ๕ ที่ไดรับ
พระราชทานเครื่ อ งมื อ และครุ ภั ณ ฑ์
ทางการแพทย ๒ แหง คือ เรือนจํากลาง
เชียงใหม และทัณฑสถานหญิงเชียงใหม

เรือนจ�ำกลางเชียงใหม่ และ
รวมทัง้ พระราชทานรถเอกซเรยเคลือ่ นที่
แบบภาพดิ จิ ต อลให กั บ โรงพยาบาล

ทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่ นครพิงค ซึ่งนอกจากจะเพิ่มขีดความ


สามารถในการรั ก ษาผู  ต  อ งขั ง แล ว ประชาชน ผานเกณฑค่ามาตรฐาน ทั้งนี้ มีการนําน�้ำที่ผาน
๑๒ มีนาคม ๒๕๖๓ ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด เชี ย งใหม  และจั ง หวั ด ใกล  เ คี ย ง ระบบบําบัดกลับมาใชใหมในการฝกวิชาชีพนอก
ยังไดรับประโยชนทางการแพทยดวย นอกจากนี้ เรือนจํา และรดน�้ำตนไมในเรือนจํา จึงถือเป็น
พระบาทสมเด็ จ พระวชิ ร เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ทางด  า นการดํ า เนิ น งานด  า นสุ ข ภาพยั ง มี การด� ำ เนิ น งานในเชิ ง ของการพั ฒ นาและเป็ น
โปรดกระหม่อมให้ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิตยิ าภา นเรนทิราเทพยวดี ด  า นสภาพแวดล  อ มสุ ข อนามั ย ของเรื อ นจํ า ตัวอย่างที่ดีของเรือนจ�ำที่ยังท�ำประโยชน์ให้ชุมชน
กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา เสด็จแทนพระองค์ในการ ซึ่งเรือนจํากลางเชียงใหมไดรับรางวัลรองชนะเลิศ ซึง่ อนาคต ในการด�ำเนินงานตามโครงการราชทัณฑ์
พระราชทานเครือ่ งมือและครุภณ ั ฑ์ทางการแพทย์ตามโครงการราชทัณฑ์ปนั สุข อันดับที่ ๑ ในการบําบัดน�้ำเสียโดยใชคลองสงน�้ำ ปันสุข ท�ำความ ดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ในระยะที่ ๒
ท�ำความ ดี เพือ่ ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ให้แก่เรือนจ�ำกลางเชียงใหม่ และทัณฑสถานหญิง ชว ยบาํ บัดจากการประกวดนวัตกรรมของกรมราชทัณฑ จะมี ป ระเด็ น การน� ำ น�้ ำ เสี ย ที่ ผ ่ า นการบ� ำ บั ด ไป
เชี ย งใหม่ ณ เรื อ นจ� ำ กลางเชี ย งใหม่ ต� ำ บลสั น มหาพน อ� ำ เภอแม่ แ ตง เมือ่ ป ๒๕๖๑ โดยนาํ น�ำ้ เสียจากการอุปโภคบริโภค ใช้ประโยชน์ทงั้ ภายในเรือนจ�ำและภายนอกเรือนจ�ำ
จังหวัดเชียงใหม่ และสิ่งปฏิกูลตางๆ มาบําบัด และได้ผลการตรวจ

60 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 61
ต่อมาเสด็จไปยังเรือนนอนผู้ต้องขังชายป่วย จ�ำนวน ๒๐ ราย และทอดพระเนตรการสาธิต
จากนัน้ เสด็จเปิด “มุมสุขภาพราชทัณฑ์ปนั สุข” ทอดพระเนตรห้อง Telemedicine และห้อง การปฐมพยาบาลผู ้ ต ้ อ งขั ง ตกบั น ไดขาหั ก โดย
และทอดพระเนตรภายในมุ ม สุ ข ภาพฯ รวมถึ ง ตรวจตา พระราชทานถุงพระราชทานให้กบั ผูต้ อ้ งขัง อาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) ชาย
ทอดพระเนตรห้องทันตกรรม ชายป่วย จ�ำนวน ๖ ราย ผู้ต้องขังชราและพิการ

62 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 63
ทัณฑสถานหญิงธนบุรี และ
ทัณฑสถานบ�ำบัดพิ เศษหญิง
๑๖ มีนาคม ๒๕๖๓
พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้า
จากนั้นเสด็จไปยังบริเวณจัดนิทรรศการ ๒ พัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร
เรือนจ�ำ ได้แก่ เรือนจ�ำกลางเชียงใหม่ และ มหาวัชรราชธิดา เสด็จแทนพระองค์ในการพระราชทาน
ทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่ และ ๒ โรงพยาบาล เครื่องมือและครุภัณฑ์ทางการแพทย์ตามโครงการราชทัณฑ์
ได้แก่ โรงพยาบาลนครพิงค์ และโรงพยาบาล ปันสุข ท�ำความ ดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ให้แก่ทัณฑสถานหญิง
แม่แตง และเรือนจ�ำในเขต ๕ และนิทรรศการ ธนบุรี และทัณฑสถานบ�ำบัดพิเศษหญิง ณ ทัณฑสถานหญิง
จิตอาสา เราท�ำความ ดี เพือ่ ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ธนบุรี เขตบางบอน กรุงเทพมหานคร

64 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 65
ล�ำดับต่อไปเสด็จไปยังอาคาร
เรื อ นจ� ำ /ทั ณ ฑสถานเป้ า หมาย เรือนนอน ชั้น ๒ ทอดพระเนตร
ในเขต ๑๐ ทีไ่ ด้รบั พระราชทานเครือ่ งมือ การสาธิตของอาสาสมัครสาธารณสุข
และครุภัณฑ์ทางการแพทย์ ๒ แห่ง เรือนจ�ำ (อสรจ.) ในหัวข้อ การจ�ำกัด
คื อ ทั ณ ฑสถานหญิ ง ธนบุ รี และ พฤติ ก รรมผู ้ ต ้ อ งขั ง ที่ มี อ าการ
ทัณฑสถานบ�ำบัดพิเศษหญิง จังหวัด ก้ า วร้ า วรุ น แรง พระราชทาน
ปทุมธานี ซึ่งพบว่าทัณฑสถานหญิง ถุ ง พระราชทานแก่ ผู ้ ต ้ อ งขั ง ป่ ว ย
ธนบุรีเป็นเรือนจ�ำที่มีบริเวณคับแคบ จ�ำนวน ๓ ราย และผู้ต้องขังชรา
แต่สามารถบริหารพื้นที่ให้ผู้ต้องขัง จ�ำนวน ๒๒ ราย
มีกจิ กรรมเพือ่ ส่งเสริมสุขภาพ เช่น การออกก�ำลังกาย ศาลจั ง หวั ด นนทบุ รี ศาลตลิ่ ง ชั น ศาลจั ง หวั ด นอกจากนี้ ได้เสด็จไปยังคลอง
นอกจากนี้ ยังมีกจิ กรรมคลินกิ จิตสังคม ทีอ่ อกแบบ ปทุมธานี และศาลจังหวัดเชียงใหม่ ที่มีผลลัพธ์ บางบอน ซึง่ กัน้ ระหว่างทัณฑสถานหญิง
โดย ส�ำนักงานศาลยุตธิ รรม ร่วมกับสถาบันกัลยาณ์- เดียวกัน ในอนาคตจะมีการขยายแนวทางดังกล่าว ธนบุ รี และเรื อ นจ� ำ พิ เ ศษธนบุ รี
ราชนครินทร์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ ไปยังศาลต่างๆ ต่อไป โดยพบว่ า มี เ ศษขยะจากการทิ้ ง
ผู ้ ต ้ อ งขั ง มี ก ารปรั บ ทั ศ นคติ ดู แ ลสุ ข ภาพจิ ต จากนั้ น เสด็ จ เปิ ด “มุ ม สุ ข ภาพราชทั ณ ฑ์ สิ่งปฏิกูลลงในคลองของบ้านเรือนที่พักอาศัยริมคลองดังกล่าว ท�ำให้
ให้ความรู้ และแก้ไขตนเอง ท�ำให้ผลการกระท�ำ- ปันสุข” และทอดพระเนตรภายในมุมสุขภาพฯ สิ่งแวดล้อมรอบเรือนจ�ำเกิดมลพิษ และอาจส่งผลต่อสุขภาพของคนใน
ผิดซ�้ำลดลง ในปี พ.ศ.๒๕๖๒ ศาลอาญาธนบุรี ทอดพระเนตรเครื่ อ งมื อ และครุ ภั ณ ฑ์ ท าง ชุมชนและผูต้ อ้ งขัง จึงได้พระราชทานค�ำแนะน�ำให้ศนู ย์อำ� นวยการใหญ่
มีผู้ต้องขังเข้ารับการปรึกษา จ�ำนวน ๑,๑๘๐ ราย การแพทย์พระราชทาน จิตอาสาพระราชทาน (ศอญ.จอส.๙๐๔) เข้ามาท�ำงานร่วมกับเรือนจ�ำ
พบว่า มีการกระท�ำผิดซ�ำ้ เพียง ๒ ราย เช่นเดียวกับ ในการสร้างความเข้าใจกับประชาชนเพื่อรักษาความสะอาด โดยไม่ทิ้ง
สิ่งของหรือเศษขยะลงในคลอง

66 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 67
เรือนจ�ำกลางสมุทรปราการ
เรือนจ�ำกลางคลองเปรม
เรือนจ�ำกลางบางขวาง และ
ทัณฑสถานหญิงกลาง
๑๗ มีนาคม ๒๕๖๓ เรือนจ�ำเป้าหมายในเขต ๑ และ เขต ๑๐ ที่ได้รับ
พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ พระราชทานเครื่องมือและครุภัณฑ์ทางการแพทย์ ๔ แห่ง
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณี คือ เรือนจ�ำกลางสมุทรปราการ เรือนจ�ำกลางคลองเปรม
สิริพัชร มหาวัชรราชธิดา เสด็จแทนพระองค์ในการพระราชทานเครื่องมือและครุภัณฑ์ เรือนจ�ำกลางบางขวาง และทัณฑสถานหญิงกลาง รวมทั้ง
ทางการแพทย์ตามโครงการราชทัณฑ์ปันสุข ท�ำความ ดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ให้แก่ พระราชทานรถเอกซเรย์เคลื่อนที่แบบภาพดิจิตอลให้กับ
เรือนจ�ำกลางสมุทรปราการ เรือนจ�ำกลางคลองเปรม เรือนจ�ำกลางบางขวาง และ โรงพยาบาลสระบุรี ซึ่งนอกจากจะเพิ่มขีดความสามารถ
ทัณฑสถานหญิงกลาง ณ เรือนจ�ำกลางสมุทรปราการ ต�ำบลคลองด่าน อ�ำเภอบางบ่อ ในการรักษาผูต้ อ้ งขังแล้ว ประชาชนในพืน้ ทีจ่ งั หวัดสระบุรี และ
จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดใกล้เคียง ยังได้รับประโยชน์ทางการแพทย์อีกด้วย

68 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 69
เรือนจ�ำกลางสมุทรปราการ เป็นเรือนจ�ำ
ที่มีความหนาแน่น อันดับ ๓ ของประเทศ
มีผู้ต้องขังจ�ำนวน ๗,๘๕๗ คน เทียบเท่า ๑
ต�ำบล แต่เดิมมีปัญหาเรื่องสุขภาพอนามัย
เนื่องจากบุคลากรทางการแพทย์ในเรือนจ�ำ
ไม่ เ พี ย งพอ มี อั ต ราส่ ว น ๑ ต่ อ ๑,๓๐๐
แต่ภายหลังจากด�ำเนินโครงการราชทัณฑ์
ปันสุขฯ ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
กระทรวงสาธารณสุข เข้ามาจัดระบบต่างๆ ท�ำให้ผตู้ อ้ งขัง จากนั้ น เสด็ จ เปิ ด “มุ ม สุ ข ภาพราชทั ณ ฑ์
เข้าถึงการรักษาพยาบาลอย่างทั่วถึง และมีการอบรม ปันสุข” และทอดพระเนตรภายในมุมสุขภาพฯ
อาชี พ เพิ่ ม รายได้ จนน� ำ ไปสู ่ ก ารสร้ า งความมั่ น คง และพระราชทานถุงพระราชทานให้กบั ผูต้ อ้ งขังป่วย
ทางจิตใจ เกิดเป็นโมเดลพัฒนาคุณภาพชีวิต “ผู้ต้องขัง จ�ำนวน ๖ ราย และผูต้ อ้ งขังชราและพิการ จ�ำนวน ล�ำดับต่อไปเสด็จทอดพระเนตรแพทย์ทางเลือก สาธารณสุ ข เรื อ นจ� ำ (อสรจ.) ในการช่ ว ยเหลื อ
สุ ข ภาพดี ” ซึ่ ง ท� ำ ให้ เ รื อ นจ� ำ กลางสมุ ท รปราการ ๗ ราย การสาธิต “การฝังเข็ม” ทอดพระเนตร การให้บริการ ผู้ต้องขังป่วยโรคหลอดเลือดตีบ และทอดพระเนตร
ได้รบั เลือกให้เป็นพืน้ ทีศ่ กึ ษาดูงานการประชุมนานาชาติ ตรวจด้ ว ยระบบทางไกล Telemedicine และ ห้องทันตกรรม การสาธิตการท�ำฟัน และการสาธิต
รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ร่วมกับองค์กรภาคีระหว่าง การให้ ค� ำ ปรึ ก ษา HIV (ห้ อ งวางใจ) รวมถึ ง การตรวจตาให้แก่ผู้ต้องขัง
ประเทศ ทอดพระเนตรการจ�ำลองเหตุการณ์ของอาสาสมัคร

70 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 71
72 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 73
ด้านราชทัณฑ์ ๑.๒ ผู้ต้องขังสูงอายุ
จ�ำนวนผูต้ อ้ งขังสูงอายุในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน ในส่วนของทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์
๑. จ�ำนวนผู้ต้องขัง (แยกตามเรือนจ�ำเป้าหมาย ๒๔ แห่ง)
จ�ำแนกเป็น ชาย จ�ำนวน ๒,๐๘๕ คน และหญิง มีจ�ำนวนผู้ต้องขังสูงอายุ จ�ำนวนทั้งสิ้น ๔๕ คน
๑.๑ ผู้ต้องขังชายและหญิง
จ�ำนวน ๖๔๗ คน รวมทั้งสิ้นจ�ำนวน ๒,๗๓๒ คน จ�ำแนกเป็น ชาย จ�ำนวน ๔๐ คน และหญิง
จ� ำ นวนผู ้ ต ้ อ งขั ง ในเรื อ นจ� ำ /ทั ณ ฑสถาน ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๓) และในส่วนของทัณฑสถาน คิดเป็นร้อยละ ๒.๗๓ ของผู้ต้องขังทั้งหมด ทั้งนี้ จ�ำนวน ๕ คน
เป้าหมาย ระยะที่ ๑ จ�ำนวน ๒๔ แห่ง จ�ำแนกเป็น ชาย โรงพยาบาลราชทัณฑ์ มีจ�ำนวนยอดผู้ต้องขังชาย
จ�ำนวน ๖๕,๒๔๘ คน และหญิง จ�ำนวน ๓๔,๘๕๒ คน จ�ำนวน ๓๖๓ คน หญิง ๗๖ คน รวมทั้งสิ้นจ�ำนวน ๓๕๐
๓๒๒
(๔.๖๑) ๓๐๘
รวมทั้ ง สิ้ น จ� ำ นวน ๑๐๐,๑๐๐ คน (ณ วั น ที่ ๔๓๙ คน (๔.๑๕)
๓๐๐

๒๕๖
(๔.๔๔)
๘,๐๐๐ ๒๕๐
๒๒๕
ชาย (๔.๕๙)
๗,๔๑๖ ๒๑๕
หญิง (๔.๔๙) ๑๙๖
(๔.๑๓)
๗,๐๐๐
๖,๙๘๙ ๒๐๐
๖,๕๖๐ ๖,๕๘๖

๖,๒๓๓ ๑๔๓
๖,๐๗๐
๑๕๐ (๑.๘๓) ๑๓๓ ๑๓๓
๖,๐๐๐ (๒.๒๙) (๑.๙๐)
๑๒๖
๕,๗๖๓ (๑.๗๒)

๕,๐๒๒ ๙๑
๕,๐๐๐ ๔,๙๐๗ ๑๐๐ (๔.๒๓)
๔,๗๔๔ ๔,๗๘๙ ๗๕ ๗๑
(๒.๓๙) (๑.๕๗) ๖๘ ๖๔
(๒.๖๗)(๑.๗๘) ๕๘
๔,๒๐๔ (๒.๗๔) ๔๙ ๔๙
๕๐ (๑.๖๖) (๑.๑๗) ๓๘ ๓๔
๔,๐๐๐ (๓.๑๒) ๒๖
๓,๗๕๒
(๓.๕๕) (๐.๔๐) ๒๔ ๒๒
(๒.๗๑) (๑.๙๔) ๖
(๐.๓๘)
๓,๑๘๗ ๓,๑๓๖
๓,๐๐๐ ๐

ม่


รปฐม


ยอง


บิน

นี
กลาง

ผ่

ใหม่

ุโลก

ีมา
สีมา

ลา

ลา
ุโลก

บุรี

ุรี
ลบุร

ิง
รม
วาง

ษหญ
รากา

ธนบ
๒,๖๕๕

รมรา
ลองไ
ียงให

รพน
ณุโล

ฎร์ธา

งสงข

ิงสงข
ราชส
องเป

างชล
งเขา
๒,๕๔๗

พิษณ

พิษณ
างระ

เชียง

รราช


งบาง

หญิง

างนค

หญิง

หญิง
างพิษ

างนค
ุทรป

ัดพิเศ
ลางค
างเช

สุราษ

างคล



รศรีธ

นคร

จ�ำกล
๒,๑๕๐ ๒,๑๑๘

หญิง
จ�ำกล

จ�ำกล

จ�ำกล
หวัด

หญิง
างนค


สถาน
�ำกลา

สถาน

สถาน
างสม
จ�ำกล
จ�ำกล

สถาน
จ�ำกล
จ�ำกล

บ�ำบ
๒,๐๐๐

หญิง

างนค
จ�ำกล


สถาน

เรือน
จ�ำจัง

สถาน
จ �

เรือน

เรือน

เรือน
จ�ำกล
จ�ำกล

ทัณฑ

เรือน

จ�ำกล

ทัณฑ

ทัณฑ

สถาน
เรือน
เรือน

เรือน

เรือน

ทัณฑ
สถาน
เรือน
๑,๕๙๒

จ�ำกล
เรือน

เรือน
ทัณฑ

ทัณฑ
เรือน
เรือน
เรือน

ทัณฑ
ทัณฑ
๑,๒๑๗

เรือน
๑,๑๓๒ ๑,๒๑๑
๑,๐๙๘
๙๕๙ ๙๒๗
๑,๐๐๐ ๘๘๕
๗๘๑ ๗๗๓
๔๐๓ แผนภูมิที่ ๒ จ�ำนวนและร้อยละของผู้ต้องขังสูงอายุในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานเป้าหมาย ระยะที่ ๑
๒๙๔ (ยกเว้นจ�ำนวนผู้ต้องขังสูงอายุในทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์)

จากสถิตพิ บว่า เรือนจ�ำกลางเชียงใหม่ มีผตู้ อ้ งขัง จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลก เรื อ นจ� ำ กลางนครพนม,
ิง

ุโลก


าบิน

รม

งใหม

รปฐม

พนม
ใหม่

ีมา

องไผ

ลบุร

สีมา

าช


ยอง

ขลา

าร
์ธานี

ุโลก
กลาง

ุรี

ุรี
ษหญ

งขวา
สงขล
ชลบ

ธนบ

ณุโล

ปราก
รรมร
องเป
ราชส
พิษณ

พิษณ
างระ
เชียง

ษฎร
างสง
รราช

างเข

นคร
างคล


หญิง

างนค
หญิง


หญิง

างพิษ
างบา
ัดพิเศ

างเช

หญิง

สูงอายุมากที่สุด จ�ำนวน ๓๒๒ คน คิดเป็นร้อยละ เรือนจ�ำกลางเขาบิน, เรือนจ�ำกลางสุราษฎร์ธานี,


างคล

รศรีธ


นคร

จ�ำกล


หญิง

จ�ำกล

จ�ำกล

จ�ำกล


หญิง

หวัด
งนค

างสุร
สถาน


จ�ำกล
สถาน
สถาน

างสม

จ�ำกล
จ�ำกล

จ�ำกล
สถาน

จ�ำกล

จ�ำกล
บ�ำบ

หญิง

จ�ำกล

างนค

สถาน

เรือน

จ�ำจัง
สถาน

เรือน

เรือน

เรือน
จ�ำกล

จ�ำกล
ทัณฑ

เรือน

จ�ำกล
ทัณฑ
ทัณฑ
สถาน

เรือน
เรือน

๔.๖๑ ของผูต้ อ้ งขังทัง้ หมด รองลงมาเป็น เรือนจ�ำกลาง ทั ณ ฑสถานหญิ ง นครราชสี ม า, เรื อ นจ� ำ กลาง
เรือน
เรือน
ทัณฑ
สถาน

เรือน
เรือน

จ�ำกล

เรือน
ทัณฑ

ทัณฑ

เรือน

เรือน
เรือน
ทัณฑ

ทัณฑ

เรือน

คลองเปรม, เรือนจ�ำกลางบางขวาง, ทัณฑสถาน นครราชสีมา, เรือนจ�ำกลางสงขลา, ทัณฑสถานหญิง


แผนภูมิที่ ๑ จ�ำนวนผู้ต้องขังชายและหญิงในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานเป้าหมาย ระยะที่ ๑ หญิงกลาง, เรือนจ�ำกลางพิษณุโลก, เรือนจ�ำกลาง สงขลา, ทัณฑสถานหญิงพิษณุโลก, เรือนจ�ำกลาง
(ยกเว้นจ�ำนวนผู้ต้องขังในทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์) คลองไผ่, เรือนจ�ำกลางนครศรีธรรมราช, เรือนจ�ำกลาง ชลบุรี, ทัณฑสถานหญิงธนบุรี, ทัณฑสถานหญิง
นครปฐม, เรือนจ�ำกลางสมุทรปราการ, เรือนจ�ำกลาง ชลบุรี และทัณฑสถานบ�ำบัดพิเศษหญิง ตามล�ำดับ
ระยอง, ทั ณ ฑสถานหญิ ง เชี ย งใหม่ , เรื อ นจ� ำ

74 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 75
๑.๔ ผู้ต้องขังต่างชาติ
๑.๓ ผู้ต้องขังแยกตามโรค จ� ำ นวนผู ้ ต ้ อ งขั ง ต่ า งชาติ ใ นเรื อ นจ� ำ / เขาบิน, เรือนจ�ำกลางนครศรีธรรมราช, เรือนจ�ำกลาง
จ�ำนวนผูต้ อ้ งขังแยกตามโรค ๕ อันดับทีพ่ บมาก ๒๘ รองลงมา ได้แก่ โรคติดเชื้อทางเดินหายใจ ทัณฑสถานเป้าหมาย ระยะที่ ๑ มีทั้งสิ้นจ�ำนวน สงขลา, เรือนจ�ำกลางพิษณุโลก, เรือนจ�ำกลาง
ภายในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานเป้าหมาย ผลการส�ำรวจ ส่วนบน ร้อยละ ๒๖ โรคไข้หวัดและปวดศีรษะ ๕,๑๕๕ คน เมื่อเทียบกับจ�ำนวนผู้ต้องขังทั้งหมด สุ ร าษฎร์ ธ านี , เรื อ นจ� ำ กลางนครราชสี ม า,
พบว่า โรคเกีย่ วกับปวดกล้ามเนือ้ ปวดคอ ปวดหลัง พบว่าเท่ากัน คือ ร้อยละ ๑๗ และมีอาการไข้ จ�ำนวน ๑๐๐,๑๐๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๕.๑๕ ของ ทัณฑสถานหญิงชลบุรี, ทัณฑสถานหญิงสงขลา,
และปวดไหล่ พบมากเป็นอันดับ ๑ คือ ร้อยละ ร้อยละ ๑๒ ตามล�ำดับ ผู้ต้องขังทั้งหมด ส่วนในทัณฑสถานโรงพยาบาล ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์, ทัณฑสถานหญิง
ราชทัณฑ์ มีผู้ต้องขังต่างชาติ จ�ำนวน ๑๖ คน ธนบุร,ี เรือนจ�ำจังหวัดพิษณุโลก, ทัณฑสถานบ�ำบัด
เมื่ อ พิ จ ารณารายเรื อ นจ� ำ พบว่ า เรื อ นจ� ำ กลาง พิ เ ศษหญิ ง และทั ณ ฑสถานหญิ ง พิ ษ ณุ โ ลก
คลองเปรมมีจ�ำนวนผู้ต้องขังต่างชาติมากที่สุด คือ ตามล�ำดับ และหากพิจารณาสัดส่วนผู้ต้องขัง
จ�ำนวน ๖๙๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๙.๓๐ รองลงมา ต่างชาติกับจ�ำนวนผู้ต้องขังทั้งหมดของเรือนจ�ำ/
เรือนจ�ำกลางเชียงใหม่, เรือนจ�ำกลางบางขวาง, ทัณฑสถาน พบว่า ทัณฑสถานหญิงนครราชสีมา
๑๗% ทั ณ ฑสถานหญิ ง นครราชสี ม า, เรื อ นจ� ำ กลาง มีสัดส่วนจ�ำนวนผู้ต้องขังต่างชาติสูงถึงร้อยละ
๑๒% นครพนม, ทัณฑสถานหญิงกลาง, เรือนจ�ำกลาง ๒๐.๔๐
คลองไผ่, เรือนจ�ำกลางสมุทรปราการ, เรือนจ�ำกลาง
ระยอง, ทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่, เรือนจ�ำกลาง
ชลบุรี, เรือนจ�ำกลางนครปฐม, เรือนจ�ำกลาง
๒๘% ๑๗%
๖๙๐
๗๐๐ (๙.๓๐)
๖๓๖
(๙.๑๐)

๖๐๐

๔๙๙
(๘.๖๖)

๑๗%
๕๐๐
๔๓๒
(๒๐.๔๐)๔๐๔
(๘.๙๓) ๓๘๔
๔๐๐ (๗.๘๓)

๓๒๒ ๓๑๕
(๖.๗๙) (๔.๕๐) ๒๙๓
๓๐๐ (๔.๐๐)
๑๙๑
(๘.๘๘)

๒๐๐
แผนภูมิที่ ๓ ร้อยละผู้ต้องขังแยกตามโรคในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานเป้าหมาย ระยะที่ ๑ ๑๖๐
(๒.๔๔) ๑๕๑ ๑๔๒
(๒.๖๐)(๕.๕๘) ๑๑๔
(ยกเว้นผู้ต้องขังในทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์) ๑๐๙ ๑๐๘
(๑.๔๖) (๒.๕๙) (๒.๒๖)
๘๘
๑๐๐ (๒.๔๕)
๔๘
(๑.๖๓) ๒๐ ๑๗
ไข้ (๑.๗๗)(๑.๔๐) ๑๐ ๙ ๘
(๑.๑๓) (๐.๒๙) (๐.๕๐) ๕
(๐.๕๒)
ไข้หวัด ๐
รม

