Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 68

แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ 2

วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความรู้เดิมของนักศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง “ภารกิจและการดาเนินการของฝ่าย


ปกครอง”
คาแนะนา ขอให้นักศึกษาอ่านคาถามแล้วเขียนวงกลมล้อมรอบข้อคาตอบที่ถูกต้องที่สุด

1. ข้อใดเป็นการดาเนินภารกิจของฝ่ายปกครองเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อยขึ้น
ก. บริการสาธารณะ
ข. ตารวจทางปกครอง
ค. ประโยชน์สาธารณะ
ง. สัญญาทางปกครอง
จ. การยุติธรรม
2. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับตารวจทางปกครอง
ก. ตารวจทางปกครองมีหน้าที่ในการ “ป้องกัน” มิให้เกิดความไม่สงบขึ้นในสังคม
ข. ตารวจทางปกครองมีหน้าที่ในการ “ปราบปราม” ความไม่สงบเรียบร้อยที่เกิดขึ้น
ค. ตารวจทางปกครองมีหน้าที่ในการ “ระงับ” ความไม่สงบเรียบร้อยที่เกิดขึ้น
ง. ตารวจทางปกครองมีหน้าที่ในการ “ดาเนินการ” เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน
จ. ตารวจทางปกครองมีหน้าที่ในการ “ปฏิบัติการ” เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน
3. ข้อใดไม่ใช่รูปแบบการดาเนินภารกิจของฝ่ายปกครองในการรักษาความสงบเรียบร้อย
ก. การออกคาสั่งทางปกครอง
ข. การออกกฎ
ค. การกระทาทางกายภาพ
ง. การทาสัญญาทางปกครอง
จ. การปฏิบัติการทางปกครอง
4. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับการใช้อานาจตารวจทางปกครอง
ก. การใช้อานาจตารวจทางปกครองมีลักษณะเป็นข้อตกลงระหว่างฝ่ายปกครองกับประชาชน
ข. การใช้อานาจตารวจทางปกครองมีลักษณะเป็นสัญญาระหว่างฝ่ายปกครองกับประชาชน
ค. การใช้อานาจตารวจทางปกครองมีลักษณะเป็นสัญญาประชาคมระหว่างฝ่ายปกครองกับประชาชน
ง. การใช้อานาจตารวจทางปกครองมีลักษณะเป็นการกระทาสองฝ่ายของฝ่ายปกครอง
จ. การใช้อานาจตารวจทางปกครองนั้นมีลักษณะเป็นการกระทาฝ่ายเดียวของฝ่ายปกครอง
5. ผู้ใช้อานาจตารวจทางปกครองแบ่งได้เป็นกี่ประเภท และได้แก่ประเภทใดบ้าง
ก. 1 ประเภท ได้แก่ ผู้ใช้อานาจตารวจทางปกครองทั่วไป
ข. 1 ประเภท ได้แก่ ผู้ใช้อานาจตารวจทางปกครองธรรมดา
ค. 2 ประเภท ได้แก่ ผู้ใช้อานาจตารวจทางปกครองทั่วไปและผู้ใช้อานาจตารวจทางปกครองเฉพาะด้าน
ง. 2 ประเภท ได้แก่ ผู้ใช้อานาจตารวจทางปกครองทั่วไป และผู้ใช้อานาจตารวจทางปกครองธรรมดา
จ. 2 ประเภท ได้แก่ ผู้ใช้อานาจตารวจทางปกครองธรรมดา และผู้ใช้อานาจตารวจทางปกครองเฉพาะกิจ
6. ข้อใดให้ความหมายของบริการสาธารณะได้ถูกต้องที่สุด
ก. กิจกรรมที่ดาเนินการโดยรัฐโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตอบสนองความต้องการของรัฐ