องไผ


อง
ใหม่

าบิน

าช
ขลา
ีมา

กลาง

บุรี
รปฐม


ร์ธาน

ลบุร

ุรี
งขลา

ุรี

ิง
ุโลก
ม่

ษหญ
งขวา

รากา

ธนบ

ธนบ
ณุโล

ณุโล
ียงให

รพน

งระย

รรมร
องเป

ราชส

างชล
ติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน

พิษณ
เชียง

างสง


างเข
างคล


หญิง

าษฎ
างนค

หญิง

หญิง
หญิง
างพิษ

ัดพิษ
างนค
างบา

ุทรป

ัดพิเศ
างเช

หญิง

างคล

รศรีธ
นคร

จ�ำกล
หญิง
จ�ำกล

จ�ำกล

จ�ำกล

หญิง
างสุร
สถาน

จ�ำกล

สถาน

สถาน
สถาน


างสม

จ�ำกล
จ�ำกล

จ�ำกล

สถาน
จ�ำกล

จ�ำกล

บ�ำบ

หญิง
ปวดกล้ามเนื้อ ปวดคอ ปวดหลัง ปวดไหล่
จ�ำกล

างนค
สถาน

เรือน

จ�ำจัง

สถาน
เรือน

เรือน

เรือน

จ�ำกล
ทัณฑ

เรือน
จ�ำกล

ทัณฑ

ทัณฑ
ทัณฑ

สถาน
เรือน
เรือน

เรือน

เรือน

ทัณฑ
สถาน

เรือน
จ�ำกล
เรือน

เรือน
ทัณฑ

ทัณฑ
เรือน
เรือน
ปวดศีรษะ, นอนไม่หลับ

ทัณฑ
ทัณฑ

เรือน
แผนภูมิที่ ๔ จ�ำนวนผู้ต้องขังต่างชาติในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานเป้าหมาย ระยะที่ ๑
(ยกเว้นผู้ต้องขังในทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์)

76 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 77
๒. ข้อมูลการลงทะเบียนสิทธิหลักประกันสุขภาพ (สิทธิ UC) ก่อนโครงการ
ก่อนและหลังโครงการ หลังโครงการ

๘,๐๐๐ ๘,๐๐๐

๗,๐๐๐ ๖,๙๘๐ ๗,๐๐๐


๖,๘๖๕
๖,๔๘๘
๖,๔๒๓
๕,๙๙๙
๖,๐๐๐ ๕,๗๙๘ ๖,๐๐๐
๕,๖๓๐ ๕,๖๘๑
๕,๓๖๗ ๕,๓๙๘
๕,๒๒๒ ๕,๑๙๔
๕,๐๐๐ ๔,๘๘๔ ๔,๘๔๓ ๕,๐๐๐
๔,๓๑๘
๔,๓๑๒ ๔,๒๙๙
๔,๒๔๘ ๔,๑๔๕
๔,๐๐๐ ๓,๙๐๗ ๓,๙๑๘ ๔,๐๐๐
๓,๘๕๐
๓,๖๙๔
๓,๕๒๓ ๓,๕๐๕ ๓,๔๓๔
๒,๙๔๘
๓,๐๐๐ ๒,๘๗๗ ๒,๙๓๕ ๓,๐๐๐
๒,๕๙๒ ๒,๕๕๗ ๒,๕๙๐
๒,๓๘๒
๒,๑๘๖ ๒,๒๗๐
๒,๐๐๐ ๑,๖๓๓ ๒,๐๐๐
๑,๖๑๔ ๑,๕๕๕ ๑,๖๕๙
๑,๔๗๑
๑,๒๕๒
๙๖๔ ๙๑๖ ๑,๑๑๙
๑,๐๐๐ ๘๖๖ ๙๑๖ ๘๘๘ ๑,๐๐๐
๘๔๒

๐ ๐
ิง

กลาง

ุรี

ใหม่

ุรี

ีมา

ุโลก

าบิน

รม

งไผ่

บุรี

ม่

รปฐม

สีมา

าช

ยอง

ขลา

ร์ธาน

ลก
ษหญ

งขวา
สงขล
ชลบ

ธนบ

รากา
ณุโล
ียงให

รพน

รรมร
ราชส

องเป

างชล

ิษณุโ
งคลอ
พิษณ

างระ
เชียง

างสง
รราช
างเข
หญิง

าษฎ
างนค
หญิง
หญิง

งพิษ
างนค

างบา

ุทรป
ัดพิเศ

างเช
หญิง

วัดพ
างคล

รศรีธ
นคร

จ�ำกล
หญิง

จ�ำกล
จ�ำกล

จ�ำกล
�ำกลา
หญิง

างนค

างสุร
สถาน

�ำกลา
สถาน
สถาน

างสม
จ�ำกล
จ�ำกล

จ�ำกล
สถาน

จ�ำกล
บ�ำบ

�ำจังห
หญิง

จ�ำกล

งนค
สถาน

เรือน
สถาน

เรือน
เรือน

เรือน
จ�ำกล

จ�ำกล
ทัณฑ


เรือน

จ�ำกล
ทัณฑ
ทัณฑ
สถาน

เรือน
เรือน

เรือน
เรือน
ทัณฑ
สถาน

เรือน
�ำกลา


เรือน

เรือน
ทัณฑ

ทัณฑ

เรือน

เรือน
เรือน
ทัณฑ


ทัณฑ

เรือน
แผนภูมิที่ ๕ จ�ำนวนผู้ต้องขังก่อน-หลังขึน
้ ทะเบียนสิทธิหลักประกันสุขภาพในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานเป้าหมาย ระยะที่ ๑
(ยกเว้นผู้ต้องขังในทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์)

การขึน้ ทะเบียนสิทธิหลักประกันสุขภาพของ มี ก ารขึ้ น ทะเบี ย นหลั ก ประกั น สุ ข ภาพให้ กั บ เรือนจ�ำกลางเชียงใหม่, เรือนจ�ำกลางคลองเปรม, สุราษฎร์ธานี เรือนจ�ำกลางพิษณุโลก ทัณฑสถาน
ผู ้ ต ้ อ งขั ง ในเรื อ นจ� ำ (สิ ท ธิ UC) ในโครงการ ผู้ต้องขังเพิ่มขึ้น เมื่อพิจารณาเป็นรายเรือนจ�ำ เรือนจ�ำกลางบางขวาง, เรือนจ�ำกลางชลบุรี, หญิงกลาง เรือนจ�ำกลางนครราชสีมา ทัณฑสถานหญิง
ราชทัณฑ์ปันสุข ท�ำความ ดี เพื่อชาติ ศาสน์ พบว่า ทัณฑสถานหญิงกลาง มีการขึ้นทะเบียน เรือนจ�ำกลางสงขลา, เรือนจ�ำกลางนครปฐม, ธนบุรี ทัณฑสถานหญิงนครราชสีมา ทัณฑสถานหญิง
กษัตริย์ เรือนจ�ำเป้าหมาย ระยะที่ ๑ จ�ำนวน ๒๔ แห่ง หลักประกันสุขภาพผู้ต้องขังเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ เรือนจ�ำกลางคลองไผ่, เรือนจ�ำกลางนครศรีธรรมราช พิษณุโลก ทัณฑสถานหญิงสงขลา ทัณฑสถาน
เปรียบเทียบก่อนและหลังการด�ำเนินโครงการ ๖๓.๘๙ รองมาเป็น เรือนจ�ำกลางสมุทรปราการ, และทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่ ตามล�ำดับ ส�ำหรับอีก บ�ำบัดพิเศษหญิง เรือนจ�ำจังหวัดพิษณุโลก
จากการส�ำรวจในภาพรวม พบว่า มากกว่าครึง่ หนึง่ เรือนจ�ำกลางนครพนม, เรือนจ�ำกลางระยอง, ๑๑ แห่ง ได้แก่ เรือนจ�ำกลางเขาบิน เรือนจ�ำกลาง

78 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 79
มีการขึ้นทะเบียนสิทธิประกันสุขภาพให้กับผู้ต้องขังเพิ่มขึ้น แต่เนื่องจากอยู่ระหว่าง
การปรับปรุง และพัฒนาวิธีการขึ้นทะเบียนสิทธิหลักประกันสุขภาพระหว่างโรงพยาบาล จ�ำนวนข้อมูล (คน) จ�ำนวนข้อมูล (คน)
แม่ข่ายและเรือนจ�ำ จึงท�ำให้ยังไม่สามารถด�ำเนินการได้ครบในเรือนจ�ำ ๑๑ แห่งข้างต้น สิทธิ UC ตรง CUP สิทธิ UC ตรง CUP
ทั้งนี้ ในส่วนของทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ ได้ด�ำเนินการขึ้นทะเบียนสิทธิหลัก ล�ำดับ ชื่อ ชื่อ รพ.แม่ข่าย ส.ค.๖๒ ก.ย.๖๓
(ก่อนโครงการ) (หลังโครงการ)
ประกันสุขภาพของผู้ต้องขังในเรือนจ�ำ (สิทธิ UC) จ�ำนวน ๒๐๓ ราย คิดเป็นร้อยละ ๖๗
จ�ำนวน % จ�ำนวน %
ดังตารางที่ ๑
๑๑ เรือนจ�ำกลางคลองเปรม ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ ๕,๒๒๒ ๘๘.๗๘ ๕,๙๙๙ ๙๔.๒๘
ตารางที่ ๑ รายชือ่ เรือนจ�ำ/ทัณฑสถานเป้าหมายคู่กับโรงพยาบาลแม่ข่าย
และการขึน้ ทะเบียนสิทธิ UC ก่อนและหลังโครงการราชทัณฑ์ปน ั สุขฯ ๑๒ เรือนจ�ำกลางคลองไผ่ รพ.ปากช่องนานา ๓,๘๕๐ ๙๗.๙๑ ๔,๑๔๕ ๙๗.๐๓

จ�ำนวนข้อมูล (คน) จ�ำนวนข้อมูล (คน) ๑๓ เรือนจ�ำกลางชลบุรี รพ.บ้านบึง ๕,๗๙๘ ๘๗.๒๕ ๖,๔๘๘ ๙๙.๒๘
สิทธิ UC ตรง CUP สิทธิ UC ตรง CUP
ล�ำดับ ชื่อ ชื่อ รพ.แม่ข่าย ส.ค.๖๒ ก.ย.๖๓ ๑๔ เรือนจ�ำกลางเชียงใหม่ รพ.แม่แตง ๔,๘๘๔ ๗๗.๘๑ ๕,๖๓๐ ๙๖.๒๖
(ก่อนโครงการ) (หลังโครงการ)
จ�ำนวน % จ�ำนวน % ๑๕ เรือนจ�ำกลางนครปฐม รพ.นครปฐม ๕,๑๙๔ ๙๑.๔๐ ๕,๖๘๑ ๙๙.๒๐

๑ ทัณฑสถานบ�ำบัดพิเศษหญิง รพ.ธัญบุรี ๑,๖๓๓ ๙๖.๗๔ ๑,๖๑๔ ๙๕.๙๐ ๑๖ เรือนจ�ำกลางนครพนม รพ.นครพนม ๒,๘๗๗ ๗๘.๖๗ ๓,๙๐๗ ๙๕.๘๘

๒ ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ ๑๑๗ ๔๘.๑๕ ๒๐๓ ๖๗.๐๐ ๑๗ เรือนจ�ำกลางนครราชสีมา รพ.เดอะโกลเดนเกท ๒,๕๙๐ ๙๐.๖๙ ๒,๓๘๒ ๘๖.๔๓

๓ ทัณฑสถานหญิงกลาง ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ ๒,๕๙๒ ๖๓.๖๔ ๔,๒๔๘ ๙๘.๐๔ ๑๘ เรือนจ�ำกลางนครศรีธรรมราช รพ.มหาราชนครศรีธรรมราช ๖,๔๒๓ ๙๗.๒๙ ๖,๘๖๕ ๙๗.๔๔
คลินิกหมอครอบครัว สถานพยาบาล
๔ ทัณฑสถานหญิงชลบุรี ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองชลบุรี ๙๖๔ ๗๔.๕๐ ๘๕๖ ๘๐.๑๕ ๑๙ เรือนจ�ำกลางบางขวาง เรือนจ�ำกลางบางขวาง ๔,๓๑๒ ๙๑.๗๑ ๔,๘๔๓ ๙๖.๓๖

๕ ทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่ รพ.นครพิงค์ ๑,๔๗๑ ๗๑.๘๖ ๑,๕๕๕ ๘๕.๗๗ ๒๐ เรือนจ�ำกลางพิษณุโลก รพ.วังทอง ๔,๓๑๘ ๙๖.๓๐ ๔,๒๙๙ ๙๕.๙๐

๖ ทัณฑสถานหญิงธนบุรี ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ ๙๑๖ ๗๕.๓๓ ๘๔๒ ๙๘.๔๘ ๒๑ เรือนจ�ำกลางระยอง รพ.บ้านค่าย ๕,๓๖๗ ๗๔.๓๖ ๖,๙๘๐ ๙๘.๕๗

๗ ทัณฑสถานหญิงนครราชสีมา รพ.สีคิ้ว ๒,๑๘๖ ๙๗.๙๔ ๑,๖๕๙ ๙๗.๙๓ ๒๒ เรือนจ�ำกลางสงขลา รพ.สงขลา ๓,๕๒๓ ๙๗.๘๑ ๓,๙๑๘ ๙๙.๐๔

๘ ทัณฑสถานหญิงพิษณุโลก รพ.วังทอง ๙๑๖ ๙๔.๖๓ ๘๘๘ ๙๙.๒๒ ๒๓ เรือนจ�ำกลางสมุทรปราการ รพ.บางบ่อ ๓,๕๐๙ ๕๔.๒๑ ๕,๓๙๘ ๘๕.๐๖

๙ ทัณฑสถานหญิงสงขลา รพ.สงขลา ๑,๒๕๒ ๘๗.๙๒ ๑,๑๑๙ ๙๔.๒๗ ๒๔ เรือนจ�ำกลางสุราษฎร์ธานี รพ.สุราษฎร์ธานี ๓,๖๙๔ ๙๓.๔๗ ๓,๔๓๔ ๙๓.๔๗

๑๐ เรือนจ�ำกลางเขาบิน รพ.ราชบุรี ๒,๕๕๗ ๙๗.๖๓ ๒,๒๗๐ ๙๖.๙๗ ๒๕ เรือนจ�ำจังหวัดพิษณุโลก รพ.วังทอง ๒,๙๔๘ ๘๘.๙๐ ๒,๙๓๕ ๘๙.๕๔

80 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 81
๓. การให้ความรู้กับผู้ต้องขัง
๓.๑ มุมสุขภาพราชทัณฑ์ปันสุข
ในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานเป้าหมาย ระยะที่ ๑ มีการจัดมุมสุขภาพฯ ในทุกแห่ง
เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ต้องขัง และมีการเพิ่มเติมในแดนย่อยๆ และจัดมุมสุขภาพฯ
เคลื่อนที่ รวมทั้งการใช้บริการของผู้ต้องขังในแต่ละเรือนจ�ำ ตารางต่อไปนี้
จ�ำนวน การใช้ จ�ำนวน มุมการจั ด
ตารางที่ ๒ รายละเอียดการจัดสือ
่ ประชาสัมพั นธ์มุมสุขภาพฯ ในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานเป้าหมาย ระยะที่ ๑ เรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน ประเภทหนังสือ ผู้ต้องขัง บริการ
(คน) (คน/วัน) มุมสุขภาพ เคลืสุขอ่ ภาพ
นที่
จ�ำนวน การใช้ จ�ำนวน มุมการจั ด
เรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน ประเภทหนังสือ ผู้ต้องขัง บริการ สุ ข ภาพ นิตยสารสุขภาพทั่วไป หนังสือความรู้
(คน) (คน/วัน) มุมสุขภาพ เคลือ่ นที่
เรื่องโรคต่างๆ แผ่นพับความรู้สุขภาพ
รจก.เชียงใหม่ ๗,๒๒๓ ๓๐๐ ๖ แดน
นวนิยาย แผ่นผับสุขภาพโรคต่างๆ บอร์ดความรู้โรคทั่วไป หมุนเวียน
รจก.เขาบิน หนังสือโภชนาการ ชีวจิต สื่อจากกอง ๒,๙๒๘ ๓๐๐ ทุกแดน สื่อจากกองบริการทางการแพทย์
บริการทางการแพทย์
หนังสืออ่านเล่น นวนิยาย
แผ่นพับสุขภาพ หนังสือสุขภาพ หนังสือชีวจิต หนังสือสุขภาพ
รจก.ระยอง ๘,๐๙๔ ๖๐ ทุกแดน รจจ.พิษณุโลก ๓,๒๗๑ ๑๐ - ๒๐ ๒ แดน
สื่อจากกองบริการทางการแพทย์ หมุนเวียน ความรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆ
ทุกแดน
สื่อจากกองบริการทางการแพทย์
โภชนาการ ความรู้เรื่องโรค ชีวจิต
รจก.พิษณุโลก แผ่นพับสุขภาพ บอร์ดความรู้โรคต่างๆ ๕,๐๓๓ ๒๐๐ ๕ แดน โรคต่างๆ อาหาร ออกก�ำลังกาย
สื่อจากกองบริการทางการแพทย์ รจก.ชลบุรี หนังสือพระราชกรณียกิจ ๗,๒๒๘ ๑๐๐ ๘ แดน
สื่อจากกองบริการทางการแพทย์
แผ่นพับสุขภาพ หนังสือสุขภาพ
รจก.คลองไผ่ ๔,๗๘๐ ๒๐ ๑ แดน แผ่นพับสุขภาพ (สปสช). บ้านและสวน
สื่อจากกองบริการทางการแพทย์
หมอชาวบ้าน นิยาย หนังสือธรรมะ
รจก.นครราชสีมา ๓,๐๙๘ ๑๐ - ๑๕ ทุกแดน
สุขภาพ ชีวจิต ป้องกันโรค วารสาร หนังสือสุขภาพ
รจก.นครศรีธรรมราช วารสารสุขภาพ ๗,๓๑๗ ๕๐ ๒ แดน สื่อจากกองบริการทางการแพทย์
สื่อจากกองบริการทางการแพทย์
สื่อพระราชทาน ชีวประวัติ หนังสือทั่วไป
สุขภาพเบื้องต้น นิตยสารสุขภาพ รจก.นครปฐม การ์ตูนนวนิยาย หนังสือสุขภาพสื่อจาก ๖,๒๗๒ ๒๐ - ๔๐ ทุกแดน
รจก.สมุทรปราการ แผ่นพับสุขภาพ ๗,๘๕๔ ๑๐๐ ๔ แดน กองบริการทางการแพทย์
สื่อจากกองบริการทางการแพทย์
หนังสือสุขภาพพระราชทานการดูแล
หนังสือสุขภาพ นิตยสารโภชนาการ ตนเองเบื้องต้น หมอชาวบ้าน
รจก.สุราษฎร์ธานี ๔,๑๔๑ ๘๐ ๓ แดน
รจก.นครพนม ชีวจิต แผ่นพับสุขภาพ บอร์ดสุขภาพ ๔,๗๕๒ ๒๐๐ - ๓๐๐ ๓ แดน หมุนเวียน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม แผ่นพับ
สื่อจากกองบริการทางการแพทย์ ทุกแดน
โรคต่างๆ สื่อจากกองบริการทางการแพทย์

82 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 83
จ�ำนวน การใช้ จ�ำนวน มุมการจั ด จ�ำนวน การใช้
เรือนจ�ำ ประเภทหนังสือ ผู้ต้องขัง บริการ สุ ข ภาพ เรือนจ�ำ ประเภทหนังสือ ผู้ต้องขัง บริการ จ�ำนวน มุมการจั ด
(คน) (คน/วัน) มุมสุขภาพ เคลือ่ นที่ (คน) (คน/วัน) มุมสุขภาพ เคลืสุขอ่ ภาพ
นที่
หนังสือประกอบภาพ หนังสือธรรมะ หนังสือสุขภาพทั่วไป
วารสาร โปสเตอร์ หนังสือพระราชทาน หนังสือความรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆ
รจก.สงขลา ๔,๒๐๓ ๒๐ ๖ แดน
นิยาย การ์ตูน สื่อจากกองบริการ หนังสือออกก�ำลังกาย
ทสญ.เชียงใหม่ ๒,๒๖๗ ๒๐๐ ทุกแดน
ทางการแพทย์ หนังสือปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
VT Tech สื่อเรื่องฟัน
หนังสือต�ำราแพทย์ คู่มือแพทย์หนังสือ
สื่อจากกองบริการทางการแพทย์
เกี่ยวกับโรคต่างๆ แผ่นพับโภชนาการ
รจก.บางขวาง ๕,๘๖๕ ๑๕๐ ทุกแดน
บอร์ดความรู้ เช่น COVID-๑๙ สื่อจาก หนังสือเรื่องโรคต่างๆ เช่น เอดส์ เบาหวาน
กองบริการทางการแพทย์ ทสญ.ชลบุรี ความดัน วัณโรค หนังสือชีวจิต ๑,๔๕๒ ๙๕ ๔ แดน
หนังสือความรู้เรื่องโรคต่างๆ สื่อจากกองบริการทางการแพทย์
หนังสืองานราชทัณฑ์ปันสุขฯ หนังสือสุขภาพ นิตยสาร
รจก.คลองเปรม ๗,๔๘๓ ๓๐๐ ทุกแดน
แผ่นพับเรื่องโรคต่างๆ ทสญ.พิษณุโลก บอร์ดปฐมพยาบาล แผ่นพับเรื่องโรคต่างๆ ๑,๐๒๐ ๒๐๐ ทุกแดน
มี ๒ จุด
สื่อจากกองบริการทางการแพทย์ สื่อจากกองบริการทางการแพทย์
หนังสือโรควัณโรค เบาหวาน หนังสือประกอบภาพ หนังสือธรรมะ
ความดันสูง เอดส์ แผ่นพับสุขภาพ ทสญ.สงขลา วารสาร โปสเตอร์ นิยาย การ์ตูน ๑,๔๑๕ ๒๐ ทุกแดน
ทสญ.กลาง นิตยสารสุขภาพ หนังสือแนวคิดสุขภาพ ๕,๑๖๓ ๒๐๐ ๑ แดน สื่อจากกองบริการทางการแพทย์
หนังสือโภชนาการ
สื่อจากกองบริการทางการแพทย์ หนังสือ นิตยสาร แผ่นพับสุขภาพ
ทสบ.พิเศษหญิง ๑,๗๘๒ ๒๐ ๒ แดน
สื่อจากกองบริการทางการแพทย์
นิตยสารสุขภาพทั่วไป หนังสือความรู้
เรื่องโรคต่างๆ แผ่นพับความรู้สุขภาพ หนังสือสุขภาพ นิตยสารหมอชาวบ้าน
ทส.รพ.รท. ๔๑๕ ๒๐ ทุกหอผู้ป่วย ชีวจิต บอร์ดปฐมพยาบาล
บอร์ดความรู้โรคทั่วไป ทสญ.ธนบุรี ๑,๐๒๐ ๒๐ ๑ แดน
สื่อจากกองบริการทางการแพทย์ แผ่นพับเรื่องโรคต่างๆ
สื่อจากกองบริการทางการแพทย์
นิตยสารสุขภาพทั่วไป หนังสือความรู้
เรื่องโรคต่างๆ แผ่นพับความรู้สุขภาพ
ทสญ.นครราชสีมา บอร์ดความรู้โรค การ์ตูน ๒,๕๓๘ ๕๐ - ๖๐ ทุกแดน หมุนเวียน
สัปดาห์ละ
วารสารสร้างสุข วีดิทัศน์ทั่วไป ๑ ครั้ง
สื่อจากกองบริการทางการแพทย์

84 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 85
เพื่อติดตามผลการจัดตั้งมุมสุขภาพราชทัณฑ์ปันสุข กรมราชทัณฑ์ จึงได้จัดท�ำแบบส�ำรวจ
ความพึงพอใจต่อการใช้บริการมุมสุขภาพราชทัณฑ์ปันสุขในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน ๑๔๓ แห่ง
มีผู้ตอบแบบส�ำรวจทั้งหมด จ�ำนวน ๑,๓๓๗ คน กลุ่มเป้าหมายแบ่งเป็น เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์
จ�ำนวน ๒๖๐ คน ผู้ต้องขังชาย จ�ำนวน ๖๔๓ คน และผู้ต้องขังหญิง จ�ำนวน ๔๓๔ คน
ผลการส�ำรวจ มีดังนี้
ตารางที่ ๓ ความพึ งพอใจทีม
่ ีต่อการใช้บริการมุมสุขภาพราชทัณฑ์ปน
ั สุขในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน

๑. เจ้าหน้าที่ ๒. ผู้ต้องขังชาย

ระดับความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ (ร้อยละ) ระดับความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ (ร้อยละ)


ข้อ รายการประเมิน ข้อ รายการประเมิน
มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
ด้านทรัพยากรสารสนเทศ (N=เจ้าหน้าที่) ด้านทรัพยากรสารสนเทศ (N=ผู้ต้องขังชาย)
๑ มีหนังสือ ต�ำรา วารสารส่งเสริมสุขภาพครอบคลุมกับความต้องการ ๑๓.๘๖ ๔๖.๙๒ ๓๒.๖๙ ๕.๓๘ ๑.๑๕ ๑ มีหนังสือ ต�ำรา วารสารส่งเสริมสุขภาพครอบคลุมกับความต้องการ ๑๘.๓๕ ๔๕.๑๐ ๒๘.๗๗ ๖.๓๘ ๑.๔๐
๒ มีสื่อความรู้สุขภาพครอบคลุมและหลากหลาย เช่น แผ่นพับ ซีดี ๑๒.๖๙ ๔๐.๗๗ ๓๗.๓๑ ๘.๔๖ ๐.๗๗ ๒ มีสื่อความรู้สุขภาพครอบคลุมและหลากหลาย เช่น แผ่นพับ ซีดี ๑๒.๖๐ ๓๘.๑๐ ๓๕.๓๐ ๑๑.๓๕ ๒.๖๔
๓ ทรัพยากรสารสนเทศทันสมัยและมีจ�ำนวนเพียงพอ ๙.๒๓ ๓๔.๖๒ ๔๓.๔๖ ๑๑.๑๕ ๑.๕๔ ๓ ทรัพยากรสารสนเทศทันสมัยและมีจ�ำนวนเพียงพอ ๑๑.๐๔ ๓๘.๘๘ ๓๕.๓๐ ๑๒.๔๔ ๒.๓๓
ด้านการบริการ ด้านการบริการ
๔ มีขั้นตอนการให้บริการที่เป็นระบบท�ำให้การบริการสะดวกและรวดเร็ว ๑๗.๓๑ ๕๕.๐๐ ๒๖.๑๕ ๐.๗๗ ๐.๗๗ ๔ มีขั้นตอนการให้บริการที่เป็นระบบท�ำให้การบริการสะดวกและรวดเร็ว ๒๐.๓๗ ๔๙.๑๔ ๒๗.๕๓ ๑.๐๙ ๑.๘๗
๕ มีระยะเวลาการยืม-คืน เหมาะสมกับการให้บริการ ๑๗.๓๑ ๕๑.๙๒ ๒๕.๓๘ ๔.๒๓ ๑.๑๕ ๕ มีระยะเวลาการยืม-คืน เหมาะสมกับการให้บริการ ๑๙.๖๐ ๔๘.๐๖ ๒๖.๔๔ ๔.๖๗ ๑.๒๔
๖ มีช่องทางให้ผู้ใช้บริการแสดงข้อคิดเห็น/ประเมินการให้บริการ ๑๕.๗๗ ๕๐.๗๗ ๒๘.๔๖ ๓.๔๖ ๑.๕๔ ๖ มีช่องทางให้ผู้ใช้บริการแสดงข้อคิดเห็น/ประเมินการให้บริการ ๑๖.๐๒ ๔๗.๙๐ ๒๘.๖๒ ๕.๗๕ ๑.๗๑
ด้านสภาพแวดล้อม ด้านสภาพแวดล้อม
๗ สภาพแวดล้อมของมุมสุขภาพฯ มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการศึกษาค้นคว้า ๒๐.๗๗ ๕๑.๕๔ ๒๔.๒๓ ๓.๐๘ ๐.๓๘ ๗ สภาพแวดล้อมของมุมสุขภาพฯ มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการศึกษาค้นคว้า ๒๗.๐๖ ๔๑.๒๑ ๒๖.๙๑ ๓.๗๓ ๑.๐๙
๘ การจัดเรียงหนังสือบนชั้นถูกต้องค้นหาง่าย ๒๑.๑๕ ๔๙.๖๒ ๒๖.๕๔ ๒.๓๑ ๐.๓๘ ๘ การจัดเรียงหนังสือบนชั้นถูกต้องค้นหาง่าย ๒๓.๑๗ ๔๔.๗๙ ๒๗.๕๓ ๓.๒๗ ๑.๒๔
๙ มีอุปกรณ์ โต๊ะ เก้าอี้ ชั้นวางหนังสือ เพียงพอต่อความต้องการ ๑๕.๐๐ ๓๙.๖๒ ๓๕.๓๘ ๙.๖๒ ๐.๓๘ ๙ มีอุปกรณ์ โต๊ะ เก้าอี้ ชั้นวางหนังสือ เพียงพอต่อความต้องการ ๑๖.๑๗ ๔๐.๙๐ ๓๓.๕๙ ๗.๙๓ ๑.๔๐
๑๐ ความพึงพอใจโดยรวมต่อการใช้บริการมุมสุขภาพราชทัณฑ์ปันสุข (๓ ด้าน) ๑๖.๙๒ ๕๕.๓๘ ๒๕.๓๘ ๑.๙๒ ๐.๓๘ ๑๐ ความพึงพอใจโดยรวมต่อการใช้บริการมุมสุขภาพราชทัณฑ์ปันสุข (๓ ด้าน) ๒๕.๑๙ ๔๖.๓๕ ๒๕.๕๑ ๑.๘๗ ๑.๐๙

86 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 87
๓. ผู้ต้องขังหญิง ๔. ภาพรวมของทั้ง ๓ กลุ่ม

ระดับความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ (ร้อยละ) ระดับความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ (ร้อยละ)


ข้อ รายการประเมิน ข้อ รายการประเมิน
มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
ด้านทรัพยากรสารสนเทศ (N=ผู้ต้องขังหญิง) ด้านทรัพยากรสารสนเทศ (N=ผู้ตอบแบบประเมินทั้งหมด)
๑ มีหนังสือ ต�ำรา วารสารส่งเสริมสุขภาพครอบคลุมกับความต้องการ ๑๖.๘๒ ๓๖.๖๔ ๓๐.๘๘ ๑๓.๓๖ ๒.๓๐ ๑ มีหนังสือ ต�ำรา วารสารส่งเสริมสุขภาพครอบคลุมกับความต้องการ ๑๖.๙๘ ๔๒.๗๑ ๓๐.๒๒ ๘.๔๕ ๑.๖๕
๒ มีสื่อความรู้สุขภาพครอบคลุมและหลากหลาย เช่น แผ่นพับ ซีดี ๑๖.๘๒ ๓๖.๖๔ ๓๐.๘๘ ๑๓.๓๖ ๒.๓๐ ๒ มีสื่อความรู้สุขภาพครอบคลุมและหลากหลาย เช่น แผ่นพับ ซีดี ๑๓.๙๙ ๓๘.๑๕ ๓๔.๒๖ ๑๑.๔๔ ๒.๑๗
๓ ทรัพยากรสารสนเทศทันสมัยและมีจ�ำนวนเพียงพอ ๑๔.๗๕ ๓๖.๔๑ ๓๔.๓๓ ๑๒.๖๗ ๑.๘๔ ๓ ทรัพยากรสารสนเทศทันสมัยและมีจ�ำนวนเพียงพอ ๑๑.๘๙ ๓๗.๒๕ ๓๖.๕๗ ๑๒.๒๗ ๒.๐๒
ด้านการบริการ ด้านการบริการ
๔ มีขั้นตอนการให้บริการที่เป็นระบบท�ำให้การบริการสะดวกและรวดเร็ว ๒๑.๔๓ ๔๕.๑๖ ๒๗.๘๘ ๒.๗๖ ๒.๗๖ ๔ มีขั้นตอนการให้บริการที่เป็นระบบท�ำให้การบริการสะดวกและรวดเร็ว ๒๐.๑๒ ๔๘.๙๙ ๒๗.๓๗ ๑.๕๗ ๑.๙๔
๕ มีระยะเวลาการยืม-คืน เหมาะสมกับการให้บริการ ๑๙.๕๙ ๔๙.๓๑ ๒๕.๘๑ ๔.๖๑ ๐.๖๙ ๕ มีระยะเวลาการยืม-คืน เหมาะสมกับการให้บริการ ๑๙.๑๕ ๔๙.๒๑ ๒๖.๐๓ ๔.๕๖ ๑.๐๕
๖ มีช่องทางให้ผู้ใช้บริการแสดงข้อคิดเห็น/ประเมินการให้บริการ ๑๖.๑๓ ๔๓.๗๘ ๓๒.๒๖ ๕.๗๖ ๒.๐๗ ๖ มีช่องทางให้ผู้ใช้บริการแสดงข้อคิดเห็น/ประเมินการให้บริการ ๑๖.๐๑ ๔๗.๑๒ ๒๙.๗๗ ๕.๓๑ ๑.๘๐
ด้านสภาพแวดล้อม ด้านสภาพแวดล้อม
๗ สภาพแวดล้อมของมุมสุขภาพฯ มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการศึกษาค้นคว้า ๒๑.๔๓ ๔๑.๒๔ ๓๐.๑๘ ๖.๒๒ ๐.๙๒ ๗ สภาพแวดล้อมของมุมสุขภาพฯ มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการศึกษาค้นคว้า ๒๔.๐๑ ๔๓.๒๓ ๒๗.๔๕ ๔.๔๑ ๐.๙๐
๘ การจัดเรียงหนังสือบนชั้นถูกต้องค้นหาง่าย ๒๑.๘๙ ๔๖.๗๗ ๒๗.๑๙ ๓.๔๖ ๐.๖๙ ๘ การจัดเรียงหนังสือบนชั้นถูกต้องค้นหาง่าย ๒๒.๓๖ ๔๖.๓๗ ๒๗.๒๓ ๓.๑๔ ๐.๙๐
๙ มีอุปกรณ์ โต๊ะ เก้าอี้ ชั้นวางหนังสือ เพียงพอต่อความต้องการ ๑๓.๓๖ ๓๙.๔๐ ๓๔.๗๙ ๙.๒๒ ๓.๒๓ ๙ มีอุปกรณ์ โต๊ะ เก้าอี้ ชั้นวางหนังสือ เพียงพอต่อความต้องการ ๑๕.๐๓ ๔๐.๑๖ ๓๔.๓๓ ๘.๖๘ ๑.๘๐
๑๐ ความพึงพอใจโดยรวมต่อการใช้บริการมุมสุขภาพราชทัณฑ์ปันสุข (๓ ด้าน) ๒๕.๑๒ ๔๓.๐๙ ๒๖.๙๖ ๓.๙๒ ๐.๙๒ ๑๐ ความพึงพอใจโดยรวมต่อการใช้บริการมุมสุขภาพราชทัณฑ์ปันสุข (๓ ด้าน) ๒๓.๕๖ ๔๗.๐๕ ๒๕.๙๕ ๒.๕๔ ๐.๙๐

88 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 89
หากน�ำภาพรวมของทั้ง ๓ กลุ่ม มากที่สุด

มาน�ำเสนอด้วยแผนภูมิแท่ง มาก
ปานกลาง
จะปรากฎดังนี้ น้อย
น้อยที่สุด

๕๐ ๔๘.๙๙ ๔๙.๒๑ ๕๐

๔๗.๑๒ ๔๗.๐๕
๔๖.๓๗
๔๕ ๔๕

๔๒.๗๑ ๔๓.๒๓
๔๐.๑๖
๔๐ ๓๘.๑๕ ๔๐
๓๗.๒๕
๓๖.๕๗

๓๕ ๓๔.๓๓ ๓๕

๓๐.๒๒
๒๙.๗๗
๓๐ ๓๔.๒๖ ๓๐

๒๗.๓๗ ๒๗.๔๕ ๒๗.๒๓


๒๖.๐๓ ๒๕.๙๕
๒๕ ๒๔.๐๑ ๒๕

๒๓.๕๖
๒๒.๓๖
๒๐.๑๒
๒๐ ๑๙.๑๕ ๒๐

๑๖.๙๘
๑๖.๐๑ ๑๕.๐๓
๑๕ ๑๓.๙๙ ๑๕

๑๒.๒๗
๑๑.๔๔ ๑๑.๘๙
๑๐ ๑๐
๘.๔๕
๘.๖๘

๕.๓๑
๕ ๔.๕๖ ๔.๔๑ ๕
๓.๑๔
๒.๑๗ ๑.๙๔ ๒.๕๔
๑.๖๕ ๒.๐๒ ๑.๕๗ ๑.๐๕ ๑.๘๐ ๑.๘๐
๐.๙๐ ๐.๙๐ ๐.๙๐
๐ ๐

๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐.
แผนภูมิที่ ๖ ความพึ งพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด
(เจ้าหน้าทีร่ าชทัณฑ์ ผู้ต้องขังชาย ผู้ต้องขังหญิง) ทีม
่ ีต่อมุมสุขภาพราชทัณฑ์ปน
ั สุข รายข้อ

๑. มีหนังสือ ต�ำรา วารสารส่งเสริมสุขภาพครอบคลุมกับความต้องการ ๖. มีช่องทางให้ผู้ใช้บริการแสดงข้อคิดเห็น/ประเมินการให้บริการ


๒. มีสื่อความรู้สุขภาพครอบคลุมและหลากหลาย เช่น แผ่นพั บ ซีดี ๗. สภาพแวดล้อมของมุมสุขภาพฯ มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการศึกษาค้นคว้า
๓. ทรัพยากรสารสนเทศทันสมัยและมีจ�ำนวนเพี ยงพอ ๘. การจัดเรียงหนังสือบนชั้นถูกต้องค้นหาง่าย
๔. มีข้น
ั ตอนการให้บริการที่เป็นระบบท�ำให้การบริการสะดวกและรวดเร็ว ๙. มีอุปกรณ์ โต๊ะ เก้าอี้ ชั้นวางหนังสือ เพี ยงพอต่อความต้องการ
๕. มีระยะเวลาการยืม-คืน เหมาะสมกับการให้บริการ ๑๐. ความพึ งพอใจโดยรวมต่อการใช้บริการมุมสุขภาพราชทัณฑ์ปันสุข (๓ ด้าน)

90 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 91
๔. การพั ฒนาศักยภาพผู้ต้องขัง
โดยการอบรมผู้ต้องขังให้เป็นอาสาสมัคร
สาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.)

การพัฒนาศักยภาพผู้ต้องขัง โดยการอบรม หลักสูตรอบรมอาสาสมัคร


สาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.)
ผู้ต้องขังให้เป็นอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ
(อสรจ.) เป็ น การผลิ ต และพั ฒ นาอาสาสมั ค ร เนื้อหาตามหลักสูตรฝึกอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) ๒๐ ชั่วโมง
สาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) ให้มีความรู้ ทัศนคติ เรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน จะคัดเลือกผูต้ อ้ งขังทีเ่ ป็น และเพิ่มเติมเนื้อหาเฉพาะทางตามบริบทของแต่ละเรือนจ�ำ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ทักษะ และความสามารถในการด�ำเนินงานสุขภาพ นั ก โทษเด็ ด ขาดชั้ น ดี เว้ น แต่ เ ป็ น ผู ้ ต ้ อ งขั ง ที่ มี
ภาคประชาชน โดยกลวิธีสาธารณสุขมูลฐาน และ ความประพฤติดี และผู้บังคับบัญชาการเรือนจ�ำ ส่งเสริมสุขภาพและ
ชุมชนตามบริบทของเรือนจ�ำเพื่อให้อาสาสมัคร อาจคัดเลือกจากนักโทษชั้นกลางขึ้นไปตามล�ำดับ อนามัยสิ่งแวดล้อม (๕ ชั่วโมง)
สาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) มีความรู้ ทักษะ และก�ำหนดเหลือโทษ ๑ ปีขึ้นไป เป็นผู้ต้องขังที่ แบ่งเป็น ๕ วิชาย่อย ได้แก่
ประสบการณ์ตามบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข สามารถอ่านออกเขียนได้ หรือจบการศึกษาชั้น • วิชาโภชนาการและอาหารเพื่อสุขภาพ • วิชาการสุขาภิบาลอาหารและน�้ำในเรือนจ�ำ
เรือนจ�ำ (อสรจ.) และสามารถน�ำไปปฏิบัติงานได้ ประถมศึกษาปีที่ ๖ ขึน้ ไป มีสขุ ภาพดี เป็นแบบอย่าง • วิชาสุขภาพช่องปากและการดูแล • วิชาการอนามัยสิ่งแวดล้อมในเรือนจ�ำ
อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างสรรค์พฤติกรรมสุขภาพ ที่ดีด้านสุขภาพ มาอบรมอาสาสมัครสาธารณสุข • วิชาการออกก�ำลังกายเพื่อสุขภาพ
ที่เหมาะสม เฝ้าระวัง คัดกรองสุขภาพเบื้องต้น เรือนจ�ำ (อสรจ.) โดยใช้อัตราส่วน ผู้ต้องขัง
ดูแลช่วยเหลือและถ่ายทอดความรู้เพื่อส่งเสริม จ�ำนวน ๕๐ คน ต่อ อาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ
สุขภาพ ป้องกันโรค ตลอดจนดูแลสิ่งแวดล้อม (อสรจ.) จ�ำนวน ๑ คน การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค
ที่เอื้อต่อสุขภาพกลุ่มผู้ต้องขังในชุมชนตามบริบท การจัดอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ ติดต่อและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหา
ส�ำคัญ (๕ ชั่วโมง) ได้แก่
ของเรือนจ�ำ (อสรจ.) ใช้หลักสูตรอบรมอาสาสมัครสาธารณสุข
เรื อ นจ� ำ (อสรจ.) ที่ ก รมราชทั ณ ฑ์ ร ่ ว มกั บ • หลักการและแนวปฏิบัติในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่ส�ำคัญ ในเรือนจ�ำ
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข บทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) ในการเฝ้าระวังโรค เช่น โรควัณโรค โรคเอดส์ และ
จัดท�ำขึ้น โดยประสานวิทยากรฝึกอบรมจาก โรคไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น
ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ประเมินผลการอบรม • การประเมินพฤติกรรมเสี่ยง ตลอดจนแนวทางการป้องกันโรคติดต่อ/ปัญหาสาธารณสุขที่เป็นปัญหา
อาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) ตาม ส�ำคัญของเรือนจ�ำ
หลั ก สู ต ร ซึ่ ง อาสาสมั ค รสาธารณสุ ข เรื อ นจ� ำ • ศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง (โรคไม่ติดต่อ) โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน
(อสรจ.) ทีผ่ า่ นการประเมิน จะได้รบั ใบประกาศนียบัตร โรคหลอดเลือดหัวใจ มะเร็ง หรือโรค และปัญหาอื่นๆ ที่เป็นปัญหาสาธารณสุขของเรือนจ�ำ
และขึ้นทะเบียนอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ • การประเมินพฤติกรรมเสี่ยง
(อสรจ.) และสามารถใช้เป็นเอกสารใบประกาศนียบัตร • การดูแลผู้ป่วยเรื้อรังและการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในกลุ่มผู้ต้องขัง ตลอดจนแนวทางขั้นตอน
ประกอบหลักเกณฑ์การเลือ่ นชัน้ นักโทษเด็ดขาดได้ การสนับสนุนการรักษาโรค

92 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 93
การปฐมพยาบาลฉุกเฉินและการกู้ชีพขั้นพื้ นฐาน
(Emergency First Aid and Basic Life
Support Training Course) (๕ ชั่วโมง) ได้แก่

• ภาวะฉุกเฉินที่เป็นอันตรายต่อสัญญาณชีพ หรือการรอดชีวิตจากภาวะฉุกเฉิน การดูแลสุขภาพพื้ นฐานในผู้ป่วยติดเตียง


• หลักและวิธีการปฐมพยาบาลภาวะฉุกเฉินที่พบบ่อย เช่น การแก้ทางเดินหายใจถูกอุดกั้น (Chocking) ผู้สูงอายุ และผู้พิการ (๒ ชั่วโมง) ได้แก่
ในผู้ใหญ่เด็กและทารกด้วยวิธีการท�ำรัดกระตุกที่หน้าท้อง (Abdominal thrusts) ในผู้ใหญ่และเด็ก และ
• การดูแลฟื้นฟูสภาพร่างกายของผู้สูงอายุเบื้องต้น
วิธีการตบหลังและกดหน้าอกในทารก (Back blow, Chest thrusts)
• หลักการส่งเสริมสุขภาพเบื้องต้นผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียง และผู้พิการ
• การเคลื่อนย้ายที่จ�ำเป็น การจัดท่าพักฟื้น (Recovery position) ผู้ป่วยเจ็บทั่วไป วิธีการจัดท่าพักฟื้นผู้ป่วย
• การเสริมสร้างสุขภาพให้แก่ผู้ที่จ�ำเป็นต้องรับการฟื้นฟูร่างกาย ในประเด็นด้านโภชนาการ
ที่หมดสติ แต่ยังหายใจอยู่หรือผู้ที่ได้รับการช่วยเหลือจากการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) จนกลับมามีชีพจรและ
และการออกก�ำลังกาย
หายใจได้เองอีกครั้ง ระหว่างรอการช่วยเหลือจากหน่วยแพทย์ฉุกเฉิน
• การท�ำกายภาพบ�ำบัดเพื่อรักษาและฟื้นฟูในผู้ป่วยติดเตียง ผู้สูงอายุ และผู้พิการ

การดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิต/จิตเวช
และผู้ที่ใช้สารเสพติด (๓ ชั่วโมง) ได้แก่ อนามัยแม่และเด็กเบื้องต้น
(๒ ชัว
่ โมง) ได้แก่
• คัดกรองโรค/ภาวะซึมเศร้า โรคจิต มีพฤติกรรมท�ำร้ายตนเอง/ผู้อื่น มีความคิดจะฆ่าตัวตายหรือพยายาม
• วิธีการดูแลส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์
ลงมือฆ่าตัวตาย โรคติดสุราและภาวะเพ้อจากการถอนสุรา และระบุสัญญาณเตือนของพฤติกรรมก้าวร้าว
• วิธีการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการเด็กปฐมวัย
รุนแรงได้อย่างถูกต้อง
• ประโยชน์และวิธีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
• ให้ความช่วยเหลือทางด้านจิตใจและเฝ้าระวังมิให้เกิดภาวะอันตรายต่อผู้ป่วยและผู้ต้องขังอื่นได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสม
• สามารถบริหารเหตุการณ์ภาวะจิตเวชฉุกเฉินเบื้องต้นและรายงานเจ้าหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว
และปลอดภัย การบริหารจัดการตามบริบทพื้ นที่
• สามารถจ�ำกัดพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงของผู้ต้องขังที่มีภาวะจิตเวชฉุกเฉินได้อย่างถูกต้องปลอดภัย (๑ ชั่วโมง) ได้แก่

• ความหมาย ความส�ำคัญ คุณค่า ศักดิศ์ รี และบทบาทหน้าทีข่ องการเป็นอาสาสมัครสาธารณสุข


เรือนจ�ำ (อสรจ.)
การสื่อสารและจัดกิจกรรม • การด�ำเนินการตามแนวทางการด�ำเนินงานของอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) ทั้งใน
การเรียนรู้ด้านสุขภาพ (๑ ชั่วโมง) ได้แก่
เวลาราชการและนอกเวลาราชการ
• กระบวนการสือ่ สารและองค์ประกอบของการสือ่ สาร การวิเคราะห์กลุม่ เป้าหมาย เพือ่ การออกแบบกิจกรรม • การบริหารจัดการเหตุการณ์เบื้องต้น เช่น เมื่อเจอเหตุการณ์ผู้ต้องขังป่วย
และสื่อในการสื่อสาร การออกแบบการสื่อสารและสื่อ • การด�ำเนินการของอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ
• การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านสุขภาพ ความหมาย และองค์ประกอบของการจัดการเรียนรู้รูปแบบและ • การบันทึกรายงานและการรายงานเจ้าหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและปลอดภัย
เทคนิคการจัดการเรียนรู้
• การออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้

94 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 95
การด�ำเนินงานของ ๓ การจัดอบรมความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) ตามหลักสูตรอบรม
อาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) อาสาสมั ค รสาธารณสุ ข เรื อ นจ� ำ (อสรจ.) ที่ ก รมราชทั ณ ฑ์ ด� ำ เนิ น การร่ ว มกั บ
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข (๕ หมวดรายวิชา ๒๐ ชัว่ โมง และ
มีผลการด�ำเนินงาน ดังนี้ เพิ่มเติมเนื้อหาเฉพาะทางตามบริบทของแต่ละเรือนจ�ำ) จ�ำนวน ๑๓๗ แห่ง มีผู้เข้า
รับการอบรม จ�ำนวน ๑๐,๑๖๙ คน เกินเกณฑ์มาตรฐานที่ก�ำหนดไว้ (จ�ำนวนอาสา
๑ จ�ำนวนอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) จากการส�ำรวจข้อมูลพบว่า ก่อน สมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) ต่อจ�ำนวนผู้ต้องขัง ๑:๕๐)
ด�ำเนินโครงการราชทัณฑ์ปันสุข ท�ำความ ดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ เรือนจ�ำ ระยะที่ ๑
ทั้ง ๒๔ แห่ง พบว่ามีเรือนจ�ำและทัณฑสถานไม่เป็นไปตามเกณฑ์ จ�ำนวน ๖ แห่ง
๔ มีการขึ้นทะเบียน อสรจ. จ�ำนวน ๑๐,๑๖๙ คน ส�ำหรับผู้ที่ผ่านการอบรมและผ่าน
๒ เมื่อมีการด�ำเนินโครงการแล้วพบว่า เรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน ๑๓๗ แห่ง ผ่านเกณฑ์ เกณฑ์พิจารณา ตามที่กรมราชทัณฑ์ก�ำหนด จากเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน ๑๓๗ แห่ง
จ�ำนวนอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ สามารถอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ
(อสรจ.) คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ๕ มีการแจกใบประกาศนียบัตรหลักสูตรอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.)
ให้แก่ผทู้ ผี่ า่ นการอบรม และผ่านเกณฑ์พจิ ารณาตามทีก่ รมราชทัณฑ์กำ� หนด จ�ำนวน
๑๓๗ แห่ง จ�ำนวน ๑๐,๑๖๙ คน

ไม่ผ่านเกณฑ์ จ�ำนวน อสรจ. ๑:๕๐


ก่อน หลัง เกณฑ์

๓๐๐ ๒๘๘
๓๐๐
๒๗๙

๒๕๓
๒๕๐ ๒๔๕ ๒๕๐

๒๐๘
๒๐๐
๒๐๐ ๑๘๗ ๑๙๐ ๒๐๐
๑๘๐ ๑๘๕
๑๗๘ ๑๗๘

๑๕๐ ๑๕๐ ๑๕๓ ๑๕๓ ๑๕๐


๑๔๘ ๑๔๘
๑๕๐ ๑๔๖ ๑๔๓ ๑๔๑ ๑๔๐ ๑๔๔ ๑๔๐ ๑๔๒ ๑๔๖ ๑๔๘ ๑๕๐
๑๓๘
๑๒๒ ๑๒๖
๑๒๒
๑๑๑ ๑๑๒ ๑๑๕
๑๑๐ ๑๐๘
๑๐๒ ๑๐๓ ๑๐๒ ๑๐๐ ๑๐๑ ๑๐๐
๙๕ ๙๖ ๙๗
๑๐๐ ๙๔ ๙๒ ๙๔ ๙๐ ๙๖ ๑๐๐
๘๗ ๘๕ ๘๔ ๘๕ ๘๒
๘๐ ๘๓
๗๕ ๗๙ ๗๖
๗๒ ๗๔
๖๗ ๖๖ ๖๕
๕๖ ๖๐ ๖๘
๕๘ ๕๔ ๕๙
๕๐ ๔๙ ๕๑ ๕๐
๔๗ ๔๙
๕๐ ๔๒ ๔๓ ๔๓ ๔๕
๔๐ ๕๐
๓๔ ๓๕ ๓๒
๒๘ ๒๘ ๓๐ ๓๐
๒๓ ๒๖ ๒๕
๑๙ ๒๐ ๑๙

๐ ๐
ิง

กลาง

ุรี

หม่

นบุร

ุโลก

าบิน

รม

องไผ

บุรี

ม่

รปฐม

สีมา

าช

ยอง

ขลา

ร์ธาน

ุโลก
ษหญ

งขวา
ีม

สงขล
ชลบ

รากา
ณุโล
ียงให

รพน

รรมร
ราชส

องเป

างชล

พิษณ

พิษณ
างระ
เชียง

างสง
รราช
างเข

างคล
หญิง

าษฎ
างนค
หญิง
หญิง

างพิษ
างนค

างบา

ุทรป
ัดพิเศ

างเช
หญิง

างคล

รศรีธ
นคร

จ�ำกล
หญิง

จ�ำกล
จ�ำกล

จ�ำกล
หญิง

หวัด
างนค

างสุร
สถาน

จ�ำกล
สถาน
สถาน

างสม
จ�ำกล
จ�ำกล

จ�ำกล
สถาน

จ�ำกล

จ�ำกล
บ�ำบ

หญิง

จ�ำกล

างนค
สถาน

เรือน

จ�ำจัง
สถาน

เรือน
เรือน

เรือน
จ�ำกล

จ�ำกล
ทัณฑ

เรือน

จ�ำกล
ทัณฑ
ทัณฑ
สถาน

เรือน
เรือน

เรือน
เรือน
ทัณฑ
สถาน

เรือน
จ�ำกล
เรือน

เรือน
ทัณฑ

ทัณฑ

เรือน

เรือน
เรือน
ทัณฑ

ทัณฑ

เรือน
แผนภูมิที่ ๗ จ�ำนวนอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) ก่อน-หลังโครงการราชทัณฑ์ปน
ั สุขฯ
ตามเกณฑ์มาตรฐาน ๑:๕๐

96 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 97
๕. ข้อมูลบุคลากรทางการแพทย์
ประจ�ำเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน ก่อน
หลัง
เกณฑ์

๑๘ ๑๘

๑๖
๑๖ ๑๖

๑๔ ๑๔

๑๒ ๑๒

๑๐
๑๐ ๑๐
๙ ๙


๘ ๘

๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖
๖ ๖
๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕

๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๔ ๔
๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓

๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒
๒ ๒
๑ ๑ ๑ ๑ ๑

๐ ๐
าบิน

รม

องไผ

บุรี

ม่

รปฐม

สีมา

วาง

อง

ขลา

นี

ุโลก

กลาง

ุร

ใหม่

ุรี

ุโลก

ิง
ษหญ
ชสีม

สงขล
รากา

ชลบ

ธนบ

ณุโล
ียงให

รพน

ฎร์ธา
งระย
รรมร
องเป

างชล

พิษณ

พิษณ
เชียง
างสง
รราช
างเข

างคล

งบาง

หญิง

รา
างนค

หญิง
หญิง
างพิษ
งนค

ุทรป

ัดพิเศ
างเช

หญิง

�ำกลา
างคล

รศรีธ

นคร
จ�ำกล

งสุรา

หญิง
จ�ำกล

จ�ำกล

หวัด

หญิง
างนค

สถาน
�ำกลา
จ�ำกล

�ำกลา

สถาน
สถาน
างสม
จ�ำกล
จ�ำกล

สถาน
จ�ำกล

บ�ำบ
หญิง
จ�ำกล


างนค

สถาน
�ำกลา
เรือน

จ�ำจัง

สถาน
เรือน
เรือน

เรือน
จ�ำกล


ทัณฑ
เรือน

จ�ำกล

ทัณฑ
ทัณฑ

สถาน
เรือน
เรือน

เรือน
เรือน

ทัณฑ
สถาน
เรือน
จ�ำกล
เรือน

เรือน

ทัณฑ

ทัณฑ
เรือน

เรือน
เรือน

ทัณฑ
ทัณฑ
เรือน

แผนภูมิที่ ๘ การเปรียบเทียบจ�ำนวนบุคลากรทางการแพทย์ประจ�ำเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานต่อจ�ำนวนผู้ต้องขัง
ก่อน-หลัง และเกณฑ์ ในอัตราส่วน ๑ : ๑,๒๕๐ คน