ข. กิจกรรมที่ดาเนินการโดยเอกชนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตอบสนองความต้องการของรัฐ
ค. กิจกรรมที่ดาเนินการโดยเอกชนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนส่วนใหญ่
ง. กิจกรรมที่ดาเนินการโดยรัฐโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนส่วนใหญ่
จ. กิจกรรมที่ดาเนินการโดยรัฐโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตอบสนองความต้องการของชาติ
7. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับประเภทของบริการสาธารณะในระบบกฎหมายปกครองฝรั่งเศส
ก. บริการสาธารณะที่มีลักษณะทางปกครอง และบริการสาธารณะที่มีลักษณะทางอุตสาหกรรม
และพาณิชยกรรม
ข. บริการสาธารณะที่มีลักษณะทางปกครอง และบริการสาธารณะที่มีลักษณะทางเอกชน
ค. บริการสาธารณะที่มีลักษณะทางปกครอง และบริการสาธารณะที่มีลักษณะทางสังคม
ง. บริการสาธารณะที่มีลักษณะทางมหาชน และบริการสาธารณะที่มีลักษณะทางเอกชน
จ. บริการสาธารณะที่มีลักษณะทางบวก และบริการสาธารณะที่มีลักษณะทางลบ
8. ข้อใดเป็นหลักเกณฑ์ขั้นพื้นฐานของบริการสาธารณะ
ก. หลักว่าด้วยความยุติธรรมในการแบ่งสันปันส่วน
ข. หลักว่าด้วยความยุติธรรมทางเลือก
ค. หลักว่าด้วยความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์
ง. หลักว่าด้วยความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
จ. หลักว่าด้วยการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
9. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับหลักว่าด้วยความต่อเนื่องของบริการสาธารณะ
ก. หลักว่าด้วยความต่อเนื่องของบริการสาธารณะเป็นหลักเกณฑ์ขั้นพื้นฐานของบริการสาธารณะ
ข. หลักว่าด้วยความต่อเนื่องของบริการสาธารณะเป็นผลที่เกิดขึ้นโดยตรงจากหลักว่าด้วยความต่อเนื่องของรัฐ
ค. บริการสาธารณะบางประเภทไม่จาเป็นต้องจัดทาตลอดเวลาเพียงแต่ต้องจัดทาอย่างสม่าเสมอ
ง. หลักว่าด้วยความต่อเนื่องของบริการสาธารณะทาให้รฐั ไม่สามารถมอบให้เอกชนเป็นผู้ดาเนินการแทนได้
จ. ผู้มีหน้าที่จัดทาบริการสาธารณะจะต้องดาเนินการจัดทาบริการสาธารณะอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง
10. บริการสาธารณะที่รัฐดาเนินการเองแบ่งได้เป็นกี่ประเภท และได้แก่ประเภทใดบ้าง
ก. 3 ประเภท คือ บริการสาธารณะระดับชาติ บริการสาธารณะระดับภูมิภาค และบริการสาธารณะระดับท้องถิ่น
ข. 3 ประเภท คือ บริการสาธารณะส่วนกลาง บริการสาธารณะส่วนภูมิภาค และบริการสาธารณะส่วนท้องถิ่น
ค. 2 ประเภท คือ บริการสาธารณะส่วนกลางและบริการสาธารณะส่วนท้องถิ่น
ง. 2 ประเภท ได้แก่ บริการสาธารณะระดับชาติ และบริการสาธารณะระดับท้องถิ่น
จ. 2 ประเภท คือ บริการสาธารณะระดับชาติ และบริการสาธารณะระดับนานาชาติ