จ� ำ นวนบุ ค ลากรทางการแพทย์ ป ระจ� ำ เรื อ นจ� ำ / บุคลากรทางการแพทย์เป็นไปตามเกณฑ์ทกี่ รมราชทัณฑ์ มีจำ� นวน ๑๖ แห่ง สาเหตุจากมีการโยกย้ายไปหน่วยอืน่
ทั ณ ฑสถาน เมื่ อ เปรี ย บเที ย บตามเกณฑ์ บุ ค ลากร ก�ำหนดจ�ำนวน ๑๘ แห่ง แต่หลังจากด�ำเนินการไปแล้ว และอยู่ระหว่างการสรรหาบุคลากรมาเพิ่มให้เป็นไป
ทางการแพทย์ ๑ คน ต่อผู้ต้องขัง จ�ำนวน ๑,๒๕๐ คน พบว่ า เรื อ นจ� ำ /ทั ณ ฑสถานที่ มี จ� ำ นวนบุ ค ลากรทาง ตามเกณฑ์ ส�ำหรับทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์
ก่อนด�ำเนินโครงการ มีเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานที่มีจ�ำนวน การแพทย์เป็นไปตามเกณฑ์ที่กรมราชทัณฑ์ก�ำหนด มีจ�ำนวนบุคลากรทางการแพทย์เป็นไปตามเกณฑ์

98 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 99
๖. การบริการของแพทย์ในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน
๖.๑ การเข้าให้บริการของแพทย์ในการตรวจรักษาผู้ต้องขังในเรือนจ�ำ/ ก่อน
หลัง
ทัณฑสถานเป้าหมาย ยกเว้นทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ เกณฑ์
* เรือนจ�ำกลางคลองเปรม มีพื้นที่ติดกับทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์
จึงไม่มีแพทย์เข้าให้บริการตรวจรักษาผู้ต้องขัง
๓๐ ๓๐
เกณฑ์การจัดบริการตรวจรักษาผู้ต้องขัง
จ�ำนวน ผู้ต้องขัง <๑,๒๕๐ คน = ๓ ชม./สัปดาห์
จ�ำนวน ผู้ต้องขัง ๑,๒๕๐-๔,๐๐๐ คน = ๖ ชม./สัปดาห์
จ�ำนวน ผู้ต้องขัง >๔,๐๐๐ = ๙ ชม./สัปดาห์
๒๕
๒๕ ๒๕

๒๐ ๒๐

๑๘

๑๕
๑๕ ๑๕

๑๒ ๑๒ ๑๒ ๑๒

๑๐ ๑๐
๙ ๙ ๙ ๙ ๙ ๙ ๙ ๙ ๙ ๙ ๙ ๙ ๙ ๙

๗.๕

๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖ ๖

๕ ๕
๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓
๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒
๑.๕

๐ ๐ ๐ *

๐ ๐
ิง

กลาง

ุรี

ม่

ุรี

ุโลก

าบิน

รม

องไผ

บุรี

ม่

รปฐม

ีมา

ยอง

ขลา

ร์ธาน

ุโลก
ษหญ

งขวา
ีม

สงขล
ชลบ

ธนบ

รากา
รมรา

ณุโล
ให

ียงให

รพน
ราชส


องเป

างชล
พิษณ

พิษณ
างระ
เชียง

างสง
รราช
างเข

างคล
หญิง

าษฎ
างนค
หญิง
หญิง

างพิษ
างนค

างบา

ุทรป
ัดพิเศ

างเช


หญิง

างคล

รศรีธ
นคร

จ�ำกล
หญิง

จ�ำกล
จ�ำกล

จ�ำกล
หญิง

หวัด
งนค

างสุร
สถาน

จ�ำกล
สถาน
สถาน

างสม
จ�ำกล
จ�ำกล

จ�ำกล
สถาน

จ�ำกล

จ�ำกล
บ�ำบ

หญิง

จ�ำกล

างนค
�ำกลา
สถาน

เรือน

จ�ำจัง
สถาน

เรือน
เรือน

เรือน

จ�ำกล
ทัณฑ

เรือน

จ�ำกล
ทัณฑ
ทัณฑ
สถาน

เรือน
เรือน

เรือน
เรือน
ทัณฑ
สถาน

เรือน
จ�ำกล
เรือน

เรือน

ทัณฑ

ทัณฑ

เรือน

เรือน
เรือน
ทัณฑ

ทัณฑ

เรือน
แผนภูมิที่ ๙ การเปรียบเทียบการเข้าให้บริการของแพทย์ในการตรวจรักษาผู้ต้องขังก่อน-หลังโครงการราชทัณฑ์ฯ
ในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานเป้าหมาย ระยะที่ ๑ ตามเกณฑ์การจัดบริการตรวจรักษาผู้ต้องขัง (ชั่วโมงต่อสัปดาห์)

การจัดบริการตรวจรักษาผู้ต้องขังตามเกณฑ์ โครงการราชทัณฑ์ปันสุข ท�ำความ ดี เพื่อชาติ เพียง ๗ แห่ง แต่ภายหลังมีการด�ำเนินงานตาม


ที่ก�ำหนด ในโครงการราชทัณฑ์ปันสุข ท�ำความ ดี ศาสน์ กษัตริย์ เรือนจ�ำ ระยะที่ ๑ มีเรือนจ�ำ/ โครงการแล้วพบว่ามีเพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวน ๑๐ แห่ง
เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ เรือนจ�ำ ระยะที่ ๑ จ�ำนวน ๒๔ ทัณฑสถานทีม่ แี พทย์เข้าบริการตรวจรักษาผูต้ อ้ งขัง ทั้งนี้ ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ มีแพทย์
แห่ง เปรียบเทียบก่อนและหลัง พบว่า ก่อนด�ำเนิน ทีเ่ ป็นไปตามเกณฑ์การจัดบริการตรวจรักษาผูต้ อ้ งขัง ประจ�ำจึงท�ำให้การตรวจเกินเกณฑ์

100 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 101


๖.๒ สาขาของแพทย์ที่เข้ามารักษาในเรือนจ�ำ

การให้บริการตรวจรักษาแก่ผู้ต้องขังในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน ๒๔ แห่ง ตามโครงการ


ราชทัณฑ์ปันสุขฯ ประกอบด้วยแพทย์สาขาต่างๆ จ�ำแนกตามเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน ยกเว้น
ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ ดังตารางต่อไปนี้
ตารางที่ ๔ สาขาของแพทย์ทีใ่ ห้บริการในโครงการราชทัณฑ์ปน
ั สุขฯ

แพทย์สาขา แพทย์สาขา
ล�ำดับที่ เรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน รพ.ทหาร ล�ำดับที่ เรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน รพ.ทหาร
เวชปฏิบัติ จิตแพทย์ ทันตแพทย์ /ต�ำรวจ เวชปฏิบัติ จิตแพทย์ ทันตแพทย์ /ต�ำรวจ
๑ รจก.เขาบิน (ค่ายภาณุรังษี)
๑๓ รจก.นครปฐม

๒ รจก.ระยอง ๑๔ รจก.สุราษฎร์ธานี

๓ รจก. พิษณุโลก ๑๕ รจก.สงขลา

๔ รจก.คลองไผ่ ๑๖ รจก.บางขวาง

๕ รจก. นครศรีธรรมราช ๑๗ รจก.คลองเปรม ใช้บริการ รพ.รท. ใช้บริการ รพ.รท.

๖ รจก.สมุทรปราการ ๑๘ ทญ.กลาง

๗ รจก.ชลบุรี ๑๙ ทญ.เชียงใหม่

๘ รจก.นครราชสีมา ๒๐ ทญ.ชลบุรี

๙ ทญ.นครราชสีมา ๒๑ ทญ.ธนบุรี

๑๐ รจก.นครพนม ๒๒ ทญ.พิษณุโลก

๑๑ รจก.เชียงใหม่ ๒๓ ทญ.สงขลา

๑๒ รจจ.พิษณุโลก ๒๔ ทญ.บ�ำบัดพิเศษหญิง

102 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 103


๗. การจัดพื้ นที่/บริการ ของสถานพยาบาลเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน
และแดนแรกรับ คัดกรอง แยกโรค
๗.๑ การจัดห้องส�ำหรับผู้ต้องขังที่โรงพยาบาลแม่ข่าย

เมื่อมีการด�ำเนินงานตามโครงการราชทัณฑ์ปันสุขฯ กระทรวงสาธารณสุขเล็งเห็น เรือนจ�ำกลาง ทัณฑสถานหญิง เรือนจ�ำกลาง


ความส� ำ คั ญ ในการดู แ ลผู ้ ต ้ อ งขั ง จึ ง ได้ มี ก ารจั ด ห้ อ งส� ำ หรั บ ดู แ ลผู ้ ต ้ อ งขั ง ป่ ว ย นครราชสีมา นครราชสีมา สงขลา

ในโรงพยาบาลแม่ข่าย ในการด�ำเนินงาน ระยะที่ ๑ จ�ำนวน ๑๘ แห่ง ดังนี้


โรงพยาบาล โรงพยาบาล โรงพยาบาล
เดอะโกลเดนเกท สีคิ้ว สงขลา

เรือนจ�ำความมั่นคงสูง เรือนจ�ำหญิง

โรงพยาบาล
แม่ข่าย เรือนจ�ำกลาง เรือนจ�ำกลาง
สุราษฏร์ธานี บางขวาง
เรือนจ�ำกลางบางขวาง
เป็นเรือนจ�ำที่มีสถานพยาบาล
โรงพยาบาล โรงพยาบาล เป็นหน่วยบริการประจ�ำ
เรือนจ�ำกลาง เรือนจ�ำกลาง เรือนจ�ำกลาง โดยมีโรงพยาบาลพระนั่งเกล้า
ระยอง คลองไผ่ พิ ษณุโลก สุราษฏร์ธานี พระนั่งเกล้า
เป็นหน่วยบริการที่รับการส่งต่อทั่วไป
กรณีเกินศักยภาพ
โรงพยาบาล โรงพยาบาล โรงพยาบาล
บ้านค่าย ปากช่องนานา วังทอง

ทัณฑสถานหญิง ทัณฑสถานหญิง
เรือนจ�ำกลาง เรือนจ�ำจังหวัด เรือนจ�ำกลาง เชียงใหม่ พิ ษณุโลก
เชียงใหม่ พิ ษณุโลก นครปฐม

โรงพยาบาล โรงพยาบาล
โรงพยาบาล โรงพยาบาล โรงพยาบาล นครพิ งค์ วังทอง
แม่แตง วังทอง นครปฐม

ทัณฑสถานหญิง ทัณฑสถานบ�ำบัด
สงขลา พิ เศษหญิง
เรือนจ�ำกลาง เรือนจ�ำกลาง เรือนจ�ำกลาง
ชลบุรี สมุทรปราการ นครพนม
โรงพยาบาล โรงพยาบาล
สงขลา ธัญบุรี
โรงพยาบาล โรงพยาบาล โรงพยาบาล
บ้านบึง บางบ่อ นครพนม

104 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 105


๗.๒ การจัดห้องแยกโรคติดต่อ และสถานการณ์โรคระบาดในเรือนจ�ำ
รวมทั้งการควบคุมการแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)

จากข่าวการระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ที่เมืองอู่ฮั่น ประเทศจีน

กรมราชทัณฑ์ได้เตรียมความพร้อมรับมือการระบาด
ของโรคฯ โดยได้กำ� หนดมาตรการ เฝ้าระวัง ป้องกัน คนในห้ามออก
และควบคุมโรคฯ ตั้งแต่เดือน มกราคม ๒๕๖๓ ๕) หนังสือกรมราชทัณฑ์ ด่วนที่สุด ที่ ยธ คนนอกห้ามเข้า
เป็นต้นมา และเมื่อสถานการณ์การระบาดเริ่มเข้าสู่ ๐๗๐๕.๓/๑๒๕๐๖ ลงวันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๖๓ มีการด�ำเนินการดังนี้ มีมาตรการ
ประเทศไทย ได้ปรับเพิ่มมาตรการให้เข้มข้นขึ้น อีกทัง้ ได้กำ� ชับให้เรือนจ�ำ/ทัณฑสถานทัว่ ประเทศ งดเยี่ยมญาติ งดผู้ต้องขังออกท�ำงาน ๒
ตามสถานการณ์ประเทศที่เปลี่ยนแปลงไปและ ถือปฏิบัติตามมาตรการ เฝ้าระวัง ป้องกัน และ สาธารณะหรือการฝึกวิชาชีพนอกเรือนจ�ำ
เหมาะสม ได้แก่ ควบคุมโรคฯ อย่างเคร่งครัด สงสัยไว้ก่อนว่าคนเข้าใหม่
ห้ า มบุ ค คลภายนอกเข้ า ภายในเรื อ นจ� ำ
เป็นผู้ติดเชื้อ
๑) หนังสือกรมราชทัณฑ์ ด่วนที่สุด ที่ ยธ ๖) หนังสือกรมราชทัณฑ์ ด่วนที่สุด ที่ ยธ โดยไม่จ�ำเป็น เช่น วิทยากรในการฝึกอบรม
๐๗๐๕.๓/๓๐๖๕ ลงวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๓ ๐๗๐๕.๓/๒๐๓๘๒ ลงวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๖๓ วิชาชีพ รวมถึงวิทยากรด้านอื่นๆ เป็นต้น ผู้ต้องขังเข้าใหม่ทุกราย จะได้รับการแยกกักโรค
๒) หนังสือกรมราชทัณฑ์ ด่วนที่สุด ที่ ยธ ๗) หนังสือกรมราชทัณฑ์ ด่วนที่สุด ที่ ยธ ๑๔ วัน ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงตามเกณฑ์
๐๗๐๕.๓/๕๖๗๙ ลงวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ ๐๗๐๕.๓/๒๖๔๕๓ ลงวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๖๓ ของกระทรวงสาธารณสุข มีการวัดไข้ รวมถึง
๓) หนังสือกรมราชทัณฑ์ ด่วนที่สุด ที่ ยธ และ ๘) หนังสือกรมราชทัณฑ์ ด่วนที่สุด ที่ ยธ ผู้ต้องขังที่ออกศาล หรือออกไปรับการรักษาที่
๐๗๐๕.๓/๗๑๙๖ ลงวันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓ ๐๗๐๕.๓/๓๐๑๗๘ ลงวันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๖๓ โรงพยาบาลภายนอก ก็จะได้รับการแยก
๔) หนังสือกรมราชทัณฑ์ ด่วนที่สุด ที่ ยธ ร่ ว มกั บ กรมควบคุ ม โรค กระทรวงสาธารณสุ ข กักโรค ๑๔ วัน พร้อมเฝ้าระวังอาการ
๐๗๐๕.๓/๑๐๗๗๕ ลงวันที่ ๗ เมษายน ๒๕๖๓ รับรายงานสถานการณ์ของโรครายวัน จากเรือนจ�ำ/ เสมือนผู้ต้องขังเข้าใหม่เช่นกัน รวมทั้ง
ทั ณ ฑสถาน เข้ า สู ่ ก ารประชุ ม WAR ROOM จั ด เตรี ย มห้ อ งแยกโรคหรื อ พื้ น ที่
ในระดับผู้บริหารกรมราชทัณฑ์ เพื่อแก้ไขปัญหา ส�ำหรับรองรับการระบาด จัดระบบ
ควบคุ ม ติ ด ตามสถานการณ์ อย่ า งทั น ท่ ว งที ๓ อาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ
ซึ่งสามารถสรุปมาตรการป้องกัน เฝ้าระวัง และ ( อส รจ.) เพื่ อ ช ่ ว ยง าน
สร้างความร่วมมือ สถานพยาบาล
ควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา กับหน่วยงานต่างๆ
๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ดังนี้
ได้แก่ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข และประสาน
ความร่วมมือกับ โรงพยาบาลแม่ขา่ ย และส�ำนักงานสาธารณสุขในพืน้ ที่
แต่งตั้งคณะท�ำงานป้องกัน เฝ้าระวัง และควบคุมการแพร่ระบาดของโรค
รวมถึงการจัดท�ำแผนการส่งต่อกรณีพบผูต้ อ้ งขังทีต่ อ้ งสงสัยว่าจะติดเชือ้ ไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) การตรวจค้นหาผู้ติดเชื้อเชิงรุก โดยได้รับ
ความร่วมมือจากส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล
สถาบันนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ กระทรวงยุตธิ รรม และกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

106 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 107



ลดความแออัด
การเพิ่มพื้นที่เรือนนอน โดยจัดท�ำ
เตียงนอน ๒ ชั้น ๕
สร้างความเข้าใจ
จัดท�ำวีดิทัศน์ ให้ความรู้ผู้ต้องขังเกี่ยวกับเชื้อไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ในรูปแบบรายการ “เรือ่ งเล่า
ชาวเรือนจ�ำ” เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง
จากการด�ำเนินงานมาตรการต่างๆ ข้างต้น ลดความวิตกกังวล สร้างภูมิคุ้มกันในจิตใจให้แก่ผู้ต้องขัง
ท� ำ ให้ พ บผู ้ ต ้ อ งขั ง ป่ ว ยโรคติ ด เชื้ อ ไวรั ส จากได้รับความรู้และข้อเท็จจริงจากนักวิชาการและ
โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) เพียงจ�ำนวน ผู้เชี่ยวชาญ
๓ ราย ประกอบด้วย ผูเ้ ข้ารับการตรวจพิสจู น์
จ�ำนวน ๑ ราย และผู้ต้องขัง จ�ำนวน ๒ ราย
ซึ่งเป็นการติดเชื้อจากภายนอกเรือนจ�ำทั้ง
๓ ราย โดยได้รบั การรักษาจนหายแล้วทุกราย
และพบว่า ในทุกเรือนจ�ำสามารถจัดให้มหี อ้ ง
แยกวัณโรค ห้องแยกโรคทั่วไป และห้อง
แยกกักกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(COVID-๑๙)

108 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 109


๘. การผลิตสื่อเพื่ อเผยแพร่โครงการราชทัณฑ์ปันสุขฯ
๘.๑ การจัดท�ำวีดิทัศน์การสาธิต อสรจ. ผ่านหุ่นกระบอก ๘.๒ การจัดท�ำนิทาน จ�ำนวน ๕ เรื่อง

เรือนจ�ำกลางคลองไผ่ ได้มีการจัดท�ำวีดิทัศน์เกี่ยวกับอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) และ นิทานการ์ตูนโครงการราชทัณฑ์ปันสุขฯ เป็นนิทานจากฝีมือผู้ต้องขังในพื้นที่โครงการ


ความรู้ในการป้องกันโรคต่างๆ โดยแสดงผ่านหุ่นกระบอกที่มาจากการแสดงและตัดเย็บเสื้อผ้า ราชทัณฑ์ปันสุข ท�ำความ ดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ที่บอกเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับโครงการ
หุ่นกระบอกของผู้ต้องขัง มีทั้งหมด จ�ำนวน ๑๙ เรื่อง ประกอบด้วยเรื่อง ราชทัณฑ์ปนั สุขฯ ตามโครงการเรือ่ งเล่า “ราชทัณฑ์ปนั สุข ในมุมมองของฉัน” และคณะกรรมการ
(๑) การแสดงละครหุ่นรับเสด็จ (๑๑) โรคเอดส์ โครงการฯ ได้คัดเลือกมาทั้งหมด จ�ำนวน ๕ เรื่อง เพื่อจัดพิมพ์และเผยแพร่ไปยังเรือนจ�ำ/
(๒) การป้องกันปัญหาสุขภาพจิต (๑๒) โรคกระเพาะอาหาร ทัณฑสถานและห้องสมุดในโรงเรียนต่างๆ
(๓) แมลงก้นกระดก (๑๓) ปัญหาระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
(๔) การปรับตัวและความคิดของผู้ต้องขังใหม่ (๑๔) โรคริดสีดวงทวารหนัก
(๕) โรคเบาหวาน (๑๕) โรคหิด
(๖) การระวังท้องเสียจากอาหารเก่า (๑๖) โรคตาแดง
(๗) โรควัณโรค (๑๗) โรคฝี
(๘) การจัดการความเครียด (๑๘) โรคระบบทางเดินหายใจ
(๙) การอยู่ร่วมกับผู้ต้องขังจิตเวช (๑๙) โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)
(๑๐) การดูแลสุขภาพฟันและเหงือก

110 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 111


๙. อื่นๆ
บทเพลง - ด้วยส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ ในพระบาทสมเด็จ
พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี และ
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี
กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา ผู้ต้องขังในโครงการ
ราชทัณฑ์ปันสุขฯ ได้ร่วมกันแต่งเนื้อร้องท�ำนอง เพื่อเทิดพระเกียรติ
เพลง น�้ำพระทัย... ราชทัณฑ์ปันสุขฯ
ที่พระราชทานความเมตตาแก่ผู้ต้องขังในเรือนจ�ำภายใต้โครงการ
ราชทัณฑ์ปันสุขฯ
โอ้ น�้ำพระทัย สุดกว้างไกล เหลือคณา ทรงห่วงชาวประชา
เพลง ถวายพระพร... โครงการพ่ อ
ทุกหย่อมหญ้า ไม่ว่าชนชั้นใด
แม้นว่าถิ่นนั้น จะกันดารหรือว่าแสนไกล พระองค์ทรงห่วงใย
... ขอเดชะใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท ข้าพระองค์ในนามทวยราษฎร์ ปวงชาวไทยทั้งผองทั้งมวล
ชาวราชทัณฑ์ขอรวมดวงใจ ทั้งเจ้าหน้าที่ผู้ต้องขัง ซึ้งน�้ำพระทัย พระองค์ทรงเสียสละ เสด็จไปเยี่ยมเยียนทุกถิ่น ทุ่มเทชีวิน เพื่ อทุกท้องถิ่นของไทย
ขอก้มกราบร้อยรวมดวงใจ ถวายพรชัย ทรงพระเจริญ ให้ค�ำแนะน�ำประชากรนั้นด้วยหัวใจ เข้าถึงผองไทย สาธารณสุขเอย
(*) จะด�ำเนินตามโครงการ พระราชด�ำรัส ราชทัณฑ์ปันสุขด้วยรัก ยังทรงพระราชทาน หน่วยการแพทย์ของไทย ทุกปัญหา โรคภัย
ด้วยหัวใจร่วมท�ำความ ดี เพื่ อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ส่งไปพยาบาลทุกแดน
ขอน้อมถวายด้วยใจภักดีซึ้งในน�้ำพระทัยล้นปรี่ ไม่มีชนชั้น ไม่มีแม้เขตแม้แคว้น น�้ำพระทัย สุดแสนเปี่ ยมล้น เหนือเศียรชาวไทย
ขอสดุดีองค์พระราชาราชทัณฑ์ปันสุข และมิเคยมองข้าม พสกนิกรในแดนไกล ท่านทรงใช้ หัวใจดูแล ทุกข์สุขผู้คน
พ่ อทรงห่วงใย เรื่องสุขภาพร่างกายจิตใจ มิเคยเหนื่อยล้า อยากให้ปวงไทยทุกชน สุขกายใจมากล้น ได้รับการรักษาเท่าเทียม
พี่ น้องชาวไทยลูกราชทัณฑ์ อยู่ดีกินดีทั้งเรื่องการรักษาพยาบาล **ทรงมีพระเมตตา เหนือสิ่งมีค่าใดใด น�้ำพระทัยยิ่งใหญ่ หาใดมาเปรียบไม่มี
อยู่ในพื้ นฐานอย่างเท่าเทียมกัน ธ ทรงเล็งเห็น ทุกข์เข็ญของไทยที่มี ชั่วนาตาปี ไม่มีทอดทิ้งผองไทย
ทุกๆ คนนั้น พ่ อทรงห่วงใย (ซ�้ำ *) ... (ซ�้ำ**)
ร่วมท�ำความ ดี สดุดีกันทั้งผองไทย ...
แต่งโดย
ผู้ต้องขังเรือนจ�ำจังหวัดอ่างทอง
แต่งโดย
ผู้ต้องขังเรือนจ�ำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์

112 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 113


ด้านสาธารณสุข ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
+ ขึ้นทะเบียนหน่วยปฐมภูมิ/ดูแลสิทธิประโยชน์
การรักษาพยาบาล/การจัดสรรงบประมาณ
กระทรวงสาธารณสุ ข ได้ ด� ำ เนิ น การตาม หน่วยบริการปฐมภูมใิ นเครือข่ายของหน่วยบริการ
แนวทางโครงการพระราชด� ำ ริ ฯ เพื่ อ สนอง ประจ� ำ หรื อ โรงพยาบาลในพื้ น ที่ ค รบทั้ ง หมด
พระบรมราโชบายมาอย่างต่อเนื่อง โดยร่วมกับ ๑๔๒ แห่ง และมีหน่วยงานในสังกัดกระทรวง
ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ท�ำการ สาธารณสุ ข และโรงพยาบาลเอกชนได้ ร ่ ว ม
ขึ้นทะเบียนสถานพยาบาลในเรือนจ�ำ ให้เป็น ด�ำเนินการดังกล่าวด้วย ุน

ั ส

สน
กรมสุขภาพจิต
+ คัดกรองและให้การดูแล
รักษาด้านสุขภาพจิต
+ พั ฒนาฐานข้อมูล/ระบบรับ-ส่งต่อ
ระบบสาธารณสุข + รับปรึกษาทางไกลบริการสุขภาพจิต

ส�ำหรับ กรมอนามัย
บริการผู้ต้องขัง + จัดท�ำ/ผลิต สื่อการสอน
พระราชทานส�ำหรับ อสจร.
ในเรือนจ�ำ และผู้ต้องขัง
+ วางระบบบริการทันตสุขภาพ
+ พั ฒนาแนวทางการจัดการ
ด้านสุขาภิบาลอาหารอาหาร
ส�ำนักงานปลัด และน�้ำ และอนามัยสิง
่ แวดล้อม
กระทรวงสาธารณสุข
+ พั ฒนาระบบบริการ
สาธารณสุขในเรือนจ�ำ
+ จัดบริการตามสิทธิประโยชน์
ของผู้ต้องขัง
กรมการแพทย์
+ พั ฒนาเครือข่ายบริการ
+ สร้างระบบรับ-ส่งต่อผู้ป่วย
ติดตาม ก�ำกับ ประเมินผล
+ ทางด่วนฉุกเฉิน : โรคหลอดเลือดสมอง
และโรคเส้นเลือดหัวใจตีบ
รับปรึกษาโรคเฉพาะทาง ทางไกล กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
+ เปิดบริการคลินกิ เฉพาะทาง ในทัณฑสถาน- กรมควบคุมโรค + จัดท�ำคู่มือครูฝึก อสรจ.
โรงพยาบาลราชทัณฑ์และสถานพยาบาล + คัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกันและ + จัดท�ำหลักสูตร อสรจ.
ในเรือนจ�ำ โดยแพทย์จิตอาสา ควบคุมโรคในเรือนจ�ำ เช่น วัณโรค + จัดท�ำชุดสื่อการสอน อสรจ.
เอดส์ ไวรัสตับอักเสบ ไข้หวัดใหญ่ หัด + ฝึกอบรม อสรจ. โดยภาคีเครือข่าย

แผนภูมิที่ ๑๐ บทบาทภารกิจของหน่วยงานภายใต้สังกัดกระทรวงสาธารณสุขทีเ่ กีย


่ วข้องในโครงการราชทัณฑ์ปน
ั สุขฯ

114 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 115


อยู่ในความดูแล (แห่ง)
รพ. แม่ข่าย ในสังกัด สธ.
เขต รวม
(แห่ง) เรือนจ�ำ ทัณฑสถาน สถานกักขัง

๑ ๑๓ ๑๑ ๒ ๑ ๑๔

เรือนจ�ำ ๒ ๘ ๙ ๑ ๐ ๑๐
มี รพ.แม่ข่าย
ทัณฑสถาน ๓ ๖ ๕ ๑ ๐ ๖
ในสังกัด สธ.
สถานกักขัง
จ�ำนวน ๑๐๙ แห่ง ๔ ๑๐ ๑๐ ๕ ๑ ๑๖

จ�ำนวน ๑๓๒ แห่ง ๕ ๙ ๑๐ ๐ ๑ ๑๑

๖ ๑๓ ๑๐ ๔ ๑ ๑๕

๗ ๕ ๕ ๑ ๑ ๗

๘ ๘ ๘ ๐ ๐ ๘

๙ ๙ ๙ ๒ ๐ ๑๑

๑๐ ๖ ๖ ๐ ๐ ๖

๑๑ ๑๓ ๑๓ ๑ ๑ ๑๕
เรือนจ�ำ
รพ.แม่ข่าย ๑๒ ๙ ๑๐ ๓ ๐ ๑๓
ทัณฑสถาน
(สธ.+สังกัดอื่น) รวม ๑๐๙ ๑๐๖ ๒๐ ๖ ๑๓๒
สถานกักขัง
รวม ๑๑๒ แห่ง
รวม ๑๔๓ แห่ง
อยู่ในความดูแล (แห่ง)
รพ.แม่ข่าย นอกสังกัด สธ. รวม

เรือนจ�ำ เรือนจ�ำ ทัณฑสถาน สถานกักขัง


รพ.แม่ข่าย
ทัณฑสถาน ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ ๔ ๔ ๐ ๘
นอกสังกัด สธ.
สถานกักขัง
จ�ำนวน ๓ แห่ง
รพ. เดอะโกลเดนเกท ๑ ๐ ๐ ๑

จ�ำนวน ๑๑ แห่ง สถานพยาบาลเรือนจ�ำกลางบางขวาง ๒ ๐ ๐ ๒

รวม ๗ ๔ ๐ ๑๑

แผนภู มิ ที่ ๑๑ จ� ำ นวนโรงพยาบาลแม่ ข่ า ยในสั ง กั ด กระทรวงสาธารณสุ ข ที่ รั บ ผิ ด ชอบดู แ ลสุ ข ภาพผู้ ต้ อ งขั ง
ในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน

116 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 117


นอกจากนี้ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปฏิบัติการให้สอดคล้องกับนโยบายและเร่งรัดให้

เรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน (แห่ง)
โดยกองบริหารการสาธารณสุข ได้จัดท�ำหนังสือ มีการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบบริการส�ำหรับ ส�ำนักงานปลัด
รายเขตสุขภาพ
๒๐
๑๘
ข้อสั่งการให้โรงพยาบาลแม่ข่ายด�ำเนินการตาม ผู้ต้องขังในเรือนจ�ำตามแนวทางของโครงการ กระทรวงสาธารณสุข ๑๕ ๑๕ ๑๕
๑๔
๑๓
แนวทาง และขอความร่วมมือกับหน่วยงานที่ ราชทัณฑ์ปันสุข ท�ำความ ดี เพื่อชาติ ศาสน์ ประสาน
๑๑
๑๒
สนับสนุน ๑๐
เกีย่ วข้อง ให้ดำ� เนินการแต่งตัง้ คณะกรรมการและ กษัตริย์ ระยะที่ ๑ สปสช. การปฏิบัติงาน เขต ๘ ๘
๑๐

สุขภาพ ๖


คณะท� ำ งานในระดั บ จั ง หวั ด เพื่ อ จั ด ท� ำ แผน ๕

๑ ๒

เขต ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓
ส�ำนักงาน
คณะกรรมการ สาธารณสุขจังหวัด หน่วยบริการ
พั ฒนาระบบ การจัดบริการ
สาธารณสุข รพศ./รพท. ๖ ด้าน
จัดท�ำมาตรฐาน/ ข้อสั่งการ เรือนจ�ำ รพช./รพ.สต จัดบริการ สถานพยาบาล จังหวัด
ตามสิทธิ ในเรือนจ�ำ
แนวทาง รพศ./รพท./รพช. ระดับจังหวัด
แผน
ให้แก่
ผู้ต้องขัง

การด�ำเนินการ และเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง บูรณาการร่วม • งานบริการสุขภาพ


• การเข้าถึงยาและ
รพ.สังกัด รพ.สังกัด รพ.สังกัด รพ. เวชภัณฑ์ เขตสุขภาพ
İĮ
สตช. ๓ เหล่าทัพ มหาวิทยาลัย เอกชน • ภาวะผู้น�ำและ
ธรรมาภิบาล
(: $!/

• ก�ำลังคนด้านสุขภาพ
ภาคีเครือข่าย • ระบบสารสนเทศ
ที่ร่วมจัดบริการ ด้านสุขภาพ
• กลไกการคลัง
• รพ.แม่ข่าย/รพศ./รพท. ด้านสุขภาพ
แพทย์/
รพช./รพ.สต.
พยาบาล
• รพ.สังกัด สตช.
• รพ.สังกัด ๓ เหล่าทัพ
สหวิชาชีพ
• รพ.เอกชน
ทีมจิตอาสา สถานพยาบาล
• รพ.สังกัดมหาวิทยาลัย
ในเรือนจ�ำ/
ครุภัณฑ์ทางการแพทย์
พระราชทาน
ทัณฑสถาน/
สถานกักขัง
• เรือนจ�ำน�ำร่อง ๒๔ แห่ง ๑๔๒ + รพ. ๑ แห่ง
(๒๖ รายการ) (น�ำร่อง ๒๔ แห่ง)
• รพ.สังกัด สป.สธ. ๑๒ แห่ง
(๒ รายการ) มั่นคงสูงสุด
• ทัณฑสถาน รพ.ราชทัณฑ์ ๑ แห่ง ๕ แห่ง
ก�ำหนดโทษสูง ทสญ.
(๓๑ รายการ)
๑๒ แห่ง ๗ แห่ง

แผนภูมิที่ ๑๒ นโยบายและการขับเคลือ ่ นการพั ฒนาระบบบริการส�ำหรับผู้ต้องขังในเรือนจ�ำ ตามแนวทางของโครงการ


ราชทัณฑ์ปน ั สุข ท�ำความ ดี เพื่ อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ระยะที่ ๑

118 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 119


องค์ ป ระกอบส� ำ คั ญ ของการขั บ เคลื่ อ นการพั ฒนา
ระบบบริการส�ำหรับผู้ต้องขังในเรือนจ�ำ
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดยกองบริหาร
การสาธารณสุ ข ได้ ก� ำ หนดแนวทางการจั ด บริ ก าร
่ ำ� เป็นพื้ นฐานส�ำหรับผูต
ทีจ ้ อ
้ งขัง ให้โรงพยาบาลแม่ขา่ ย
ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขต้องสามารถจัดบริการ
ให้ครบ ๖ ด้าน ดังต่อไปนี้

งานบริการสุขภาพ
มีเครือข่ายการให้บริการระดับจังหวัดจนถึงระดับชุมชน
จัดระบบการให้บริการ งานป้องกัน งานรักษา งานฟื้นฟู
สภาพ งานสร้างเสริมสุขภาพ และบริการด้านการแพทย์
ฉุกเฉินทัง้ ในและนอกเวลาราชการ โดยปรับให้เข้ากับบริบท
การเข้าถึงยาและเวชภัณฑ์ท่จ
ี �ำเป็น
ของสถานพยาบาลเรือนจ�ำ และข้อจ�ำกัดของการปฏิบตั งิ าน
กลไกในระบบสุขภาพทีเ่ อือ้ ให้การเข้าถึงยา วัคซีน และเทคโนโลยี
ภายในเรือนจ�ำ
ที่จ�ำเป็น ซึ่งต้องมีคุณภาพและความคุ้มค่ากับราคา
การจั ด การคลั ง ยาและเวชภั ณ ฑ์ ใ ห้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
เน้นมาตรการ “การใช้ยาอย่างเหมาะสม”

ก�ำลังคนด้านสุขภาพ ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ กลไกการคลังด้านสุขภาพ


พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ แรงจูงใจ และ สถานพยาบาลในเรื อ นจ� ำ ที่ ไ ด้ การคลังด้านสุขภาพเป็นรากฐาน
รับผิดชอบงานให้บริการสุขภาพ และมีจำ� นวนบุคลากร ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิ ส�ำคัญที่จะหล่อเลี้ยงระบบสุขภาพด้วย
ทีเ่ หมาะสม การขาดแคลนบุคลากรด้านสุขภาพ ทัง้ ใน และเข้าร่วมอยูใ่ น CUP ของโรงพยาบาล กลไกการจ่าย เก็บสะสม หรือแบ่งปันไป
ส่วนของเรือนจ�ำ และโรงพยาบาลในพื้นที่ จ�ำเป็น แม่ขา่ ยแล้ว จะติดตัง้ ระบบโปรแกรมข้อมูล ให้เกิดงานบริการที่ยังขาดไปในระบบ
ต้องหาแนวทางจัดสรรก�ำลังคนเพื่อทดแทน ด้ า นสุ ข ภาพกั บ โรงพยาบาลแม่ ข ่ า ย น�ำไปซือ้ ยาและเวชภัณฑ์ ให้ครอบคลุม
เพื่ อ เชื่ อ มโยงข้ อ มู ล ทางเทคโนโลยี งานบริการสุขภาพที่จ�ำเป็น
ระหว่างส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพ ภาวะผู้น�ำและธรรมาภิบาล

โรงพยาบาล เรือนจ�ำ และส�ำนักพัฒนา ยุทธศาสตร์การสร้างระบบสุขภาพทีค่ าดหวัง


ระบบทะเบี ย น กระทรวงมหาดไทย ไว้ให้ส�ำเร็จ จ�ำเป็นอย่างยิ่ง ที่ผู้น�ำองค์กรต้อง
รวมถึงการพัฒนาระบบการตรวจรักษา ใส่ใจ ต้องก�ำกับ ดูแล และควบคุมรับผิดชอบใน
ผู้ต้องขังด้วยการแพทย์ทางไกล (Tele- การตรวจสอบคุณภาพและประเมินผลการจัด
medicine) บริการด้านสาธารณสุขในเรือนจ�ำ ซึ่งจะต้องมี
การจัดตั้งคณะกรรมการ เพื่อการพัฒนาระบบ
บริการสาธารณสุขส�ำหรับผู้ต้องขัง

120 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 121


นโยบายทีก ่ ระทรวงสาธารณสุข ตารางที่ ๕ รายงานความครอบคลุมการลงทะเบียนสิทธิผู้ต้องขัง

มอบให้กับโรงพยาบาลทั่วประเทศ โครงการราชทัณฑ์ปันสุข ระยะที่ ๑ (๒๔ เรือนจ�ำ) เดือนตุลาคม ๒๕๖๓

ด�ำเนินงานภายใต้ จ�ำนวนข้อมูล (คน)

โครงการราชทัณฑ์ปันสุขฯ สิทธิ UC ตรง CUP สิทธิ UC


สิทธิ UC นอก CUP รวม
ข้อที่ ชื่อเรือนจ�ำ รพ.แม่ข่าย (CUP) >๓๐ วัน
นอก รวมสิทธิ สิทธิ กองทุน (คน)
CUP UC ว่าง อื่น
จ�ำนวน % จ�ำนวน % <=วัน๓๐

๑ เรือนจ�ำกลางเชียงใหม่ รพ.แม่แตง ๕,๒๕๖ ๙๓.๐๓ ๓๙๔ ๖.๙๗ ๑๙๑ ๕,๘๔๑ ๕ ๔๙๐ ๖,๓๓๖

การจัดบริการที่จ�ำเป็นพื้ นฐาน ๒

ทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่
เรือนจ�ำกลางพิษณุโลก
รพ.นครพิงค์
รพ.วังทอง
๑,๕๔๕
๔,๓๓๓
๘๕.๔๕ ๒๖๓ ๑๔.๕๕
๙๖.๕๙ ๑๕๓ ๓.๔๑
๕๔
๒๒
๑,๘๖๒
๔,๕๐๘

-
๑๒๖ ๑,๙๙๑
๘๓ ๔,๕๙๑
ส�ำหรับผู้ต้องขัง ๔ เรือนจ�ำจังหวัดพิษณุโลก รพ.วังทอง ๒,๕๙๗ ๘๗.๓๕ ๓๗๖ ๑๒.๖๕ ๗๒ ๓,๐๔๕ ๓ ๑๐๒ ๓,๑๕๐
๕ ทัณฑสถานพิษณุโลก รพ.วังทอง ๘๙๑ ๙๘.๘๙ ๑๐ ๑.๑๑ ๑๔ ๙๑๕ ๑ ๓๒ ๙๔๘
๑.๑ การตรวจสอบสิทธิ UC นอก CUP รับตัวเข้า ๖ เรือนจ�ำกลางบางขวาง สถานพยาบาล รจก.บางขวาง ๔,๘๗๒ ๙๖.๔๐ ๑๘๒ ๓.๖๐ ๑๙ ๕,๐๗๓ ๑๙ ๑๐๕ ๕,๑๙๗
ส� ำ นั ก ง า น ห ลั ก ป ร ะ กั น ๗ ทัณฑสถานบ�ำบัดพิเศษปทุมธานี รพ.ธัญบุรี ๒,๓๒๓ ๙๘.๒๗ ๔๑ ๑.๗๓ ๗๓ ๒,๔๓๗ ๙ ๓๗ ๒,๔๘๓
สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ ไ ด้ จั ด ระบบ
เรือนจ�ำมากกว่า ๓๐ วัน
๘ เรือนจ�ำกลางนครปฐม รพ.นครปฐม ๕,๓๗๗ ๙๘.๙๓ ๕๘ ๑.๐๗ ๗๗ ๕,๕๑๒ ๗ ๑๔๙ ๕,๖๖๘
การลงทะเบียนสิทธิผต ้ งขังเพื่ อ
ู้ อ หมายถึง ผู้ต้องขังที่เรือนจ�ำ
๙ เรือนจ�ำกลางเขาบิน รพ.ราชบุรี ๒,๒๔๐ ๙๕.๙๓ ๙๕ ๔.๐๗ ๑ ๒,๓๓๖ ๓ ๒๙ ๒,๓๖๘
เ ข้ า ถึ ง บ ริ ก า ร ใ น ร ะ บ บ ห ลั ก UC นอกเขต หมายถึง ผู้ต้องขัง ต้องจัดการลงทะเบียนสิทธิ
ประกันสุขภาพแห่งชาติ ก�ำหนด ๑๐ เรือนจ�ำกลางชลบุรี รพ.บ้านบึง ๖,๐๘๕ ๙๙.๔๑ ๓๖ ๐.๕๙ ๕๐ ๖,๑๗๑ ๙ ๑๙๘ ๖,๓๗๘
ทีม่ สี ทิ ธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ให้ตรงกับโรงพยาบาลแม่ขา่ ย ๑๑ ทัณฑสถานหญิงชลบุรี คลินิกหมอครอบครัว รพศ.ชลบุรี ๘๓๔
ค�ำนิยาม ไว้ดังนี้ ๗๙.๘๑ ๒๑๑ ๒๐.๑๙ ๑๓ ๑,๐๕๘ ๙ ๓๘ ๑,๑๐๕
แต่ไปถูกคุมขังต่างพืน้ ที่ ลงทะเบียน หรื อ CUP เนื่ อ งจากเป็ น ๑๒ เรือนจ�ำกลางระยอง รพ.บ้านค่าย ๖,๗๒๒ ๙๘.๔๘ ๑๐๔ ๑.๕๒ ๖๕ ๖,๘๙๑ ๕ ๒๓๘ ๗,๑๓๔
สิ ท ธิ ไ ว้ ต ามภู มิ ล� ำ เนาเดิ ม เช่ น นักโทษเด็ดขาดแล้ว และเพือ่ ๑๓ เรือนจ�ำกลางสมุทรปราการ รพ.บางบ่อ ๔,๙๖๐ ๘๒.๖๐ ๑,๐๔๕ ๑๗.๔๐ ๑๕๔ ๖,๑๕๙ ๙๗ ๔๐๖ ๖,๖๖๒
มี สิ ท ธิ บั ต รทองโรงพยาบาล ให้ โ รงพยาบาลได้ รั บ งบ ๑๔ เรือนจ�ำกลางนครพนม รพ.นครพนม ๓,๗๘๓ ๙๕.๕๘ ๑๗๕ ๔.๔๒ ๔๕ ๔,๐๐๓ - ๕๒ ๔,๐๕๕
กองทุนอืน่ หมายถึง สิทธิประกัน
กันทรลักษณ์ แต่ถกู คุมขังทีจ่ งั หวัด ประมาณเหมาจ่ายค่ารักษา ๑๕ เรือนจ�ำกลางคลองไผ่ รพ.ปากช่องนานา ๔,๑๐๖ ๙๖.๗๙ ๑๓๖ ๓.๒๑ ๘๒ ๔,๓๒๔ ๑ ๕๗ ๔,๓๘๒
สุขภาพแห่งชาติ (ผู้ประกันตน
พระนครศรีอยุธยา พยาบาลตามความเป็นจริง ๑๖ เรือนจ�ำกลางนครราชสีมา รพ.เดอะโกลเดนเกท ๒,๒๖๖ ๘๔.๕๒ ๔๑๕ ๑๕.๔๘ ๙๘ ๒,๗๗๙ ๘ ๘๗ ๒,๘๗๔
คนพิการ), สิทธิสวัสดิการพนักงาน
๑๗ ทัณฑสถานนครราชสีมา รพ.สีคิ้ว ๑,๖๑๗ ๙๗.๙๔ ๓๔ ๒.๐๖ ๓ ๑,๖๕๔ ๑ ๒๙ ๑,๖๘๔
ส่วนท้องถิ่น, สิทธิข้าราชการ/ ๑๘ เรือนจ�ำกลางนครศรีธรรมราช รพ.มหาราชนครศรีธรรมราช ๖,๘๐๙ ๙๖.๔๒ ๒๕๓ ๓.๕๘ ๘๓ ๗,๑๔๕ - ๑๐๘ ๗,๒๕๓
สิทธิหน่วยงานรัฐ, สิทธิครูเอกชน, ๑๙ เรือนจ�ำกลางสุราษฎร์ธานี รพ.สุราษฎร์ธานี ๓,๒๓๑ ๙๔.๕๖ ๑๘๖ ๕.๔๔ ๕๕ ๓,๔๗๒ ๑ ๘๖ ๓,๕๕๙
สิทธิประกันสังคม, สิทธิประกัน CUP หมายถึ ง หน่ ว ยบริ ก าร UC นอก CUP รับตัวเข้า
๒๐ เรือนจ�ำกลางสงขลา รพ.สงขลา ๓,๙๓๙ ๙๘.๙๔ ๔๒ ๑.๐๖ ๓ ๓,๙๘๔ ๑ ๖๔ ๔,๐๔๙
สั ง คม กรณี ทุ พ พลภาพ และ ประจ�ำที่เป็นคู่สัญญารับเงินตรง เรือนจ�ำน้อยกว่า ๓๐ วัน ๒๑ ทัณฑสถานหญิงสงขลา รพ.สงขลา ๑,๑๐๘ ๙๗.๐๒ ๓๔ ๒.๙๘ ๒๐ ๑,๑๖๒ - ๒๖ ๑,๑๘๘
บุคคลผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ จาก สปสช. (รพช./รพท./รพศ./ หมายถึง เป็นผู้ต้องขังที่อยู่ ๒๒ เรือนจ�ำกลางคลองเปรม ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ ๕,๙๘๙ ๙๔.๒๓ ๓๖๗ ๕.๗๗ ๒๙ ๖,๓๘๕ ๕๕ ๑๔๓ ๖,๕๘๓
โรงพยาบาลเอกชน/โรงพยาบาล ระหว่างการพิจารณาคดีและ ๒๓ ทัณฑสถานหญิงกลาง ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ ๔,๐๔๓ ๙๗.๙๔ ๘๕ ๒.๐๖ ๓๔ ๔,๑๖๒ ๕๗ ๒๔๖ ๔,๔๖๕
มหาวิทยาลัย) ทีผ่ มู้ สี ทิ ธิหลักประกัน คดียงั ไม่สน้ิ สุด อาจมีการย้าย ๒๔ ทัณฑสถานหญิงธนบุรี ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ ๗๗๒ ๙๘.๖๐ ๑๑ ๑.๔๐ ๑๙ ๘๐๒ ๒๙ ๓๘ ๘๖๙
สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ ไ ด้ ล งทะเบี ย น เรือนจ�ำ หรืออื่นๆ จึงเป็น รวม ๘๕,๖๙๘ ๙๔.๗๙ ๔,๗๐๖ ๕.๒๑ ๑,๒๗๖ ๙๑,๖๘๐ ๓๒๓ ๒,๙๖๙ ๙๔,๙๗๒
สิทธิ UC หมายถึง ผู้ต้องขังที่มี เป็นหน่วยบริการประจ�ำ ข้อยกเว้นที่ยังไม่ต้องจัดการ สัดส่วนผู้ต้องขังแยกสิทธิการรักษาพยาบาล ๙๖.๕๓ ๐.๓๔ ๓.๑๓ ๑๐๐
สิทธิการรักษาพยาบาลในระบบ ลงทะเบี ย นย้ า ยสิ ท ธิ ม ายั ง ตรวจสอบสิทธิ ณ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๖๓
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ CUP ที่ตั้งเรือนจ�ำ หมายเหตุ กองทุนอื่น : สิทธิประกันสุขภาพแห่งชาติ(ผู้ประกันตนคนพิการ), สิทธิสวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น, สิทธิข้าราชการ/สิทธิหน่วยงานรัฐ,
สิทธิครูเอกชน, สิทธิประกันสังคม, สิทธิประกันสังคม กรณีทุพพลภาพ, บุคคลผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ

122 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 123


ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้จัดระบบการลงทะเบียนสิทธิผู้ต้องขังเพื่อเข้าถึง
บริการในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในเรือนจ�ำเป้าหมาย ๒๔ แห่ง ประจ�ำเดือน
ตุลาคม ๒๕๖๓ มีจ�ำนวนผู้ต้องขังรวมทั้งสิ้น ๙๔,๙๗๒ คน แยกเป็นสิทธิหลักประกันสุขภาพ
แห่งชาติหรือ UC จ�ำนวน ๙๑,๖๘๐ คน (ร้อยละ ๙๖.๕๓) สิทธิอื่นๆ จ�ำนวน ๒,๙๖๙ คน
(ร้อยละ ๓.๑๓) ผู้ต้องขังที่มีสิทธิ UC หรือสิทธิบัตรทอง จ�ำนวน ๙๔,๙๗๒ คน ได้รับ
การลงทะเบียน ให้ตรงกับหน่วยบริการหรือโรงพยาบาลแม่ข่ายหรือ CUP ที่มีเขตรับผิดชอบ ๒
เรือนจ�ำ จ�ำนวน ๘๕,๖๙๘ คน (ร้อยละ ๙๔.๗๙) อยู่ระหว่างการย้ายสิทธิให้ตรงกับ
หน่วยบริการ ซึ่งเป็นสิทธิ UC นอกพื้นที่ CUP และถูกคุมขัง >๓๐ วัน จ�ำนวน ๔,๗๐๖ คน ปัญหาสุขภาพในเรือนจ�ำ
(ร้อยละ ๕.๒๑) เป็นผู้ต้องขังถูกคุมขังไม่เกิน ๓๐ วัน จ�ำนวน ๑,๒๗๖ คน โดยผู้ต้องขัง • ขาดบุคลากรด้านการแพทย์
ที่ถูกคุมขังไม่เกิน ๓๐ วันเป็นกลุ่มที่ยังอยู่ระหว่างการพิจารณาคดี แสดงดังตารางข้างต้น - ภายในเรือนจ�ำ
- ภายนอกเรือนจ�ำ
• ขาดเครื่องมือและครุภัณฑ์ด้านการแพทย์
• การบริการด้านการแพทย์ ณ สถานพยาบาลในเรือนจ�ำและนอก
๑.๒ การจัดการบริการด้านการส่งเสริมป้องกันโรค เรือนจ�ำ ยังไม่ได้มาตรฐานตามสิทธิขั้นพื้นฐาน
• สิทธิการเข้าถึงหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
• การแพร่กระจายโรคติดต่อในเรือนจ�ำ

๑ ๓

วัตถุประสงค์ของโครงการราชทัณฑ์ปันสุขฯ แนวทางการแก้ปัญหาโรคติดต่อ
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณ • การคัดกรอง
พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม • การตรวจสุขภาพตามระยะเวลา
ให้ประกาศว่า โดยทีท่ ณ ั ฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์เป็นโรงพยาบาลแห่งเดียว • การแยกผู้ป่วยโรคติดต่อ
ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ต้องให้บริการแก่ผู้ต้องขัง ในกรณีเจ็บไข้ได้ป่วย • การปรับปรุงสภาพแวดล้อม
เป็นจ�ำนวนมาก ยังขาดแคลนบุคลากร เครื่องมือและครุภัณฑ์ทางการแพทย์ ด้านบุคลากร
และเวชภั ณ ฑ์ การดู แ ลสุ ข ภาพของผู ้ ต ้ อ งขั ง ถื อ เป็ น หน้ า ที่ ส� ำ คั ญ ของ • การผลิตอาสาสมัครสาธารณสุขในเรือนจ�ำ
กรมราชทัณฑ์ ในการทีจ่ ะให้ผปู้ ว่ ยเข้าถึงการรับรักษาพยาบาลอย่างเท่าเทียม
ตามหลักมนุษยธรรม ทั้งนี้ผู้ต้องขังเมื่อพ้นโทษจะมีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งกาย
และใจเพือ่ ออกมาสูส่ งั คมภายนอกและประกอบอาชีพสุจริตได้อย่างมีคณ ุ ภาพ แผนภูมิที่ ๑๓ กรอบแนวคิดแผนการด�ำเนินการของกรมควบคุมโรค

124 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 125


ด�ำเนินการคัดกรองวัณโรคด้วยการถ่ายภาพรังสีทรวงอก (Chest X-ray) ในผู้ต้องขัง การฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ให้กับผู้ต้องขัง และเจ้าหน้าที่
ตามเป้าหมายโครงการราชทัณฑ์ปันสุขฯ จ�ำนวนทั้งสิ้น ๑๐๓,๔๕๘ ราย (ร้อยละ ในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานเป้าหมายตามโครงการราชทัณฑ์ปนั สุข ท�ำความ ดี
๙๙.๖๗) พบว่า ผู้ต้องขังแรกรับ ได้รับการคัดกรองฯ จ�ำนวนทั้งสิ้น ๗,๖๑๖ ราย เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ในช่วงเดือนมีนาคมถึงเมษายน ๒๕๖๓ จ�ำนวน
พบผลผิดปกติ จ�ำนวน ๓๕๔ ราย และผู้ต้องขังเก่าได้รับการคัดกรองฯ จ�ำนวนทั้งสิ้น วัคซีนตามเป้าหมายส�ำหรับผู้ต้องขัง จ�ำนวน ๖๐,๑๔๗ โด๊ส และเจ้าหน้าที่
๑๐๓,๔๕๘ ราย พบผลผิดปกติ จ�ำนวน ๔,๗๖๙ ราย โดยพบว่ามีผปู้ ว่ ยวัณโรค จ�ำนวน จ�ำนวน ๔,๑๖๖ โด๊ส (รวมกับเจ้าหน้าที่ในเรือนจ�ำที่ไม่ได้อยู่ในโครงการ
ทั้งสิ้น ๔๙๙ คน ราชทัณฑ์ปันสุขฯ) เป็นจ�ำนวนทั้งสิ้น ๑๑,๖๒๒ โด๊ส

ผลการด�ำเนินงานคัดกรอง HIV, HCV และ Syphilis ในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานเป้าหมาย


ระยะที่ ๑ จ�ำนวน ๒๕ แห่ง (ข้อมูล ณ วันที่ ๑๕ ก.ค. ๖๓) จ�ำนวนทั้งสิ้น ๑๐๓,๓๕๕
ราย พบว่า
สนับสนุนวัคซีนรวมป้องกันโรคหัด-หัดเยอรมัน ไปยัง
คัดกรอง HIV จ�ำนวนทั้งสิ้น ๒๓,๑๘๓ ราย พบ HIV+ จ�ำนวน ๒๐๔ ราย
โรงพยาบาลในพื้นที่ที่รับผิดชอบระหว่างวันที่ ๒๕ มีนาคม
คัดกรอง HCV จ�ำนวนทั้งสิ้น ๑๕,๒๐๖ ราย พบ HCV+ จ�ำนวน ๒๑๕ ราย
ถึง ๑ เมษายน ๒๕๖๓ โดยมีผลการด�ำเนินงานในเรือนจ�ำ/
คัดกรอง Syphilis จ�ำนวนทั้งสิ้น ๑๕,๒๐๖ ราย พบ Syphilis+ จ�ำนวน ๒๘๖ ราย
ทัณฑสถานเป้าหมายระยะที่ ๑ จ�ำนวน ๒๕ แห่ง กองโรค
ป้องกันด้วยวัคซีนได้รับรายงานแล้วจ�ำนวน ๑๐ แห่ง พบว่า
ผูต้ อ้ งขังได้รบั วัคซีน จ�ำนวน ๒๖,๑๔๗ ราย จากเป้าหมาย
จ�ำนวน ๒๗,๐๖๕ ราย คิดเป็นร้อยละ ๙๖.๖๑ และ
เจ้าหน้าที่ได้รับวัคซีน จ�ำนวน ๓๘๕ ราย จาก
เป้าหมาย จ�ำนวน ๘๓๗ ราย คิดเป็นร้อยละ
การจัดกิจกรรมรณรงค์
๔๖.๐๐ รวมผู้ที่ได้รับวัคซีนทั้งสิ้น
คัดกรองโรคติดต่อผู้ต้องขัง จ�ำนวน ๒๖,๕๓๒ ราย จากเป้าหมาย
โดยผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุข
จ� ำ นวน ๒๗,๙๐๒ ราย
คิดเป็นร้อยละ ๙๕.๐๙

126 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 127


การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.)
ผลงานกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ร่ ว มจั ด ท� ำ หลั ก สู ต รอาสาสมั ค รสาธารณสุ ข เรื อ นจ� ำ (อสรจ.) ในโครงการราชทัณฑ์ปน ั สุข
รายวิชา “การเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุม โรคติดต่อและภัยสุขภาพ ท�ำความ ดี เพื่ อชาติ ศาสน์ กษัตริย์

ที่เป็นปัญหาส�ำคัญ”
สนับสนุนการอบรมครูฝึกอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.)
(ครู ก.) ด้านการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค
ร่วมฝึกอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) กับภาคีเครือข่าย
(กรมวิชาการระดับเขต/สสจ./เรือนจ�ำ)

่ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ชุดสือ
ในโครงการราชทัณฑ์ปน ั สุข
ท�ำความ ดี เพื่ อชาติ ศาสน์ กษัตริย์

การอบรม อสรจ.