แบบประเมินผลตนเองหลังเรียนหน่วยที่ 2
วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของนักศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง “ภารกิจและการดาเนินการ
ของฝ่ายปกครอง”
คาแนะนา ขอให้นักศึกษาอ่านคาถามแล้วเขียนวงกลมล้อมรอบข้อคาตอบที่ถูกต้องที่สุด

1. ข้อใดไม่ใช่ความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
ก. ความมั่นคง
ข. ความปลอดภัย
ค. ความสุข
ง. ความสงบสุข
จ. สุขอนามัย
2. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ “ตารวจทางปกครอง”
ก. ตารวจทางปกครองมีการดาเนินการที่จะรักษาความสงบเรียบร้อยด้วยการวางมาตรการที่จาเป็นไว้ล่วงหน้า
ข. การใช้อานาจตารวจทางปกครองมีลักษณะเป็นการกระทาฝ่ายเดียวของฝ่ายปกครอง
ค. ตารวจทางปกครองมีหน้าที่ในการ “ป้องกัน” มิให้เกิดความไม่สงบขึ้นในสังคม
ง. ตารวจทางปกครองมีหน้าที่ในการ “ปราบปราม” ความไม่สงบเรียบร้อยที่เกิดขึ้น
จ. ผู้มีอานาจตารวจทางปกครองอาจไม่ใช่เจ้าหน้าที่ตารวจก็ได้
3. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้อานาจตารวจทางปกครองโดย “การออกคาสั่งทางปกครอง”
ก. การออกคาสั่งทางปกครองเป็นการใช้อานาจฝ่ายเดียวของฝ่ายปกครอง
ข. การออกคาสั่งทางปกครองมีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์โดยเอกชนไม่ตกลงใจหรือสมัครใจด้วย
ค. การออกคาสั่งทางปกครองเอกเป็นเอกสิทธิของฝ่ายปกครอง
ง. การออกคาสั่งทางปกครองเป็นการออกคาสั่งที่มีผลบังคับทันทีโดยไม่จาต้องขอให้ศาลสั่ง
จ. การออกคาสั่งทางปกครองนั้นเป็นนิติกรรมทางปกครองฝ่ายเดียวที่มีลักษณะเป็นกฎ
4. ข้อใดไม่ใช่ผลทางกฎหมายของการใช้อานาจตารวจทางปกครอง
ก. กรณีที่มีข้อพิพาทเกิดขึ้นจะอยู่ในเขตอานาจของศาลยุติธรรม
ข. กรณีที่มีข้อพิพาทเกิดขึ้นจะอยู่ในเขตอานาจของศาลปกครอง
ค. กรณีที่ฝ่ายปกครองใช้อานาจเกินความจาเป็น ศาลจะเพิกถอนนิติกรรมทางปกครองนั้น
ง. กรณีที่ฝ่ายปกครองใช้อานาจโดยไม่มีกฎหมายให้อานาจ ฝ่ายปกครองต้องรับผิดเป็นการส่วนตัว
จ. กรณีที่เป็นนโยบายเชิงควบคุมที่สาคัญ ศาลจะเข้าไปควบคุมเท่าที่จาเป็นเท่านั้น
5. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับข้อจากัดในการใช้อานาจตารวจทางปกครอง
ก. การใช้อานาจตารวจทางปกครองอยู่ภายใต้หลักว่าด้วยความชอบด้วยกฎหมายของการกระทาทางปกครอง
ข. การใช้อานาจของตารวจทางปกครองมี ความ “สูงสุด” และ “ไม่มีข้อจากัด”
ค. การใช้อานาจตารวจทางปกครองอยู่ภายใต้การตรวจสอบของศาล
ง. การใช้อานาจตารวจทางปกครองใช้ได้เพียงเท่าที่จาเป็นต่อการรักษาความสงบเรียบร้อยในสังคม
จ. การใช้อานาจของตารวจทางปกครองเพื่อจากัดการใช้เสรีภาพ “เป็นข้อยกเว้น”
6. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับบริการสาธารณะ
ก. การจัดทาบริการสาธารณะเป็นไปเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนส่วนใหญ่
ข. การดาเนินภารกิจของรัฐในการจัดทาบริการสาธารณะเป็นการดาเนินการโดยนิติบุคคลมหาชน
ค. นิติบุคคลมหาชนอาจมอบอานาจให้เอกชนเป็นผู้ดาเนินการจัดทาบริการสาธารณะแทนได้ในบางกิจกรรม
ง. สัญญาที่ให้เอกชนจัดทาบริการสาธารณะเป็นสัญญาตามกฎหมายเอกชน
จ. สัญญาที่ให้เอกชนจัดทาบริการสาธารณะให้เอกสิทธิบางประการแก่ฝ่ายปกครองเหนือกว่าฝ่ายเอกชน
7. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับบริการสาธารณะที่มีลักษณะทางปกครอง
ก. การจัดทาบริการสาธารณะที่มีลักษณะทางปกครองมีขึ้นเพื่อสนองตอบความต้องการชองฝ่ายปกครอง
ข. บริการสาธารณะที่มีลักษณะทางปกครองส่วนใหญ่จะเป็นกิจการที่ประชาชนไม่ต้องเสียค่าตอบแทน
ค. ฝ่ายปกครองไม่สามารถมอบให้องค์กรอื่นหรือเอกชนเข้ามาดาเนินการจัดทาบริการสาธารณะแทนได้
ง. ศาลที่มีอานาจพิจารณาพิพากษาข้อพิพาทเกี่ยวกับบริการสาธารณะทางปกครองได้แก่ ศาลปกครอง
จ. ความรับผิดของฝ่ายปกครองสาหรับความเสียหายที่ผู้ใช้บริการได้รับเป็นความรับผิดในมูลละเมิด
8. ข้อใดเป็นหลักเกณฑ์ขั้นพื้นฐานของบริการสาธารณะ
ก. หลักว่าด้วยความเสมอภาค หลักว่าด้วยความต่อเนื่อง และหลักว่าด้วยความยุติธรรม
ข. หลักว่าด้วยความเสมอภาค หลักว่าด้วยความต่อเนื่อง และหลักว่าด้วยการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
ค. หลักว่าด้วยความเสมอภาค และหลักว่าด้วยความต่อเนื่อง
ง. หลักว่าด้วยความเสมอภาค และหลักว่าด้วยความยุติธรรม
จ. หลักว่าด้วยความต่อเนื่อง และหลักว่าด้วยการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
9. ข้อใดไม่ใช่บริการสาธารณะที่เป็นภารกิจพื้นฐาน (primary function)
ก. การป้องกันประเทศ
ข. การรักษาความสงบภายใน
ค. การจัดให้มีและบารุงรักษาทางบก ทางน้า
ง. การรักษาความมั่นคงและเสถียรภาพในทางเศรษฐกิจ
จ. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
10. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะสาคัญของสัมปทานบริการสาธารณะ
ก. สัมปทานบริการสาธารณะเป็นสัญญาทางปกครอง
ข. ทรัพย์สนิ ที่ผู้รับสัมปทานนามาใช้ไม่ได้รับความคุ้มครองเป็นพิเศษเหมือนกับทรัพย์สนิ ของรัฐ
ค. ฝ่ายปกครองมีอานาจควบคุมและมีอานาจกาหนดเงื่อนไขในการเพิกถอนสัมปทาน
ง. บริการสาธารณะทีฝ่ ่ายปกครองให้เอกชนรับสัมปทานไปดาเนินการนัน้ ต้องไม่เกี่ยวกับความมั่นคง
จ. เอกชนผู้รับสัมปทานมีสถานะเท่าเทียมกับฝ่ายปกครองผูใ้ ห้สัมปทาน
เฉลยแบบประเมินผลตนเองหน่วยที่ 2
ก่อนเรียน หลังเรียน
1. ข. 1. ค.
2. ก. 2. ง.
3. ง. 3. จ.
4. จ. 4. ก.
5. ค. 5. ข.
6. ง. 6. ง.
7. ก. 7. ก.
8. จ. 8. ข.
9. ข. 9. ค.
10. ง. 10. จ.
แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ 3
วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความรู้เดิมของนักศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง “การจัดองค์กรฝ่ายปกครอง”
คาแนะนา ขอให้นักศึกษาอ่านคาถามแล้วเขียนวงกลมล้อมรอบข้อคาตอบที่ถูกต้องที่สุด

1. การรวมอานาจการปกครองสามารถแบ่งได้กี่แบบ และได้แก่แบบใดบ้าง
ก. 1 แบบ ได้แก่ การรวมศูนย์อานาจการปกครอง
ข. 1 แบบ ได้แก่ การแบ่งการรวมศูนย์อานาจการปกครอง
ค. 2 แบบ ได้แก่ การรวมศูนย์อานาจการปกครอง และการกระจายอานาจการปกครอง
ง. 2 แบบ ได้แก่ การรวมศูนย์อานาจการปกครอง และการแบ่งการรวมศูนย์อานาจการปกครอง
จ. ไม่มีข้อใดถูก
2. ความสัมพันธ์ระหว่างราชการบริหารส่วนกลางและราชการบริหารส่วนภูมิภาคของไทยนั้นจัดเป็นความสั มพันธ์ใน
ลักษณะใด
ก. ความสัมพันธ์ในลักษณะของการกากับดูแล
ข. ความสัมพันธ์ในลักษณะของการประเมิน
ค. ความสัมพันธ์ในลักษณะของการบังคับบัญชา
ง. ความสัมพันธ์ในลักษณะของการตรวจสอบ
จ. ความสัมพันธ์ในลักษณะของการประสานภารกิจ
3. ข้อใดไม่ใช่ส่วนราชการที่อยู่ในสังกัดสานักนายกรัฐมนตรี
ก. สานักงบประมาณ
ข. สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
ค. สานักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
ง. สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
จ. สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
4. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการจัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาคของไทย
ก. การเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัดต้องตราเป็นพระราชบัญญัติ
ข. จังหวัดเป็นเขตการปกครองส่วนภูมิภาคที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของไทย
ค. การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาคเป็นไปตามหลักการแบ่งการรวมศูนย์อานาจปกครอง
ง. คณะกรมการจังหวัดทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการจังหวัดในการบริหารราชการแผ่นดินในจังหวัด
จ. พระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 กาหนดให้มี การจัดระเบียบราชการส่วนภูมิภาค 3
ระดับ คือ จังหวัด อาเภอ และตาบล
5. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการรักษาราชการแทน
ก. ผู้รักษาราชการแทนมีอานาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ซึ่งตนแทน
ข. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ได้กาหนดหลักเกณฑ์ในการรักษาราชการแทนไว้
ค. การกาหนดให้มีการรักษาราชการแทนได้เพื่อให้การบริหาราชการแผ่นดินเป็นไปด้วยความต่อเนื่อง
ง. กรณีมีตาแหน่งว่างลงและยังไม่มีการแต่งตั้งผู้ใดเข้ามาดารงตาแหน่งให้มีการรักษาราชการแทนได้
จ. การรักษาราชการแทนแบ่งได้เป็นการรักษาราชการแทนธรรมดา และการรักษาราชการแทนเฉพาะกิจ
6. ประเทศไทยมีการจัดการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษกี่แห่ง และได้แก่ที่ใด
ก. 1 แห่ง คือ การจัดการปกครองกรุงเทพมหานคร
ข. 1 แห่ง คือ การจัดการปกครองกรุงเทพมหานคร-ปริมณฑล
ค. 1 แห่ง คือ การจัดการปกครองกรุงเทพมหานคร-นนทบุรี
ง. 2 แห่ง คือ การจัดการปกครองกรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา
จ. 2 แห่ง คือ การจัดการปกครองกรุงเทพมหานครและเมืองหัวหิน