การพั ฒนาครูฝึก
อสรจ. (ครู ก.)

่ การสอน/ภาพพลิก/วิดีโอ/บทละคร
สือ
ความรู้สุขภาพ โดยกรมอนามัย การวางระบบบริการทันตสุขภาพ
ร่วมกับ GMM แกรมมี่ ส่งเสริมผู้ต้องขังดูแลสุขภาพช่องปาก

128 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 129


การจัดกิจกรรมรณรงค์สร้างเสริมสุขภาพช่องปาก
โดยกรมอนามัย มีผลการด�ำเนินงาน ดังนี้
เรือนจ�ำ/ทัณฑสถานที่มีการจัดกิจกรรมทั้งสิ้นจ�ำนวน ๙๐ แห่ง
การตรวจเยีย่ มด้านสุขาภิบาล
สถานกักขัง จ�ำนวน ๑ แห่ง สถานพินิจฯ จ�ำนวน ๑ แห่ง อาหารในเรือนจ�ำ โดยผู้บริหาร
และศูนย์ฝึกและอบรมฯ จ�ำนวน ๑ แห่ง กระทรวงสาธารณสุข

ผู้มารับบริการรักษาทางทันตกรรม จ�ำนวน ๑๓,๕๘๐ ราย


ผู้มารับบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก จ�ำนวน ๙,๘๕๙ ราย
กิจกรรมทันตกรรม
ส�ำหรับผู้ต้องขัง

การพัฒนาศักยภาพ แพทย์ พยาบาลของทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ โดยกรมการแพทย์


ให้สามารถดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเฉพาะทางที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ได้อย่าง
ต่อเนื่อง โดยอบรมหลักสูตรการกู้ชีพแบบองค์รวม CLS (Comprehensive Live
การจัดกิจกรรมด้านอนามัยและสิ่งแวดล้อม ตรวจเยี่ยมด้านอาหารปลอดภัย Support) ส�ำหรับแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป และแพทย์ใช้ทุน
ณ เรือนจ�ำกลางเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เรือนจ�ำกลางเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี รุ่นที่ ๑ ในวันที่ ๒๗ - ๒๙ มกราคม ๒๕๖๓
เรือนจ�ำกลางเขาบิน จังหวัดราชบุรี ทัณฑสถานหญิงกลาง เรือนจ�ำกลางคลองเปรม รุ่นที่ ๒ ในวันที่ ๑๙ - ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
กรุงเทพมหานคร และสนับสนุนชุดทดสอบความปลอดภัยในอาหาร (ชุดทดสอบสาร การดูแลด้านสุขภาพจิต โดยกรมสุขภาพจิต ได้ร่วมพัฒนาและเป็นวิทยากรหลักสูตร
บอแรกซ์ สารฟอกขาว สารกันรา สารฟอร์มาลิน และสารเคมีป้องกันก�ำจัดศัตรูพืช) อบรมอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) วิชาการดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและ
จัดท�ำคู่มือแนวทางการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาลอาหารและน�้ำ จิตเวชให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) รวมทั้งจัดท�ำท�ำเนียบวิทยากร
ในเรือนจ�ำ ของบุคลากรในสังกัดกรมสุขภาพจิตครอบคลุมทั้ง ๑๓ บริการสุขภาพ
จัดท�ำค�ำแนะน�ำเรือ่ ง การจัดการด้านอนามัยสิง่ แวดล้อมส�ำหรับเรือนจ�ำในสถานการณ์
การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)
จัด Operation pack kit เพื่อสาธิตการตรวจป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(COVID-๑๙) ให้กับเรือนจ�ำ ๑๔๒ แห่ง
จัดท�ำและส่งมอบคลิปวิดโี อ เรือ่ ง หลักสูตรการสุขาภิบาลอาหารส�ำหรับผูส้ มั ผัสอาหาร
ที่ปฏิบัติงานในเรือนจ�ำ
ผลิตสื่อ ๒ เรื่อง ได้แก่ ๒๕ เมนูชูสุขภาพลดหวานมันเค็ม และสุขภาพดีเริ่มที่อาหาร
ผลการด�ำเนินงาน
ลดหวานมันเค็ม เติมเต็มผักผลไม้ พั ฒนาหลักสูตร อสรจ. ปี ๒๕๖๓

130 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 131


๑.๓ การให้บริการตรวจรักษา และการฟื้ นฟู สภาพ
ภาพแพทย์ออกตรวจรักษาแผนกผู้ป่วยนอก (OPD)
กรมการแพทย์ให้การสนับสนุนทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ ในการตรวจวินิจฉัยและรักษา ที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์
โรคเฉพาะทางให้กับผู้ต้องขังของทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ และ ๗ เรือนจ�ำเครือข่าย
๑ เยี่ ย มทั ณ ฑสถานโรงพยาบาลราชทั ณ ฑ์ ประสานความต้ อ งการ สาขาศัลยกรรมกระดูกและข้อ

การสนับสนุนฯ
๒ เปิดคลินกิ ตรวจรักษา และผ่าตัด โรคเฉพาะทางทีท่ ณั ฑสถานโรงพยาบาล-
ราชทัณฑ์ โดยแพทย์จิตอาสากรมการแพทย์ เริ่มออกตรวจ OPD และ
รับปรึกษาทางไกล (Teleconference) เดือน มีนาคม – กันยายน ๒๕๖๓
มีผู้ต้องขังเข้ารับบริการตรวจรักษาจ�ำนวนทั้งสิ้น ๔๙๒ ราย โดยทั้งนี้
ได้มีการผ่าตัดท�ำผ่าตัด/หัตถการที่ ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์: สาขาศัลยกรรมทั่วไป
Tracheostomy จ�ำนวน ๑ ราย, Excision จ�ำนวน ๒ ราย, FNA
จ�ำนวน ๔ ราย, I&D จ�ำนวน ๓ ราย, skin Bx. จ�ำนวน ๑ ราย, U/S, CT
abdomen) Refer ไปผ่าตัดที่สถาบันประสาทวิทยา Craniotomy
จ�ำนวน ๑ ราย, Craniectomy จ�ำนวน ๑ ราย, Balloon embolization
จ�ำนวน ๑ ราย นอกจากนี้ กรมการแพทย์ได้สนับสนุนแพทย์เฉพาะทาง
จิตอาสา ออกตรวจรักษาแผนกผู้ป่วยนอก (OPD) และให้การปรึกษา
การรักษาผ่านระบบ Tele-
medicine แก่ทัณฑสถาน
โรงพยาบาลราชทั ณ ฑ์
เดื อ นมี น าคม-กั น ยายน สาขาโสต ศอ นาสิก
พ.ศ.๒๕๖๓

ผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุขเข้า
่ มชมและรับฟังปัญหาของ
เยีย
ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์

132 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 133


ภาพแพทย์ออกตรวจรักษาแผนกผู้ป่วยนอก (OPD)
ที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์

สาขาสูตินรีเวช สาขาประสาทวิทยา สาขาจิตเวช

สาขาศัลยกรรมทางเดินปัสสาวะ

สาขาอายุรกรรมโรคไต

สาขาโรคผิวหนัง

134 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 135


รับปรึกษาทางไกลผ่านระบบ Telemedicine

การให้ค�ำปรึกษาด้านการรักษาผู้ป่วยแก่ทีมแพทย์ของทัณฑสถานโรงพยาบาล กรมสุขภาพจิต ได้ด�ำเนินการพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชส�ำหรับผู้ต้องขังใน


ราชทัณฑ์ ผ่านระบบการปรึกษาทางไกล (Telemedicine) โดยทีมแพทย์เฉพาะทาง เรือนจ�ำและทัณฑสถาน ดังนี้
จิตอาสา กรมการแพทย์ ช่วงสถานการณ์ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ๑ จัดท�ำแนวทางการให้บริการสุขภาพจิตและจิตเวชส�ำหรับผู้ต้องขังในเรือนจ�ำและทัณฑสถาน
(COVID-๑๙) เนื้อหาประกอบด้วย การให้บริการสุขภาพจิตและจิตเวชส�ำหรับผู้ต้องขังในเรือนจ�ำและ
กรมการแพทย์สนับสนุนแพทย์ บุคลากร และวัสดุทางการแพทย์ เพื่อให้บริการ ทัณฑสถาน การให้บริการตรวจรักษาผู้ต้องขังป่วยจิตเวชผ่านระบบ Telepsychiatry
ร่ ว มออกหน่ ว ยแพทย์ เ คลื่ อ นที่ พ ระราชทานตามโครงการราชทั ณ ฑ์ ป ั น สุ ข ๒ จัดท�ำคูม่ อื การให้บริการตรวจรักษาผูต้ อ้ งขังป่วยจิตเวชผ่านระบบ Telepsychiatry เพือ่ ให้การ
ท�ำความ ดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ระหว่างวันที่ ๒๕ – ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ให้บริการเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
ณ ทัณฑสถานหญิงกลาง กรมราชทัณฑ์ โดยให้บริการจ�ำนวน ๕ สาขา ได้แก่ ๓ พัฒนาระบบการให้บริการตรวจรักษาผูต้ อ้ งขังป่วยจิตเวชผ่านระบบ Telepsychiatry ระหว่าง
ด้านทันตกรรม โดยสถาบันทันตกรรม ให้บริการขูดหินปูน อุดและถอนฟันผู้ต้องขัง หน่วยงานสังกัดกรมสุขภาพจิตและเรือนจ�ำและทัณฑสถานเป้าหมาย ระยะที่ ๑ รวม ๕ แห่ง ได้แก่
จ�ำนวน ๒๗๔ ราย สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์ร่วมกับทัณฑสถานหญิงธนบุรี โรงพยาบาลสวนปรุงร่วมกับ
ด้านสูตินรีเวช โดยโรงพยาบาลราชวิถี ให้บริการตรวจคัดกรองและรักษาผู้ต้องขัง ทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่ สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา ร่วมกับเรือนจ�ำกลาง
จ�ำนวน ๓๕๐ ราย สมุทรปราการ โรงพยาบาลจิตเวชนครพนมราชนครินทร์ร่วมกับเรือนจ�ำกลางนครพนม
ด้านโรคผิวหนัง โดยสถาบันโรคผิวหนัง ให้บริการตรวจรักษาผู้ต้องขัง จ�ำนวน ๓๙๓ ราย และโรงพยาบาลนครราชสีมาราชนครินทร์ร่วมกับเรือนจ�ำกลางนครราชสีมา ซึ่งมีผู้ต้องขัง
ด้านโรคตา โดยโรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง) ให้บริการวัดสายตา ตรวจ สามารถเข้าถึงบริการผ่านระบบดังกล่าว รวมทั้งสิ้นจ�ำนวน ๓๓๗ ราย
และรักษาผู้ต้องขัง จ�ำนวน ๕๑๘ ราย ๔ จัดท�ำระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยนิติจิตเวช (ผู้ต้องขังป่วยจิตเวช)
ด้านการฟืน้ ฟูสมรรถภาพ โดยสถาบันสิรนิ ธร เพือ่ การฟืน้ ฟูสมรรถภาพทางการแพทย์
แห่งชาติ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย.
ให้ความรู้ด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ การดูแลผู้ป่วยติดเตียง และการฝึกปฏิบัติให้แก่ ๖๓ ๖๓ ๖๓ ๖๓ ๖๓ ๖๓ ๖๓ ๖๓ ๖๓ ๖๓ ๖๓
ผู้ต้องขัง จ�ำนวน ๑๙๕ ราย
๑ ๓ ๕

ประชุมผู้เกี่ยวข้องร่วมกันพัฒนา เสนอโครงการเข้าประชุมคณะกรรมการ พั ฒ น า ร ะ บ บ โ ด ย
ระบบฐานข้อมูลและความต้องการ บริ ห ารและจั ด หาระบบคอมพิ ว เตอร์ บริษัทผู้รับจ้าง
ของผู้ที่ใช้งานระบบ (๒ ครั้ง) ประจ�ำกรมสุขภาพจิต

๔ ๖
ก�ำหนดรายละเอียดคุณลักษณะ
ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ระบบฐาน ได้ รั บ การรั บ รองการจั ด หาระบบ ประชุ ม ชี้ แ จงการใช้ ง านระบบ
ข้อมูลนิติจิตเวช คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กทีม่ มี ลู ค่าไม่เกิน ฐานข้อมูลนิตจิ ติ เวชผ่านแอปพลิเคชัน
๕ ล้านบาท จากคณะกรรมการบริหาร Cisco Webex
การปรึกษาทางไกล (Telemedicine) โดยทีมแพทย์เฉพาะทางจิตอาสา กรมการแพทย์
และจัดหาระบบคอมพิวเตอร์กระทรวง
สาธารณสุข

แผนภูมิที่ ๑๔ แผนการด�ำเนินงานการจัดระบบฐานข้อมูลนิติจิตเวช
ปีงบประมาณ ๒๕๖๓

136 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 137


๑.๔ การส่งต่อ ไปรักษา ตัวอย่างผู้ป่วยวิกฤตที่ถูกส่งต่อ (refer)
ช่องทางด่วน (Fast Track)
สถานพยาบาลเฉพาะทาง กรมการแพทย์ เป็นเครือข่ายรับและส่งต่อการดูแลรักษาเฉพาะทางของ
มารับการรักษาตัวที่สถาบันโรคทรวงอก
ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ ทั้งแบบผู้ป่วยนอก (OPD) และ ผู้ป่วยใน (IPD)
ผู้ต้องขังชาย อายุ ๔๙ ปี มีอาการแน่นหน้าอก
จะเป็นลม ต้องใส่ทอ่ ช่วยหายใจ (ETT) แพทย์สงสัย กล้ามเนือ้
ผู้ป่วยใหม่ ผู้ป่วยเก่า
หัวใจขาดเลือด (STEMI) ประสานส่งต่อสถาบันโรค
ทรวงอก ผ่านระบบ Fast Track ทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
พยาบาล/จนท. ที่มากับผู้ป่วย
ลงทะเบียนที่ตู้คว
ิ อัตโนมัติ สถาบันโรคทรวงอกได้ให้การรักษาโดยท�ำใส่สายสวนทาง
ตรวจสอบสิทธิ์ ตึก ๘ ชั้น ๑
หลอดเลือดแดงเพื่อฉีดสีเข้าไปที่ Coronary artery
เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์แจ้งศูนย์
Refer ล่วงหน้า โทร ๐ ๒๕๔๗ ๐๙๙๑ ช่องทางด่วน (Fast track)
โดยตรง ดู ค วามผิ ด ปกติ ข องหลอดเลื อ ดและหั ว ใจ
พาผู้ป่วยไปที่
Fax.เอกสารใบส่งตัว
และส�ำเนาบัตรประชาชน
คลินิกตรวจโรค ่ ถาบันโรคทรวงอก
มารับการรักษาตัวทีส (Coronary artery catheterization, CAG) เป็น ๑ VVD
เบอร์ ๐ ๒๕๔๗ ๐๙๙๐ ได้ ใ ห้ off ETT และรั บ ไว้ รั ก ษาใน
ตึกผู้ป่วยวิกฤตโรคหัวใจ (CCU) ผู้ป่วย
อาการดีขนึ้ ย้ายขึน้ WARD ๗/๗ สามัญ
๑. แยกโซนผู้ป่วย
๒. ปกปิดโซ่ตรวน
และวางแผนจ�ำหน่าย โดยมีการประสาน
๓. จัดระบบคิวแยก การดูแลและติดตามการรักษา ระหว่าง
จากผู้ป่วยนอกทั่วไป
ที ม แพทย์ ส ถาบั น โรคทรวงอก และ
ทีมทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์
อย่างสม�่ำเสมอ
น�ำผลการตรวจเลือด
วันที่มาตรวจเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ ประเมิน
X-Ray, EKG และอื่น ๆ
แจ้งศูนย์ Refer ก่อนมาตรวจ คัดกรองอาการ
ให้กับพยาบาลประจ�ำคลินิก
พาผู้ป่วยไปรอตรวจที่แผนก X-Ray
เบอร์ ๑๐๐ ตึก ๖ ชั้น ๑

พบแพทย์

พยาบาล/จนท. ทีมแพทย์รับผู้ป่วยรายที่ ๓ (STEMI)


รับยา
่ ถาบันโรคทรวงอก
ทีส

Admit D/C ๑. ให้ใบรับรองแพทย์


๒. นัดครั้งต่อไป
๓. แจ้งการรักษากับ จนท./
ผู้คุม/ผู้ป่วย
หมายเหตุ เพื่ อความสะดวกรวดเร็ว
๑. ผู้ป่วยที่มีนัดตรวจเลือด, X-Ray, EKG ให้น�ำผลมาด้วยทุกครั้ง
๒. พาผู้ป่วยมาตรวจ ในช่วงเวลา ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. วันที่ ๓ มี.ค. ๖๓

แผนภูมิที่ ๑๕ แนวทางการให้บริการผู้ป่วย สถาบันโรคทรวงอก : Flow ผู้ป่วย OPD

138 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 139


ตัวอย่างผู้ป่วยวิกฤตที่ส่งต่อ (refer) ช่องทางด่วน (Fast track) ตัวอย่างผู้ป่วยโรคซับซ้อนที่ส่งต่อ (refer)
มารับการรักษาตัวที่สถาบันประสาทวิทยา มารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลเลิดสิน

ผู้ต้องขังหญิง อายุ ๔๑ ปี มีประวัติเป็นเนื้องอกในสมอง Glioblastoma ผู้ต้องขังหญิง อายุ ๒๗ ปี ป่วยด้วยโรคก้อนเนื้องอกขนาดใหญ่มากที่


multiforme ส่งต่อมาด้วยอาการปวดศีรษะ อาเจียนพุ่ง หมดสติ ๑๙ ชั่วโมง ล�ำตัว (Neurofibromatosis Type I) ได้เข้ารับการรักษาที่ทัณฑสถาน
ก่อนมาโรงพยาบาล หลังจากท�ำ CT พบก้อนเนื้องอกและมีเลือดออกในสมอง โรงพยาบาลราชทัณฑ์ ตั้งแต่วันที่ ๒๓-๒๕ สิงหาคม ๒๕๖๓ ทัณฑสถาน
ขนาด ๔.๕x๖.๕ ซม. ร่วมกับมีการกดเบียดเนื้อสมองไปอีกข้าง (Midline โรงพยาบาลราชทัณฑ์ ได้ปรึกษาแพทย์จิตอาสาผู้เชี่ยวชาญ กรมการแพทย์
shift) ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัด Re-explore craniotomy with gross total ให้สง่ ต่อ (Refer) ไปรับการผ่าตัดรักษาที่ โรงพยาบาลเลิดสิน หลังท�ำ Excision
tumor removal at right parietal lobe ภายหลังจากได้รับการผ่าตัด and primary closure เมื่อวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๓ ผู้ป่วยอาการดีขึ้น
ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น เริ่มทานอาหารได้วันที่ ๓ หลังผ่าตัดและลุกขึ้นเดิน ส่งกลับไปดูแลต่อเนื่องที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ ผู้ป่วยได้รับ
ข้างเตียงได้ ๑๐ วันหลังผ่าตัด และผู้ป่วยรายนี้ได้มีการส่งตัวกลับเพื่อไปรับ การผ่าตัดเอาก้อนเนื้องอกขนาดใหญ่ออกไป ตรวจชิ้นเนื้อไม่พบเนื้อร้าย
การฉายแสงต่อที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ อาการทั่วไปปกติ มีสุขภาพแข็งแรง และมีความสุข

ก่อนผ่าตัด
ภาพ CT ก่อนผ่าตัด ภาพ CT หลังผ่าตัด

ก่อนผ่าตัด หลังผ่าตัด
หลังผ่าตัด

140 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 141


ด้านการด�ำเนินการคัดเลือกและจัดซื้อ จัดหา
เครื่องมือและครุภัณฑ์ทางการแพทย์
พระราชทาน
กระทรวงสาธารณสุขก�ำหนดให้โครงการราชทัณฑ์ปน
เป็ น ตั ว ชี้ วั ด ประเด็ น การตรวจราชการประจ� ำ ปี ๒๕๖๓
ั สุข สรุปจ�ำนวนวงเงินและ
โดยพิ จารณาให้กองตรวจราชการ กองบริหารการสาธารณสุข
และแต่งตัง ้ คณะผูน ้ เิ ทศงาน ๑๓ เขตสุขภาพ ก�ำกับ ติดตาม
รายการเครื่องมือและครุภัณฑ์
รายงานผล ทั้งนี้ กองบริหารการสาธารณสุขยังได้รับ
มอบหมายให้เป็นผูป ้ ระสานงานหลัก และร่วมเป็นคณะท�ำงาน ทางการแพทย์พระราชทาน
คัดเลือกและจัดซื้อ จัดหา โรงพยาบาล สถานพยาบาล
เรือนจ�ำ เครื่องมือและครุภัณฑ์ทางการแพทย์พระราชทาน โรงพยาบาลแม่ข่าย จ�ำนวน ๑๒ แห่ง | จ�ำนวนเงิน ๙๘,๘๘๐,๐๐๐ บาท
เพื่ อให้ เ กิ ด ความโปร่ ง ใสและได้ ค รุ ภั ณ ฑ์ ท่ีมี คุ ณ ลั ก ษณะ
เหมาะสม เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้ให้และผู้รับบริการ
โรงพยาบาลแม่ขา่ ยทีร่ บั ผิดชอบเรือนจ�ำ
จะได้รบั ครุภณ
ั ฑ์ ๒ รายการ คือ กล้องถ่าย • เขตสุขภาพที่ ๓ รพ.สวรรค์ประชารักษ์
ภาพจอประสาทตาดิจิตอล จ�ำนวน ๑ • เขตสุขภาพที่ ๔ รพ.สระบุรี
เครื่ อ ง และรถเอกซเรย์ เ คลื่ อ นที่ แ บบ • เขตสุขภาพที่ ๕ รพ.นครปฐม
ภาพดิจิตอล ๑ คัน เพื่อให้บริการแก่ผู้ต้องขัง • เขตสุขภาพที่ ๖ รพ.ชลบุรี
ในเรือนจ�ำและประชาชนทั่วไป โดยใช้ • เขตสุขภาพที่ ๗ รพ.ขอนแก่น
บริหารจัดการร่วมกันทุกจังหวัดภายใน • เขตสุขภาพที่ ๘ รพ.อุดรธานี
เขตสุขภาพทีร่ บั ผิดชอบ รายชือ่ โรงพยาบาล • เขตสุขภาพที่ ๙ รพ.ปากช่องนานา
แม่ข่าย จ�ำนวน ๑๒ แห่ง ดังนี้ • เขตสุขภาพที่ ๑๐ รพ.สรรพสิทธิประสงค์
• เขตสุขภาพที่ ๑ รพ.นครพิงค์ • เขตสุขภาพที่ ๑๑ รพ.มหาราชนครศรีธรรมราช
• เขตสุขภาพที่ ๒ รพ.พุทธชินราช • เขตสุขภาพที่ ๑๒ รพ.สงขลา
ตารางที่ ๖ รายงานการใช้ครุภัณฑ์พระราชทานของโรงพยาบาลแม่ข่าย
โครงการราชทัณฑ์ปนั สุข ท�ำความ ดี เพื่ อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๑๒ แห่ง

จ�ำนวนผู้ต้องขัง จ�ำนวนประชาชน
รายการครุภัณฑ์ ที่ได้รับบริการ ที่ได้รับบริการ รวมทัง
้ สิ้น
พระราชทาน (ราย)
(ราย) (ราย)

กล้องถ่ายภาพจอประสาทตาดิจิตอล
๒,๘๒๗ ๕,๕๘๐ ๘,๔๐๗
(Digital Fundus Camera)

รถเอกซเรย์เคลื่อนที่แบบภาพดิจิตอล
๑๓๔,๗๔๕ ๕,๑๐๓ ๑๓๙,๘๔๘
(Mobile X-ray)

ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๓

้ จัดหา
การประชุมคณะท�ำงานคัดเลือกและจัดซือ ่ งมือและครุภัณฑ์
ภาพตัวอย่าง เครือ
โรงพยาบาล สถานพยาบาลเรือนจ�ำ เครือ ่ งมือและครุภัณฑ์ ทางการแพทย์พระราชทาน
ทางการแพทย์พระราชทาน และคณะท�ำงานฯ ทีเ่ กีย่ วข้อง ตามโครงการราชทัณฑ์ปนั สุขฯ ระยะที่ ๑

142 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 143


โรงพยาบาลแม่ข่ายที่ให้บริการเรือนจ�ำ/
ทัณฑสถานเป้าหมาย

โรงพยาบาลแม่ข่าย เรือนจ�ำ โรงพยาบาลแม่ข่าย เรือนจ�ำ

โรงพยาบาลราชบุรี ๑. เรือนจ�ำกลางเขาบิน โรงพยาบาลแม่แตง ๑๓. เรือนจ�ำกลางเชียงใหม่

โรงพยาบาลบ้านค่าย ๒. เรือนจ�ำกลางระยอง โรงพยาบาลนครปฐม ๑๔. เรือนจ�ำกลางนครปฐม

โรงพยาบาลวังทอง ๓. เรือนจ�ำกลางพิ ษณุโลก โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี ๑๕. เรือนจ�ำกลางสุราษฎร์ธานี


๔. เรือนจ�ำจังหวัดพิ ษณุโลก
๕. ทัณฑสถานหญิงพิ ษณุโลก โรงพยาบาลสงขลา ๑๖. เรือนจ�ำกลางสงขลา
๑๗. ทัณฑสถานหญิงสงขลา
โรงพยาบาลปากช่องนานา ๖. เรือนจ�ำกลางคลองไผ่
สถานพยาบาลเรือนจ�ำกลางบางขวาง ๑๘. เรือนจ�ำกลางบางขวาง
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช ๗. เรือนจ�ำกลางนครศรีธรรมราช
ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ ๑๙. เรือนจ�ำกลางคลองเปรม
โรงพยาบาลบางบ่อ ๘. เรือนจ�ำกลางสมุทรปราการ ๒๐. ทัณฑสถานหญิงกลาง
๒๑. ทัณฑสถานหญิงธนบุรี
โรงพยาบาลบ้านบึง ๙. เรือนจ�ำกลางชลบุรี
โรงพยาบาลนครพิ งค์ ๒๒. ทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่
โรงพยาบาลเดอะโกลเดนเกท ๑๐. เรือนจ�ำกลางนครราชสีมา
โรงพยาบาลชลบุรี ๒๓. ทัณฑสถานหญิงชลบุรี
โรงพยาบาลสีคิ้ว ๑๑. ทัณฑสถานหญิงนครราชสีมา
โรงพยาบาลธัญบุรี ๒๔. ทัณฑสถานบ�ำบัดพิ เศษหญิง
โรงพยาบาลนครพนม ๑๒. เรือนจ�ำกลางนครพนม

144 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 145


โรงพยาบาลแม่ข่ายที่มี
ห้องดูแลผู้ต้องขังเป็นการเฉพาะ

โรงพยาบาลปากช่องนานา จังหวัดนครราชสีมา โรงพยาบาลบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ

โรงพยาบาลบ้านค่าย จังหวัดระยอง โรงพยาบาลบ้านบึง จังหวัดชลบุรี

146 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 147


โรงพยาบาลเดอะโกลเดนเกท จังหวัดนครราชสีมา โรงพยาบาลนครพนม จังหวัดนครพนม

โรงพยาบาลสีคิว
้ จังหวัดนครราชสีมา โรงพยาบาลแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่

148 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 149


โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี โรงพยาบาลสงขลา
จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดสงขลา * เป็นโรงพยาบาลที่รับการส่งต่อทั่วไป
กรณีเกินศักยภาพของสถานพยาบาลเรือนจ�ำกลางบางขวาง

โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า*

โรงพยาบาลนครพิ งค์ จังหวัดเชียงใหม่ โรงพยาบาลนครปฐม (อยู่ระหว่างด�ำเนินการ)

150 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 151


ราชทัณฑ์ปันสุข ท�ำความ ดี
เพื่ อชาติ ศาสน์ กษัตริย์

พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ผลิตภัณฑ์โครงการราชทัณฑ์ปันสุขฯ
และสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชิ นี
ไ ด้ พ ร ะ ร า ช ท า น สั ญ ลั ก ษ ณ์ โ ค ร ง ก า ร
ราชทัณฑ์ปันสุขฯ

หมวกโครงการ

กระเป๋าโครงการ
สัญลักษณ์โครงการ กระเป๋าโครงการที่มาจากฝีมือผู้ต้องขังเรือนจ�ำจังหวัด
(โลโก้) ชัยนาท ที่ระหว่างการจัดท�ำผลิตภัณฑ์โครงการได้มีการใช้
ฝีมือ ความทุ่มเทในการผลิตกระเป๋า ซึ่งส่งเสริมให้ผู้ต้องขัง
เสื้อโครงการ มีก�ำลังใจที่ดีขึ้น

152 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 153


“...มีอยู่วันหนึ่ง เวลาประมาณ ๑๙.๓๐ น. มีผู้ต้องขังภายในเรือนนอน
มีอาการป่วยหนักมาก อาเจียนเป็นเลือดเต็มขันน�้ำ จึงได้กดกริ่งส่งสัญญาน
ฉุกเฉิน เพื่อให้เจ้าหน้าที่เวรมาดู ค�ำแรกที่ฟังแล้วรู้สึกถึงความอบอุ่นใจ
ในการด�ำเนินงานตั้งแต่วันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๖๒ จากเจ้าหน้าที่เวร คือ “ไหวมั๊ยไอ้หนุ่ม” แต่คนป่วยไม่สามารถโต้ตอบได้
ถึงปัจจุบัน ได้มีการติดตามและการประเมินผล โดยทีมนักวิชาการ จากนั้น อสรจ. ภายในห้องนอนได้ประเมินอาการและแจ้งต่อเจ้าหน้าที่
รวมทั้ง การรับฟังเสียงสะท้อนจากผู้ต้องขัง
และจึงได้ช่วยกันพาตัวผู้ต้องขังป่วยไปยังสถานพยาบาล และได้ทราบ
และข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น มีรายละเอียดดังนี้
ภายหลังว่า ผู้ป่วยถูกส่งตัวไปรักษาที่โรงพยาบาลภายนอกเรือนจ�ำ
ได้ทัน จึงรอดชีวิต เพราะอุปกรณ์รักษาพยาบาลเบื้องต้นของทาง
สถานพยาบาลตามโครงการราชทัณฑ์ปนั สุขฯ ได้ชว่ ยชีวติ ไว้ ในมุมเล็กๆ
เสียงสะท้อนจากผู้ต้องขัง ผ่านโครงการ
“เรื่องเล่าราชทัณฑ์ปันสุขฯ ในมุมมองของฉัน” ผูเ้ ขียนเห็นว่า นีค่ อื ราชทัณฑ์ปนั สุขแก่ผตู้ อ้ งขังอย่างแท้จริงทีเ่ จ้าหน้าที่
ราชทัณฑ์มคี วามเมตตาแก่ผตู้ อ้ งขัง และพระองค์ทา่ นทรงมีความห่วงใย
“...ได้ รั บ การอนุ เ คราะห์ จ ากทางพยาบาลวิ ช าชี พ ผู้ต้องราชทัณฑ์ทุกคน...”
อันเนือ่ งมาจากโครงการราชทัณฑ์ปนั สุขฯ ทีท่ างโรงพยาบาล ผู้ต้องขังเรือนจ�ำกลางสมุทรปราการ
พระปกเกล้ า จั ง หวั ด จั น ทบุ รี ได้ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น
บุคลากรทางการแพทย์ ที่เข้ามาดูแลรักษาอาการ
เจ็บป่วยในด้านต่างๆ ให้แก่ผู้ต้องขัง ภายในเรือนจ�ำแห่งนี้
นอกจากนั้น ยังมีโครงการเจาะเลือดผู้ต้องขัง เพื่อ
เสาะหาผู้ต้องขังที่มีอาการเจ็บป่วยในการติดเชื้อใน “...หน้าประตูแดนมีผู้ต้องขังท�ำงานอยู่ ๔ คน ให้ช่วยงาน อสรจ. มีหน้าที่คอยวัดไข้ เมื่อกลับมาจาก
กระแสเลือด เช่น HIV เพื่อคัดแยกเป็นผู้ป่วยเฉพาะโรค สถานพยาบาล กลับมาจากเยี่ยมญาติก็จะวัดไข้ก่อนเข้าแดน เพิ่งเริ่มเมื่อมีประกาศมาตรการ
และมอบยารักษา และที่ส�ำคัญ พวกผมจะดีใจทุกครั้ง ฉุกเฉินโควิดระบาดครับ เมื่อก่อนไม่มี อสรจ.จะวัดในแต่ละกองงาน เราวัดไข้ผู้ต้องขัง ต้องวัด
ทีไ่ ด้รบั การรักษาจากหนึง่ ในโครงการราชทัณฑ์ปนั สุขฯ ทุกคน อสรจ. แต่ละคนจะไปกับพยาบาลลงตรวจ เช่น โจพาเข้าไปจะเข้าเวร สองคนตั้งโต๊ะ
นั่ น ก็ คื อ โครงการทั น ตกรรม ที่ เ ข้ า มาตรวจรั ก ษา เก็บโต๊ะ อีกสองคนคอยวัดความดัน เขียนอุณหภูมิให้ผู้ต้องขังที่รอหาหมอใน ๑ เดือน อสรจ.
โดยการอุดฟันและถอนฟันให้แก่ผตู้ อ้ งขัง ท�ำให้พวกผม ทุกคนต้องเข้าเวร ๒ ครั้งครับ ทุกคนอยู่กองงานอยู่แล้ว ดูแลผู้ต้องขังกองงานนั้นๆ ทุกคน
มีสุขภาพช่องปากและฟันที่ดีขึ้น...” จะผลัดเวรกันมาที่หน้าประตูแดน เวียนกันไป...”
ผู้ต้องขังเรือนจ�ำจังหวัดจันทบุรี อสรจ. เรือนจ�ำกลางคลองเปรม

154 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 155


ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น

ก่อนโครงการ
๒.๑ การส่งต่อผูต
้ อ
้ งขังป่วยออกรักษาภายนอกเรือนจ�ำ หลังโครงการ
๒๕๐ ๒๕๐

๑๙๙
๒๐๐ ๒๐๐
๑๗๙
๑๗๑
๑๕๕
๑๕๐ ๑๕๐

๑๑๘ ๑๑๓

๑๐๔ ๑๑๓
๑๐๐ ๑๐๐
๘๔ ๑๐๒
๘๓ ๙๗ ๘๐
๖๓
๗๑
๕๘ ๖๑
๕๕ ๕๗ ๖๔ ๖๘ ๖๓ ๖๓
๖๕
๕๐ ๔๖ ๔๒ ๔๓ ๖๐ ๕๐
๓๘
๓๑ ๒๙ ๔๒
๓๙ ๔๐
๑๙ ๓๕ ๒๒ ๓๕ ๓๕ ๓๓
๑๘
๒๗
๒๑ ๒๒
๑๑ ๑๔
๐ ๑๑ ๙ ๐
ิง

กลาง

ุรี

ใหม่

ุรี

ีมา

ุโลก

าบิน

รม

องไผ

บุรี

ม่

รปฐม

สีมา

าช

ยอง

ขลา

ร์ธาน

ุโลก
ษหญ

งขวา
สงขล
ชลบ

ธนบ

รากา
ณุโล
ียงให

รพน

รรมร
ราชส

องเป

างชล
พิษณ

พิษณ
างระ
เชียง

างสง
รราช
างเข

างคล
หญิง

าษฎ
างนค
หญิง
หญิง

างพิษ
างนค

างบา

ุทรป
ัดพิเศ

างเช
หญิง

างคล

รศรีธ
นคร

จ�ำกล
หญิง

จ�ำกล
จ�ำกล

จ�ำกล
หญิง

หวัด
างนค

างสุร
สถาน

จ�ำกล
สถาน
สถาน

างสม
จ�ำกล
จ�ำกล

จ�ำกล
สถาน

จ�ำกล

จ�ำกล
บ�ำบ

หญิง

จ�ำกล

างนค
สถาน

เรือน

จ�ำจัง
สถาน

เรือน
เรือน

เรือน
จ�ำกล

จ�ำกล
ทัณฑ

เรือน

จ�ำกล
ทัณฑ
ทัณฑ
สถาน

เรือน
เรือน

เรือน
เรือน
ทัณฑ
สถาน

เรือน
จ�ำกล
เรือน

เรือน
ทัณฑ

ทัณฑ

เรือน

เรือน
เรือน
ทัณฑ

ทัณฑ

เรือน
แผนภูมิที่ ๑๖ จ�ำนวนครั้งการส่งผู้ต้องขังออกไปรักษาภายนอกเรือนจ�ำ
ทั้งแบบนอนพั กค้าง และแบบไปกลับ
๒.๒ อัตราโรคลดลง ๒.๓ การส่งผู้ต้องขัง
ออกไปรักษาพยาบาล
จากแผนภูมิ พบว่า การส่งผู้ต้องขังออกไปรับการรักษาภายนอก จากการด� ำ เนิ น งานตามโครงการฯ พบว่ า ในโรงพยาบาลภายนอก
เรือนจ�ำทั้งแบบนอนพักค้าง In Patient department (IPD) และ เมื่อมีการจัดระบบด้านการแพทย์และสาธารณสุขใน
แบบไปกลับ Outpatient department (OPD) ตั้งแต่ก่อนด�ำเนิน เรือนจ�ำ ท�ำให้โรคต่างๆ ที่เกี่ยวกับทางเดินหายใจ ทั้งประเภทไป-กลับ และค้างคืนลดลง
โครงการราชทัณฑ์ปนั สุข ท�ำความ ดี เพือ่ ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ เรือนจ�ำ/ โรคผิวหนัง ลดลงร้อยละ ๕ และที่เห็นได้ชัดเจน ร้อยละ ๑๘
ทัณฑสถานเป้าหมาย ระยะที่ ๑ ทั้ง ๒๔ แห่ง มีค่าเฉลี่ย ๖๙.๒๑ ครั้ง คือ เมื่อมีสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด-๑๙ ๒.๔ การตรวจมาตรฐาน
หลังด�ำเนินโครงการ ในห้วงเวลาเดียวกัน มีการส่งผู้ต้องขังป่วย พบว่า เรือนจ�ำและทัณฑสถาน สามารถควบคุม เรือนจ�ำ ๕ ด้าน
ออกไปรับการรักษาภายนอกเรือนจ�ำทัง้ แบบนอนพักค้าง In Patient และจัดการโรคได้เกือบ ๑๐๐ % การตรวจมาตรฐานเรือนจ�ำ ๕ ด้าน ได้แก่
department (IPD) และแบบไปกลับ Outpatient department ด้านที่นอน ด้านสูทกรรม ด้านโรงเลี้ยงอาหาร
(OPD) มีค่าเฉลี่ย ๕๖.๑๘ ครั้ง ซึ่งแสดงให้เห็นว่ามีจ�ำนวนครั้ง
ด้านสถานพยาบาล และการก�ำจัดขยะและ
การส่งออกไปรับการรักษาภายนอกเรือนจ�ำลดลง คิดเป็นร้อยละ ๑๘.๘๔
สิ่งปฏิกูล พบว่า ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๑๐๐

156 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 157


การติดตาม
๓ การก�ำหนดโครงสร้างผู้รับผิดชอบ
และประเมินผลโครงการ
ระดั บ จั ง หวั ด : เป็ น การ ระดับองค์กร : เรือนจ�ำส่วนใหญ่ใช้โครงสร้างการท�ำงานปกติเป็น
๓.๑ การติดตามการด�ำเนินงานตามโครงการ ก� ำ หนดโครงสร้ า งเพื่ อ ติ ด ตาม ตัวขับเคลื่อนงาน และทุกเรือนจ�ำมีสถานพยาบาลเป็นผู้ขับเคลื่อนหลัก
งานระดับจังหวัด ประกอบด้วย ขณะเดียวกันบางแห่งมีการก�ำหนดโครงสร้างคณะท�ำงานระหว่างเรือน
คณะกรรมการบริ ห ารโครงการฯ ได้แก่ เรือนจ�ำกลางระยอง เรือนจ�ำกลาง
หน่วยงานภาคส่วนต่างๆ จ�ำและโรงพยาบาลแม่ข่ายเพื่อขับเคลื่อนและติดตามงาน เช่น เรือนจ�ำ
ได้มอบหมายให้นกั วิชาการอิสระ (สมหญิง สงขลา เรือนจ�ำกลางนครพนม เรือนจ�ำกลาง
กลางระยอง เรือนจ�ำกลางสงขลา ทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่
สายธนู และคณะ) ติดตามการด�ำเนินงาน คลองเปรม ทั ณ ฑสถานหญิ ง เชี ย งใหม่
ในเชิ ง การประเมิ น ความคื บ หน้ า และ ทัณฑสถานหญิงกลาง ทัณฑสถานหญิง
การเปลี่ยนแปลงการด�ำเนินงานในช่วง ธนบุ รี ผลการติ ด ตามมี ป ระเด็ น ความ ๓.๑.๒ การบริหารทรัพยากรบุคคล
เดือนมกราคม - เมษายน ๒๕๖๓ ซึ่งมี คืบหน้าและการเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญคือ ส่วนใหญ่เป็นการมุ่งสร้างและพัฒนาอาสาสมัครเรือนจ�ำ (Capacity Building) โดย
การติดตามใน ๗ เรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน ความร่วมมือระหว่างโรงพยาบาลแม่ข่ายและเรือนจ�ำ เพื่อท�ำหน้าที่คล้ายกับอาสาสมัคร
สาธารณสุข (อสม.) ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล (รพ.สต.) คือ จะเป็น
๓.๑.๑ การน�ำองค์กรและการบริหาร
ผู้สังเกตผู้ต้องขังที่มีอาการไม่สบาย ซักประวัติ วัดสัญญาณชีพ ประเมินอาการ
๑ การก�ำหนดนโยบาย ๒ การสื่อสารเพื่ อน�ำไปสู่การปฏิบัติ
เบือ้ งต้น คัดกรองโรคได้โดยเฉพาะ ทีม่ คี วามเสีย่ งต่อการแพร่ระบาด อย่างเช่น
เป็นการก�ำหนดนโยบายจากส่วนกลางเพื่อยกระดับ เรือนจ�ำบางแห่ง เช่น เรือนจ�ำกลาง วัณโรค หรือโรคทางจิตทีอ่ าจใช้ความรุนแรงหรือท�ำร้ายตนเอง สือ่ สารประสาน
การดูแลสุขภาพผูต้ อ้ งขัง ซึง่ ถือว่าเป็นผูด้ อ้ ยโอกาสในสังคม ระยอง ทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่ มีวิธีการ กับเจ้าหน้าที่เพื่อส่งต่อสถานพยาบาล ปฐมพยาบาลเบื้องต้น ให้ค�ำแนะน�ำ
เพื่อน�ำไปสู่การยกระดับความเท่าเทียมกับประชาชน สื่อสารสร้างความเข้าใจเป้าหมายที่เป็น การดูแลรักษาตัวส�ำหรับโรคที่ไม่มีความสลับซับซ้อน
ทัว่ ไปในเรือ่ งการเข้าถึงบริการทางการแพทย์ นามธรรมไปสู่รูปธรรม เช่น การซ้อมส่ง
และพบว่ า ผู ้ บ ริ ห ารและเจ้ า หน้ า ที่ ผู้ต้องขังป่วยออกไปรักษายังโรงพยาบาล
พบว่า แม้จะมีการก�ำหนดมาตรฐาน ราชทั ณ ฑ์ ป ั น สุ ข ฯ เริ่ ม มี ค วามมั่ น ใจ
ที่ เ ข้ า รั บ ฟั ง นโยบาย รั บ รู ้ แ ละ แม่ข่ายให้ได้ทันท่วงที ไม่ก่อภาวะวิกฤติ
ในภาพรวมสั ด ส่ ว นจ� ำ นวนผู ้ ต ้ อ งขั ง : ในการปฏิบัติงานกว่าเดิมเพราะมีหลัก
ตระหนักถึงความส�ำคัญ หาก ตามมา ท�ำให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องต่างเห็น
อสรจ. ไว้ที่ ๑:๕๐ หากในทางปฏิบัติ และทฤษฎีอ้างอิง อย่างไรก็ตาม ยังคง
ส่วนใหญ่ยังขาดความเข้าใจ บทบาทของตนเองว่ า มี ส ่ ว นเกี่ ย วข้ อ ง
จ�ำนวนอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ ต้องการเสริมหนุนพัฒนาศักยภาพทักษะ
ว่ า การปรั บ บทบาทภารกิ จ อย่างไร หรือการพาเจ้าหน้าที่ไปศึกษา
(อสรจ.) มีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากพ้น และความสามารถอย่ า งต่ อ เนื่ อ งโดย
ระบบสาธารณสุข ในเรือนจ�ำ ดูงานที่ รพ.สต. ทีไ่ ด้รบั การประเมินห้าดาว
ก�ำหนดโทษ ประกอบกับโครงสร้างทาง สอดคล้องกับความต้องการของเรือนจ�ำ
เทียบเท่าโรงพยาบาลส่งเสริม ท�ำให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเห็นภาพบทบาท
ภายภาพของเรื อ นจ� ำ /ทั ณ ฑสถานมี ซึ่งมีความแตกต่างกันที่ส�ำคัญไปกว่านั้น
สุ ข ภาพต� ำ บล (รพ.สต.) นั้ น หลักและการท�ำงานของ รพ.สต.
การแบ่งซอยห้องนอนย่อย ท�ำให้จ�ำนวน คื อ ยั ง มี ผู ้ ต ้ อ งขั ง จ� ำ นวนหนึ่ ง ไม่ ท ราบ
ครอบคลุมถึงการป้องกัน การส่งเสริม
อาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) และรับรู้บทบาทหน้าที่ของอาสาสมัคร
สุขภาพ การรักษาและส่งต่อ (สถานพยาบาล
ทีม่ อี ยูไ่ ม่เพียงพอ หรือไม่ครอบคลุมทุกพืน้ ที่ สาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) ซึง่ เป็นพืน้ ฐาน
และโรงพยาบาลแม่ข่าย) ตลอดไปจนถึง
อย่างไรก็ตาม อาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ ของความไว้วางใจ (Trust)
การจัดการอนามั ย สิ่งแวดล้อม และไม่เคยเห็ น ภาพ
(อสรจ.) ที่ได้รับการอบรมในโครงการ
ลักษณะการท�ำงานของ รพ.สต.มาก่อน อย่างไรก็ตาม
ผู ้ บ ริ ห ารที่ มี พื้ น ฐานทางด้ า นสาธารณสุ ข หรื อ
มี ป ระสบการณ์ ต รงเห็ น ความจริ ง ในพื้ น ที่ จ ะท� ำ
ความเข้าใจง่าย
158 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 159
๓.๑.๓ ส่งเสริมสุขภาพ การบ�ำบัด ๒ การรักษาในสถานพยาบาลและการส่งต่อ
ส่งต่อ และการแพทย์ฉุกเฉิน เมื่อผู้ต้องขังป่วยเข้ารับการตรวจรักษาในสถานพยาบาล อสรจ. จะท�ำหน้าที่ซักประวัติ
การจัดปรับระบบบริการทางการแพทย์
การป้องกัน (prevention) การคัดกรอง การรักษาโรค
รวมถึงอาการเบื้องต้น จัดเตรียม OPD card วัดสัญญาณชีพ ภายใต้การดูแลของเจ้าหน้าที่
พยาบาล หากพยาบาลตรวจรักษาแล้วอาการไม่ดีขึ้น หรือประเมินแล้วเห็นว่าโรคหรืออาการนั้น
เรือนจ�ำทุกแห่งตื่นตัวในการด�ำเนินโครงการ ส่วนใหญ่ต่อยอด มีความสลับซับซ้อน จะส่งต่อให้แพทย์โรงพยาบาลแม่ข่ายตรวจวินิจฉัยและรักษาต่อไป
จากการด�ำเนินงานของสถานพยาบาล
โครงการราชทัณฑ์ปันสุขฯ เป็นนโยบาย ส่งผลให้มีแพทย์เข้ามาตรวจในเรือนจ�ำบ่อยขึ้น
กว่าอดีต ในที่นี้รวมถึงแพทย์เฉพาะทางด้านต่างๆ เพิ่มขึ้น เช่น ทันตแพทย์ จิตเวช สูตินรีเวช
๑ คัดกรองเพื่ อให้การตรวจรักษาและส่งเสริมสุขภาพต่อไป
ในแดนแรกรับ มีการคัดกรองประวัติการรักษา โรคประจ�ำตัวที่เป็นอยู่ เป็นต้น ท�ำให้ผู้ป่วยผู้ต้องขังเข้าถึงการบริการทางการแพทย์ได้ดีขึ้น อย่างไรก็ตามเป็น
ความเสี่ยงที่จะเกิดโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ เช่น วัณโรค HIV AIDs ข้อสังเกตว่า จักษุแพทย์ยังคงเป็นสาขาที่เข้าตรวจในเรือนจ�ำน้อยที่สุด
โรคอุบัติใหม่อย่าง Covid-๑๙ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดัน
โรคทางจิตเวช ฯลฯ โดยใช้เครื่องมือ/ชุดตรวจ/ชุดคัดกรองตามมาตรฐาน สาเหตุการพบแพทย์
ในสถานพยาบาล
ทางการแพทย์ เพื่อให้การรักษาต่อเนื่องและป้องกันการแพร่ระบาดของโรค เรือนจ�ำ
อุปสรรคของการคัดกรองส่วนใหญ่เกิดจาก ๓ สาเหตุ คือ (๑) ผู้ป่วย
ปิดบังหรือไม่ให้ข้อมูลเพราะกังวลต่อผลที่จะตามมา โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
เนื่องจากเกรงจะถูกรังเกียจ (๒) ไม่ทราบประโยชน์ที่จะตามมา รวมถึง (๓)
ไม่รู้มาก่อนว่าตนเองมีโรคประจ�ำตัว
คัดกรองประจ�ำปี เช่น เบาหวาน ความดัน ในผู้ต้องขังอายุที่มากกว่า ๕๕ ปีขึ้นไป
โรคทางนรีเวช เช่น มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม โรคติดต่อติดเชือ้ เป็นต้น
คัดกรองในเรือนจ�ำโดยอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) จะเป็น
ผู้ค้นหา คัดกรองผู้ที่มีอาการผิดปกติ ซึ่งอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ
(อสรจ.) จะกระจายอยู่ตามกองฝึกวิชาชีพและสถานพยาบาลในเวลากลางวัน
และเรือนนอนในเวลากลางคืน
เจ้าหน้าทีห่ รือผูบ้ งั คับแดนเป็นผูท้ มี่ บี ทบาทเสมือนเป็น “gatekeeper” ของ สาเหตุการพบแพทย์
กระบวนการคั ด กรองเพื่ อ ส่ ง ตั ว ผู ้ ต ้ อ งขั ง ป่ ว ยเข้ า รั บ การตรวจรั ก ษาที่ ในโรงพยาบาล
แม่ข่าย
สถานพยาบาล เช่น เจ้าหน้าที่/ผู้บังคับแดนที่มีความกังวลเกรงว่าจะเกิด
ภาวะวิกฤติ มักส่งตัวทันทีโดยไม่รีรอ ส่งผลให้เกิดความหนาแน่นในสถาน
พยาบาล ในทางตรงข้ามหากมีการเข้มงวดมุ่งการควบคุม จะส่งผลต่อ
ความล่าช้าในการส่งต่อรักษา ซึ่งอาจมีความรุนแรงอาการของโรคตามมา

160 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 161


๓.๑.๔ การจัดอนามัยสิ่งแวดล้อม ๓.๑.๖ มีการเปลี่ยนแปลง
การก�ำจัดสิ่งปฏิกูลและขยะมูลฝอย การก�ำจัดแหล่งพาหะของโรค ยังคง ทางโครงสร้างทางกาย
เป็นการด�ำเนินงานเดิมทีเ่ รือนจ�ำปฏิบตั อิ ยู่ ภายใต้มาตรฐาน ๕ ด้าน แต่ยงั ไม่ได้ การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างทางกายภาพเพื่อเตรียมรับ
บูรณาการเข้าไปในการด�ำเนินงานของโครงการราชทัณฑ์ปันสุขฯ เช่น การด�ำเนินงานเทียบเท่าโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล เช่น
ห้องตรวจ ห้องทันตกรรม ห้องพักผู้ป่วย ห้องกักโรค ฯลฯ
ผู้ต้องขังยังคงมีพฤติกรรมเก็บอาหารเหลือที่ญาติน�ำมาให้ไว้ในตู้
ส่งผลให้อาหารบูดเน่าและเป็นแหล่งพาหะน�ำโรค
มี ค วามหลากหลายของระบบการจั ด การขยะมู ล ฝอย ตั้ ง แต่ ๓.๑.๗ การเปลี่ยนแปลงที่ผู้ต้องขัง
แหล่งก�ำเนิดไปจนถึงการก�ำจัด ซึง่ มีทงั้ เป็นการด�ำเนินงานร่วมกับองค์กร
ในระยะเริ่มแรกของการด�ำเนินโครงการราชทัณฑ์ปันสุขฯ นี้ ยังไม่สามารถสรุป
ปกครองส่วนท้องถิ่นและด�ำเนินการเอง อย่างไรก็ตาม ปริมาณขยะ
ได้ว่าผู้ต้องขังมีสุขภาพดีขึ้นอย่างไร เพราะต้องการข้อมูลสะท้อนกลับอย่างเป็น
สอดคล้องกับปริมาณการบริโภคของผู้ต้องขัง
วิทยาศาสตร์และเป็นระบบ ซึ่งต้องมีการหารือของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการก�ำหนด
ปัญหาการขาดแคลนน�้ำหรือปริมาณน�้ำไม่เพียงพอต่อการอุปโภค
ข้อมูลร่วมกันวางแผนระบบการเก็บข้อมูล และการวิเคราะห์ขอ้ มูล แต่อย่างไรก็ตาม
ในบางพื้นที่/บางจุดอาจส่งผลต่อโรคผิวหนังได้
พบการเปลี่ยนแปลง
ขาดการค้นหาพื้นที่เสี่ยงหรือระบบงานที่ไม่สนับสนุนภาวะการมี
สุขภาพดี เช่น โครงสร้างทางกายภาพของเรือนจ�ำ จากการสุ่มผู้ต้องขังที่เข้าร่วมในการด�ำเนินโครงการระบุว่า ผู้ป่วย
ผูต้ อ้ งขังมีโอกาสดูแลสุขภาพตนเอง ได้รบั การตรวจรักษาทางการ
แพทย์ได้ดีกว่าก่อนต้องโทษในเรือนจ�ำ
๓.๑.๕ การจัดการสิทธิการรักษาพยาบาล
หรือหลักประกันสุขภาพ
ผลการรักษา คือ ไม่เกิดภาวะรุนแรงของโรค สามารถสะท้อนถึง
คุณภาพของการรักษาได้ ผูป้ ว่ ยผูต้ อ้ งขังกลุม่ เฉพาะโรคไม่สามารถ
ปัญหาที่พบส่วนมากเป็นเรื่องผู้ต้องขังไม่ทราบเลขที่ ปรับพฤติกรรมตามค�ำแนะน�ำของแพทย์ได้ โดยเฉพาะการรับ
บัตรประชาชน ไม่มบี ตั รประชาชนติดตัวเข้าเรือนจ�ำ หลายราย ประทานอาหาร การออกก�ำลัง อันเนื่องมาจากวิถีชีวิตในเรือนจ�ำ
ให้ ร ายละเอี ย ดว่ า ต� ำ รวจยึ ด ในขั้ น ตอนการจั บ กุ ม ไม่ มี ที่ต้องปฏิบัติตาม
รายละเอียดเลขที่บัตรประชาชนระบุในส�ำนวนศาล (ประเด็นนี้
ต้องตรวจสอบความถูกต้องต่อไป) ซึ่งท�ำให้ด�ำเนินการขึ้น ๓.๑.๘ เกิดการท�ำงานร่วมกัน
สิทธิรกั ษาล่าช้าเพิม่ ภาระงาน (หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า) กับภาคีองค์กรต่างๆ
โรงพยาบาลแม่ขา่ ยเป็นก�ำลังส�ำคัญในการด�ำเนินการขึน้ เกิ ด การท� ำ งานร่ ว มกั น กั บ ภาคี อ งค์ ก รต่ า งๆ
สิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า มีเรือนจ�ำหรือทัณฑสถาน ในลักษณะข้ามกระทรวงอย่างกว้างขวาง เช่น กระทรวง
ลงระบบ IT เพือ่ ให้เรือนจ�ำด�ำเนินการขึน้ ทะเบียนสิทธิได้เอง ยุตธิ รรม กระทรวงสาธารณสุข (โรงพยาบาล กรมอนามัย
อย่างคล่องตัว ท�ำให้ผตู้ อ้ งขังเข้าถึงสิทธิในการรักษาพยาบาล กรมควบคุมโรค ฯลฯ) กระทรวงมหาดไทย (องค์กร
เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด อีกทั้งเป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายของ ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ) กระทรวงการอุ ด มศึ ก ษา
โรงพยาบาลแม่ข่าย วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (มหาวิทยาลัย)
ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฯลฯ

162 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 163


๓.๒ การประเมินผลโครงการ

คณะกรรมการบริหารโครงการ ได้มอบหมายให้คณะ
สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ประเมินผลโครงการ
ซึ่งจากการลงพื้นที่ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงสิงหาคม ๒๕๖๓
มีผลการประเมินในบางประเด็น ดังนี้

๓.๒.๑ บริบทของเรือนจ�ำ
๑ ๒ ๓ ๔
แดนพยาบาล ในเรือนจ�ำชายส่วนใหญ่ ได้รับ รูปแบบการท�ำงานของโรงพยาบาลแม่ข่าย การมี ส ่ ว นร่ ว มจากส� ำ นั ก งานสาธารณสุ ข การพัฒนาระบบสิทธิการเข้าถึงบริการของ
การพัฒนาให้มพี นื้ ทีแ่ ยกเป็นสัดส่วน ในการปฏิบตั งิ าน และเรือนจ�ำ พบว่า การเลือกแม่ข่ายด้วยเกณฑ์ จังหวัด (สสจ.) ช่วยท�ำให้การขับเคลื่อนระบบ ทุกเรือนจ�ำในจังหวัดที่ทีมประเมินลงพื้นที่ พบว่า
เอื้อต่อการจัดวางเครื่องมืออุปกรณ์พระราชทาน ระยะทาง เป็นปัจจัยความส�ำเร็จที่ส�ำคัญร่วมกับ การรักษา ส่งต่อ ระบบการปรับพื้นที่เรือนจ�ำใน มี ก ารเพิ่ ม ขึ้ น ของการขึ้ น สิ ท ธิ ใ ห้ กั บ ผู ้ ต ้ อ งขั ง
และจัดบริการโดยทีมแพทย์ และสาธารณสุขของ ความสัมพันธ์ ระหว่างโรงพยาบาลแม่ขา่ ย เรือนจ�ำ การติดตั้งเครื่องมือและครุภัณฑ์ทางการแพทย์ ยกเว้นของจังหวัดเชียงใหม่ ซึง่ โรงพยาบาลแม่ขา่ ย
โรงพยาบาลแม่ ข ่ า ย แต่ ทั ณ ฑสถานหญิ ง ยั ง มี และส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เนือ่ งจากความ พระราชทาน เป็นไปได้เป็นอย่างดี ในทุกจังหวัด ยังมีปญั หาการฟ้องร้องจากผูใ้ ช้บริการในพืน้ ที่ จึง
ปัญหาเรือ่ งพืน้ ที่ และระบบโครงสร้างของเรือนจ�ำ ใกล้ ชิ ด และความสั ม พั น ธ์ ใ นพื้ น ที่ กอปรกั บ ทีส่ ำ� นักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) มีการท�ำงาน ท�ำให้ผลการขึ้นสิทธิของผู้ต้องขังในเรือนจ�ำกลาง
ที่มีการใช้งานมาเป็นเวลานาน นอกจากจะส่งผล ภารกิจการจัดบริการไม่มาก หรือแออัด เหมือน สนับสนุน จัดท�ำแผนปฏิบัติการ และ ผู้ตรวจ อยู่ประมาณ ร้อยละ ๘๒ ต�่ำกว่าเรือนจ�ำอื่นๆ
ต่อการจัดบริการแล้ว ยังท�ำให้มีผลต่อสุขอนามัย โรงพยาบาลศูนย์ หรือ โรงพยาบาลจังหวัดเกิด ราชการ มีการตรวจติดตาม ตัวชีว้ ดั การจัดบริการ ในโครงการ คือประมาณ ร้อยละ ๙๐ และต�่ำกว่า
ของผูต้ อ้ งขังด้วย เช่น การมีพนื้ ทีใ่ นการตากผ้าไม่ การท�ำงานร่วมกันมากขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับ ในเรือนจ�ำของกระทรวงสาธารณสุข ตามข้อตกลงร่วม ผลการขึ้นสิทธิระดับประเทศ คือ ร้อยละ ๙๖.๘๓
เพียงพอ ท�ำให้มีโรคผิวหนัง และเชื้อรา โรคหิด โรงพยาบาลที่มีแม่ข่ายเป็นโรงพยาบาลศูนย์ จังหวัดที่ยังต้องมีความก้าวหน้าของส�ำนักงาน
แพร่ระบาดในเรือนจ�ำ และส่งผลในกรณี มีการย้าย สาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) และโรงพยาบาลแม่ขา่ ย
ผู้ต้องขังไปเรือนจ�ำกลาง เพื่อรับการตรวจรักษา คือ จังหวัดชลบุรี
ในกรณีที่โรงพยาบาลแม่ข่ายท�ำงานไม่ได้

164 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 165


๓.๒.๒ การจัดบริการ
๑ มีการจัดบริการทีจ่ ำ� เป็นพืน้ ฐานให้สำ� หรับผูต้ อ้ งขัง ตามแนวทางการพัฒนา
ระบบบริการสาธารณสุขส�ำหรับผู้ต้องขังในเรือนจ�ำ ผลการเยี่ยมส�ำรวจ
การน�ำเสนอข้อมูลการจัดบริการด้านต่างๆ พอสรุปได้ดังนี้ ๓.๒.๓ ประเด็นการขึ้นทะเบียนสิทธิ ๓.๒.๔ การพั ฒนาเรือนจ�ำตามมาตรฐานสิ่งจ�ำเป็น
การจัดบริการรักษาพยาบาลโรคทัว่ ไป โรคเรือ้ รัง และจิตเวช ทุกเรือนจ�ำ ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มาตรฐานสิ่งจ�ำเป็นได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อเป็นแนวทางใน
มีการจัดบริการโดยทีมแพทย์จากโรงพยาบาลแม่ขา่ ยเพิม่ ขึน้ อย่างชัดเจน ได้มกี ารอนุมตั ใิ ห้แดนพยาบาลของเรือนจ�ำ การจัดบริการเพือ่ ตอบสนองความจ�ำเป็นพืน้ ฐานของผูต้ อ้ งขัง
ด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค พบว่า บริการทันตกรรมส�ำหรับ เป็ น หน่ ว ยขึ้ น ทะเบี ย นสิ ท ธิ ไ ด้ เ อง และ ที่พึงได้รับตามสิทธิการเป็นมนุษย์เมื่อต้องถูกจ�ำกัดสิทธิ
ทุกช่วงวัย การถอน อุด และ ขูดหินปูน มีเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัดเจน การขึ้ น ทะเบี ย นสิ ท ธิ ต ้ อ งด� ำ เนิ น การ เสรีภาพ มาตรฐานสิ่งจ�ำเป็นของเรือนจ�ำ ประกอบด้วย
มีการใช้ชุดท�ำฟันพระราชทานในการจัดบริการ ให้ เ รี ย บร้ อ ยภายใน ๓๐ วั น เนื่ อ งจาก มาตรฐาน ๕ ด้าน คือ ด้านทีน่ อน ด้านสูทกรรม ด้านโรงเลีย้ ง
๒ การจัดบริการในการส่งเสริมป้องกันยังมีไม่มาก การฉีดวัคซีน การคัดกรอง การมีผ้ตู ้องขังระหว่าง ซึง่ ยังรอค�ำพิพากษา อาหาร ด้านสถานพยาบาล และด้านการก�ำจัดขยะและ
มะเร็ง การฝากครรภ์ ดูแลพัฒนาการเด็ก เป็นไปตามเกณฑ์ และด้วย การด�ำเนินการให้เสร็จสิ้นภายใน ๑ เดือน สิ่งปฏิกูล
ความสัมพันธ์ที่ดี จึงเป็นตัวเลขที่เหมาะสมกับบริบท ข้อมูลจากการสังเกตในการตรวจเยีย่ มพบว่า เรือนจ�ำกลาง
๓ ระบบการส่งต่อจัดเตรียมระบบบริการตามเกณฑ์มาตรฐานการควบคุม มีการจัดสิ่งจ�ำเป็นได้ดีกว่าทัณฑสถานหญิงและเรือนจ�ำ
ของกรมราชทัณฑ์ ยังอยู่ระหว่างการพัฒนาของโรงพยาบาลแม่ข่าย จังหวัด ทั้งนี้อาจเป็นเพราะอายุการใช้งานของเรือนจ�ำเป็น
ซึ่งบางแห่งยังมีข้อจ�ำกัด เรื่องพื้นที่ และงบประมาณ ปัจจัยส�ำคัญ
๔ ระบบ Telemedicine, Telepsychiatry มีการด�ำเนินการแล้วและอยู่
ระหว่างการพัฒนาในการเชื่อมประสานกับผู้เชี่ยวชาญในโรงพยาบาล
แม่ขา่ ย และกับผูเ้ ชีย่ วชาญของกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขด้วย
ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ เจ้าหน้าทีแ่ ดนพยาบาล สะท้อนให้เห็นการท�ำงาน
ทีด่ ขี นึ้ มีความร่วมมือ สนับสนุน จากโรงพยาบาลแม่ขา่ ย และส�ำนักงาน
สาธารณสุขจังหวัดเป็นอย่างดีอย่างเห็น ได้ชัด เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนมี
โครงการราชทัณฑ์ปันสุขฯ การมีโรงพยาบาลชุมชนเป็นโรงพยาบาล
แม่ข่าย พบว่า เป็นการท�ำงานร่วมกันได้อย่างดีทุกแห่ง ยกเว้น จังหวัด
ชลบุรี

166 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 167


ทัณฑสถานหญิง ทัณฑสถานหญิง ทัณฑสถานหญิง แดนหญิงเรือน
๓.๒.๕ การประเมินประสิทธิผลการท�ำงาน จ�ำกลาง
ชลบุรี พิ ษณุโลก เชียงใหม่ นครพนม
ของอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.)

ผลการเข้าตรวจเยีย่ มตามโครงการตรวจประเมินโครงการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข
ส�ำหรับผู้ต้องขังในเรือนจ�ำตามโครงการราชทัณฑ์ปันสุขฯ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับอาสาสมัคร เป็นอสรจ.ท�ำหน้าทีช่ ว่ ยเหลือ ท� ำ หน้ า ที่ แ ดนพฤติ นิ สั ย เป็นอสรจ.ช่วยงานในแดน ตอนติดคุกใหม่ๆ คิดมาก
ดู แ ลหญิ ง ตั้ ง ครรภ์ แ ละ ดูแลมุมฝึกอาชีพ เช่น การ โรงงานจักรผ้า สถานทีพ่ อ คิดถึงบ้านท�ำใจไม่ได้เลย
สาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) ระหว่างเดือนกรกฎาคม และสิงหาคม ๒๕๖๓ คณะผู้วิจัยได้ใช้ หลังคลอด “ได้ช่วยเหลือ ทอผ้ า การเย็ บ กระเป๋ า อยูไ่ ด้ ไม่แออัดมากนัก แต่ ท�ำไมโชคร้าย ตอนนี้เข้า
แบบสอบถามทีค่ ณะผูว้ จิ ยั สร้างขึน้ เองในการประเมินประสิทธิผลของการพัฒนาของอาสาสมัคร แม่ที่ติดคุก ได้ช่วยเลี้ยง การนวด ร้ า นเสริ ม สวย อยากให้เพิ่มเวลาอาบน�้ำ โครงการวิถธี รรม ก็ทำ� ใจได้
สาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) ใน ๓ กลุ่ม เด็ก ก็มีความสุขบ้าง ใน ผูต้ อ้ งขังมีรายได้ดจี ากงาน ทุกวันนี้อาบน�้ำรู้สึกว่ายัง บ้าง ฝึกอาชีพพวกงานปัก
ฐานะที่เราเคยเป็นแม่คน ฝึกอาชีพต่างๆ เหล่านี้ มี เอาฟองออกไม่หมดเลย ผ้ า ท� ำ ให้ มี ส มาธิ ม ากขึ้ น
ผู้ต้องขังประเมินอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) มาก่อน” ร้านค้าของเรือนจ�ำช่วยจัด หมดเวลา โดยเฉพาะเวลา เพื่ อ นๆ ในนี้ ก็ ดู แ ลกั น ดี
อาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) ประเมินตนเอง จ�ำหน่ายสินค้าทีบ่ า้ นเฟือ่ งฟ้า มีประจ�ำเดือน ออกไปยังไม่รู้จะท�ำอะไรดี
เจ้าหน้าทีผ่ ใู้ ห้บริการสุขภาพ (พยาบาล แพทย์ ทันตแพทย์) ประเมินอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) ภู มิ ใ จที่ ส ามารถใช้ เ วลา เพราะท�ำนาอย่างเดิมก็ไม่
ว่างในคุกให้เป็นประโยชน์ พอกินอีก เพื่อน อสรจ. อีก
๓.๒.๖ ผลการสัมภาษณ์กลุ่ม คนแนะน� ำ ให้ เ รี ย นเสริ ม
พอสรุปได้ดังตารางที่ ๗ ดังนี้ สวย ออกไปเปิดร้านรายได้
ตารางที่ ๗ หน้าทีค
่ วามรับผิดชอบของอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) พอเลี้ยงตัวได้ พวกกัวซา
ก็ดี เป็น อสรจ.แดนหญิง
ทัณฑสถานหญิง ทัณฑสถานหญิง ทัณฑสถานหญิง แดนหญิง ดู แ ลมุ ม สุ ข ภาพ คนอ่ า น
เรือนจ�ำกลาง
ชลบุรี พิ ษณุโลก เชียงใหม่ นครพนม หนังสือน้อย มีตา่ งชาติดว้ ย
อ่านไม่ออก คนสนใจท�ำ
กิ จ กรรมบ� ำ บั ด ตามแนว
ท�ำหน้าที่คัดกรองโรคเมื่อ ท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น อสรจ.ที่ ท�ำหน้าที่ อสรจ.แดนพยาบาล ท�ำหน้าที่เป็น อสรจ. แดน หมอเขียวมากกว่า พวกเสือ้ ชัน้ ใน
มีผู้ต้องขังรับใหม่ โดยการ โรงงานทอผ้า ได้รับการ โดยจะท�ำหน้าที่คัดกรอง พยาบาล ช่วยดูแลผูต้ อ้ งขัง ของใช้ส่วนตัว ผ้าอนามัย
สั ง เกตลั ก ษณะท่ า ทาง อบรม อสรจ.รุน่ ที่ ๒ ความ แรกรั บ ช่ ว ยเหลื อ กรณี สูงอายุ และผลิตน�ำ้ สมุนไพร เป็น อสรจ.แดนผู้สูงอายุ ปัจจุบันท�ำหน้าที่มุม To มีไม่ค่อยพอใช้ ต้องซื้อเพิ่ม
แล้ ว ซั ก ประวั ติ ต ามแบบ ภูมิใจคือได้ช่วยเหลือดูแล ผูต้ อ้ งขังรายใหม่ตอ้ งบ�ำบัด ตามสูตรหมอเขียว ก็ภมู ใิ จ จะคอยช่วยเหลือผู้สูงอายุ be number one และ จากร้านค้า
คัดกรอง ซึง่ พบว่าผูต้ อ้ งขัง เพือ่ นผูต้ อ้ งขังด้วยกัน โดย และช่วยเหลือดูแลทัว่ ๆ ไป ที่ท�ำตัวเป็นประโยชน์บ้าง ที่ ป ่ ว ยในการท� ำ กิ จ วั ต ร ฝึกอาชีพท�ำเบเกอรีม่ รี ายได้ดี
หญิงรายใหม่ส่วนใหญ่จะ เฉพาะคนที่ ม าใหม่ จะ สิ่งที่ภูมิใจคือ ได้ท�ำงาน ในเรือนจ�ำ อยากให้มีการ ประจ�ำวัน เช่น อาบน�ำ้ กินข้าว จากการท� ำ ขนมขายใน
โดนคดี ย าเสพติ ด จะยัง คอยดูแล และให้คำ� แนะน�ำ ช่วยเหลือเพือ่ นๆ มีปญ ั หา ผลิตสมุนไพรส�ำหรับรักษา กิ น ยา ภู มิ ใ จที่ ไ ด้ ดู แ ล เรือนจ�ำ บางที่มีงานเลี้ยง ท�ำหน้าที่ อสรจ. สูทกรรม มาสมัครเป็น อสรจ. หลังจาก
ปรับตัวไม่ได้ มีซมึ เศร้า ไม่ ให้ ห ายเศร้ า ชอบอ่ า น ตบตีกันบ้าง โดยเฉพาะ นวด ประคบ เพราะคนแก่ ผู้สูงอายุ เหมือนได้ดูแล ก็ จ ะมี ค นโทรมาสั่ ง ไป พบว่า พื้นที่แดนสูทกรรม อบรมได้ท�ำหน้าที่ที่แดน
ค่อยพูด เก็บตัว ตนเองจึง หนั ง สื อ ธรรมะ จะช่ ว ย แย่ ง ทอมกั น ตนเองจะ ปวดเมื่อยกันมาก ญาติผู้ใหญ่ จัดเลีย้ งหรืองานวันเกิดต่างๆ ลื่นมาก มีผู้ต้องขังได้รับ สูทกรรม เรือ่ งเมนูอาหาร
หลั ง ออกจากเรื อ นจ� ำ อุ บั ติ เ หตุ จ ากการลื่ น ล้ ม จะมีเจ้าหน้าที่โภชนาการ
คอยไปพูดคุย ปลอบใจ ให้ ดูแลหนังสือในมุมหนังสือ แนะน�ำให้ประพฤติตนดีดี
ตัง้ ใจจะไปเปิดร้านเบเกอรี่ บ่ อ ยๆ นอกจากพื้ น ที่ มาดูแล อาหารพอรับได้
ผู ้ ต ้ อ งขั ง รายใหม่ ค ่ อ ยๆ ของในแดนด้วย แต่เวลา จะได้ลดโทษ จะได้ออกเร็วๆ เพราะถ้ า ไปท� ำ งานตาม สูทกรรมลืน่ แล้ว พืน้ ห้องส้วม แต่ข้าวแข็งไปนิด คนแก่
ปรับตัวในการอยู่ในคุกได้ ท�ำงานไม่ค่อยได้อ่าน จะ บริษัท คงไม่มีใครรับคน ทุกแดนลื่นหมด ผู้สูงอายุ จะเคี้ยวยาก ปัญหาที่พบ
อ่ า นตอนกลั บ ไปเรื อ น ขีค้ กุ แบบเธอ คอยให้กำ� ลังใจ จะล� ำ บากมาก เคยเกิ ด บ่อยในแดนนีค้ อื อุบตั เิ หตุ
นอน เพื่อนๆ ชอบอ่ า น เพือ่ นๆ ทีต่ ดิ ยาด้วยกัน มา อุบตั เิ หตุลนื่ ล้มในห้องส้วม เล็กๆน้อยๆ เช่น หกล้ม
หนั ง สื อ ชี ว จิ ต หมอชาว ใหม่ๆ จะมีอาการเสีย้ นยา ด้วย อยากให้เรือนจ�ำช่วย มีปวดหลัง ปวดเอว ดีใจ
บ้ า น อยากให้ มี ห นั ง สื อ บ้าง ต้องช่วยกันจับ และ ปรับพื้นส่วนนี้ ที่ได้ท�ำอาหารสุขภาพให้
ใหม่ๆ มาเพิ่ม ระวังไม่ให้อาละวาด เพื่อนๆ กิน
168 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 169
ภาคผนวก

ภาคผนวก พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์


จ�ำนวน ๑๒๘,๙๐๐,๖๐๐ บาท เพื่ อด�ำเนินโครงการราชทัณฑ์ปันสุขฯ ระยะที่ ๒
มีเรือนจ�ำเป้าหมาย ๑๙ แห่ง ได้แก่

แผนการด�ำเนินงาน ๑. เรือนจ�ำอ�ำเภอธัญบุรี

โครงการราชทัณฑ์ปันสุขฯ ๒. เรือนจ�ำอ�ำเภอกบินทร์บุรี

๓. เรือนจ�ำอ�ำเภอกันทรลักษณ์
ระยะสั้น ระยะกลาง
(เริม
่ ต้นโครงการ - กรกฎาคม ๖๓) (สิงหาคม ๖๓ - ธันวาคม ๖๓) ๔. เรือนจ�ำอ�ำเภอนางรอง

๕. เรือนจ�ำอ�ำเภอรัตนบุรี
• คัดเลือก จัดหาและ • ติดตามและประเมินผล และแก้ไข
พระราชทานเครื่องมือแพทย์ ข้อขัดข้องในการด�ำเนินงานตามแผน
๖. เรือนจ�ำอ�ำเภอสีค้ว

• จัดท�ำหลักสูตร อสรจ. ระยะสั้น
เพื่ อพั ฒนาอาสาสมัคร • พั ฒนาโรงพยาบาลแม่ข่าย ๗. เรือนจ�ำอ�ำเภอพล
สาธารณสุขเรือนจ�ำ ทั้งด้านสถานที่ เครื่องมือและครุภัณฑ์
• จัดมุมเรียนรู้ด้านสุขภาพ ด้านการแพทย์ ๘. เรือนจ�ำอ�ำเภอเทิง
• การท�ำสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับสุขภาพ • รพ.แม่ข่าย ปรับปรุงสถานที่ใน รพ.
๙. เรือนจ�ำอ�ำเภอแม่สะเรียง
• จัดท�ำแดนแรกรับให้มีการคัดกรองโรค ให้เหมาะสมในการรับรู้ผู็ต้องขัง
• ติดตามประสานงานเกี่ยวกับ เป็นผู้ป่วยใน ๑๐. เรือนจ�ำอ�ำเภอสวรรคโลก
การสงเคราะห์ผู้ต้องขัง สูงอายุเจ็บป่วย • พั ฒนาระบบแพทย์ทางไกล
พิ การหลังปล่อยที่ไม่มีญาติ • การบริการด้านการแพทย์เฉพาะทาง ได้แก่ ๑๑. เรือนจ�ำอ�ำเภอหล่มสัก
จักษุกรรม จิตเวช ทันตกรรม เป็นต้น
• บูรณาการบริหารจัดการ ๑๒. เรือนจ�ำอ�ำเภอทองผาภูมิ
ด้านโรคติดต่อ ได้แก่
ระยะยาว การตรวจคัดกรอง
๑๓. เรือนจ�ำอ�ำเภอทุ่งสง

(ถาวร - มกราคม ๖๔ เป็นต้นไป) การตรวจสุขภาพผู้ต้องขัง ๑๔. เรือนจ�ำอ�ำเภอปากพนัง


เพื่ อคัดกรองโรคติดต่อ
• ด�ำเนินการต่อเนื่องตามแผน ระยะสั
้นและ • ปรับปรุงอนามัยสิ่งแวดล้อม ๑๕. เรือนจ�ำอ�ำเภอหลังสวน
ระยะกลางและด�ำเนินการต่อในเรือนจ�ำ การป้องกันโรค
ที่ยังไม่ได้ด�ำเนินการ และการส่งเสริมสุขภาพ ๑๖. เรือนจ�ำอ�ำเภอนาทวี
• รวบรวมข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย • อบรมเพิ่ มเติม และทบทวน
๑๗. เรือนจ�ำอ�ำเภอเบตง
ประเมินผลและพั ฒนาปรับปรุงแผน อาสาสมัครสาธารณสุข
• รายงานผลการด�ำเนินงานให้ เรือนจ�ำ ๑๘. เรือนจ�ำอ�ำเภอฝาง
คณะกรรมการทราบอย่างต่อเนื ่อง • พั ฒนาบุคลากรทางการ
แพทย์ในสถานพยาบาล ๑๙. เรือนจ�ำอ�ำเภอแม่สอด
เรือนจ�ำ

170 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 171


คณะที่ปรึกษา
• พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา
• พลอากาศเอก สุบิน ชิวปรีชา
• ศาสตราจารย์พิเศษวิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ
• นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต

คณะผู้จัดท�ำ
• อธิบดีกรมราชทัณฑ์
• ผู้อ�ำนวยการกองบริหารการสาธารณสุข ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
• ผู้อ�ำนวยการกองกลาง ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
• นายแพทย์พรเพชร ปัญจปิยะกุล
• นายแพทย์ศรุตพั นธุ์ จักรพั นธุ์ ณ อยุธยา
• นางพาหุรัตน์ คงเมือง ทัยสุวรรณ์
• นางวิราณี นาคสุข
• นายวรพงษ์ น้อยสุขเสริม
• นางจิรภา สินธุนาวา
• นายวีระกิตติ์ หาญปริพรรณ์
• นางอาภรณ์ แก้วเวียงชัย
• นางกนกวรรณ จิ๋วเชื้อพั นธุ์
• นางสุพรรณนา วางอภัย
• นายบุญธรรม บุญชูวงศ์
• นางสาวพรนภา นิมิตรธนะเศรษฐ์
• นางสาวทิพวัลย์ จันทร์ข�ำ
• นางสาวพั ชราภา กนิษฐานนท์

ฝ่ายภาพ
• นายสหพล เจริญศิลป์

บรรณาธิกร
• นางสาวนิดา ลีฬหวรงค์

ออกแบบและจัดพิ มพ์
• บริษัท บอช สแนป จ�ำกัด

172 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 173


174 ค ร บ ร อ บ ๑ ปี ร า ช ทั ณ ฑ์ ปั น สุ ข ท� ำ ค ว า ม ดี เพื่ อ ช า ติ ศ า ส น์ ก ษั ต ริ ย์ 175

You might also like