7. ประเทศไทยเริ่มใช้คาว่า “รัฐวิสาหกิจ” อย่างเป็นทางการในกฎหมายฉบับใด
ก. พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502
ข. พระราชบัญญัติสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ พ.ศ. 2502
ค. พระราชบัญญัติพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2521
ง. พระราชบัญญัติว่าด้วยการจัดตั้งองค์การของรัฐบาล พ.ศ. 2496
จ. พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสาหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518
8. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับลักษณะสาคัญของรัฐวิสาหกิจ
ก. รัฐวิสาหกิจมีฐานะเป็นนิติบุคคล
ข. รัฐวิสาหกิจจะได้รับค่าตอบแทนจากผู้ได้รับประโยชน์
ค. รัฐวิสาหกิจจะมีการจัดองค์กรของรัฐในรูปแบบของส่วนราชการ
ง. รัฐวิสาหกิจมีหน้าที่รับผิดชอบดาเนินการในภารกิจทางด้านอุตสาหกรรมและการค้า
จ. รัฐวิสาหกิจต้องอยู่ภายใต้ระบบการควบคุมตรวจสอบในลักษณะที่เรียกว่า “การกากับดูแล” จากรัฐ
9. ข้อใดไม่ใช่สิทธิพิเศษและเอกสิทธิที่รัฐให้กับรัฐวิสาหกิจ
ก. สิทธิพิเศษเกี่ยวกับทรัพย์สินของรัฐวิสาหกิจ
ข. สิทธิพิเศษทางการเงินและภาษีอากร
ค. สิทธิพิเศษในการจากัดเสรีภาพในการดาเนินการของเอกชน
ง. เอกสิทธิ์ในการใช้อานาจมหาชนอื่นของรัฐวิสาหกิจ
จ. สิทธิพิเศษในการเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
10. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับองค์การมหาชน
ก. องค์การมหาชนเป็นนิตบิ ุคคลตามกฎหมายเอกชน
ข. องค์การมหาชนเป็นนิติบคุ คลตามกฎหมายมหาชน
ค. องค์การมหาชนเป็นหน่วยงานของรัฐที่เป็นนิตบิ ุคคล
ง. องค์การมหาชนจะได้รับการจัดสรรงบประมาณจากรัฐบาล
จ. องค์การมหาชนอยู่ภายใต้การควบคุมในลักษณะของการกากับดูแลจากรัฐ
แบบประเมินผลตนเองหลังเรียนหน่วยที่ 3
วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของนักศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง “การจัดองค์กรฝ่ายปกครอง”
คาแนะนา ขอให้นักศึกษาอ่านคาถามแล้วเขียนวงกลมล้อมรอบข้อคาตอบที่ถูกต้องที่สุด

1. ข้อใดไม่ไช่ลักษณะสาคัญของการรวมอานาจปกครอง
ก. การรวมกาลังตารวจให้ขึ้นต่อส่วนกลาง
ข. การรวมกาลังทหารให้ขึ้นต่อส่วนกลาง
ค. การรวมบริการประสานภารกิจ
ง. การบังคับบัญชาเจ้าหน้าที่ตามลาดับชั้น
จ. การรวมอานาจวินิจฉัยสั่งการไว้ที่ส่วนกลาง
2. การกระจายอานาจปกครองสามารถแบ่งได้กี่ประเภท และได้แก่ประเภทใดบ้าง
ก. 1 ประเภท ได้แก่ การกระจายอานาจจากส่วนท้องถิ่น
ข. 1 ประเภท ได้แก่ การกระจายอานาจจากส่วนภูมิภาค
ค. 1 ประเภท ได้แก่ การกระจายอานาจจากส่วนกลาง
ง. 2 ประเภท ได้แก่ การกระจายอานาจจากส่วนกลาง และการกระจายอานาจจากส่วนภูมิภาค
จ. 2 ประเภท ได้แก่ การกระจายอานาจทางพื้นที่ และการกระจายอานาจตามบริการหรือตามภารกิจ
3. ข้อใดไม่อยู่ในการจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลางตามมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
แผ่นดิน พ.ศ. 2534
ก. กรม
ข. กอง
ค. ทบวง
ง. กระทรวง
จ. สานักนายกรัฐมนตรี
4. ข้อใดเป็นเขตการปกครองตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พระพุทธศักราช 2457
ก. อาเภอ กิ่งอาเภอ หมู่บ้าน
ข. อาเภอ ตาบล หมู่บ้าน
ค. อาเภอ กิ่งอาเภอ ตาบล
ง. กิ่งอาเภอ ตาบล หมู่บ้าน
จ. ไม่มีข้อใดถูก
5. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการมอบอานาจให้ปฏิบัติราชการแทน
ก. การมอบอานาจต้องทาเป็นหนังสือ
ข. เมื่อมีการมอบอานาจแล้ว ผู้รับมอบอานาจมีหน้าที่ต้องรับมอบอานาจนั้น
ค. ในกรณีที่มีตาแหน่งว่างลงอาจมอบอานาจให้มีการปฏิบัติราชการแทนได้
ง. ผู้มอบอานาจจะกาหนดให้ผู้รับมอบอานาจมอบอานาจให้ผู้ดารงตาแหน่งอืน่ ปฏิบตั ิราชการแทนต่อไปได้
จ. การมอบอานาจเป็นการกระจายอานาจการตัดสินใจเพิ่อมิให้ทุกเรื่องไปรวมอยู่ที่ผู้บงั คับบัญชาเพียงผู้เดียว
6. ในปัจจุบนั การจัดตัง้ องค์การบริหารราชการส่วนจังหวัดอยู่ภายใต้กฎหมายฉบับใด
ก. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด พ.ศ. 2496
ข. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด พ.ศ. 2498
ค. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด พ.ศ. 2499
ง. พระราชบัญญัติองค์การบริหารราชการส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
จ. พระราชบัญญัติองค์การบริหารราชการส่วนจังหวัด พ.ศ. 2566
7. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะสาคัญของรัฐวิสาหกิจ
ก. รัฐวิสาหกิจมีฐานะเป็นนิติบุคคล
ข. รัฐวิสาหกิจจะได้รับค่าตอบแทนจากผู้ได้รบั ประโยชน์
ค. รัฐวิสาหกิจมีภารกิจในการรักษาความสงบเรียบร้อยของสังคม
ง. รัฐวิสาหกิจมีหน้าที่รับผิดชอบดาเนินการในภารกิจทางด้านอุตสาหกรรมและการค้า
จ. รัฐวิสาหกิจต้องอยู่ภายใต้ระบบการควบคุมตรวจสอบในลักษณะที่เรียกว่า “การกากับดูแล” จากรัฐ
8. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับรัฐวิสาหกิจ
ก. รัฐวิสาหกิจจัดตั้งขึ้นตามหลักการกระจายอานาจทางพื้นที่
ข. การกากับดูแลรัฐวิสาหกิจนั้นเป็นการกากับดูแลทางเศรษฐกิจ
ค. รัฐวิสาหกิจประเภทบริษัทจากัดนั้นรัฐเข้าควบคุมโดยการเป็นผู้ถือหุ้นส่วนข้างมาก
ง. รัฐวิสาหกิจประเภทที่เป็นองค์การของรัฐบาลนั้นอยู่ภายใต้การกากับดูแลของรัฐ
จ. รัฐวิสาหกิจที่ไม่มีสภาพนิติบุคคลอยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐเช่นเดียวกับส่วนราชการโดยทั่วไป
9. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับองค์การมหาชน
ก. องค์การมหาชนจะได้รบั การจัดสรรงบประมาณจากรัฐบาล
ข. องค์การมหาชนจัดโครงสร้างการบริหารในรูปแบบคณะกรรมการบริหาร
ค. รัฐมีอานาจที่จะยุบเลิกองค์การมหาชนที่หมดความจาเป็นได้
ง. อานาจกากับดูแลองค์การมหาชนจะมีกาหนดไว้ในกฎหมายจัดตั้งองค์การมหาชนนั้น
จ. องค์การมหาชนมีความเป็นอิสระจึงไม่มีระบบการตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบตั ิงาน
10. ผู้ใดคือผู้บริหารองค์การมหาชนตามพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. 2542
ก. ผู้อานวยการ
ข. คณะกรรมการ
ค. คณะกรรมการและผู้อานวยการ
ง. ประธานกรรมการและผู้อานวยการ
จ. ประธานกรรมการและกรรมการ
เฉลยแบบประเมินผลตนเองหน่วยที่ 2
ก่อนเรียน หลังเรียน
1. ง. 1. ค.
2. ค. 2. จ.
3. ข. 3. ข.
4. จ. 4. ง.
5. จ. 5. ค.
6. ง. 6. ง.
7. ข. 7. ค.
8. ค. 8. ก.
9. จ. 9. จ.
10. ก. 10. ค.
แบบประเมินตนเองก่อนเรียนหน่ วยที่ 5…

วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความรู ้เดิมของนักศึกษาเกี่ยวกับเรื่ อง “...ชื่ อหน่วย.บุคลากรภาครัฐ..”


คำแนะนำ ขอให้นกั ศึกษาอ่านคาถาม แล้วเขียนวงกลมล้อมรอบคาตอบที่ถูกต้องที่สุด
------------------
1 ข้อใดไม่ใช่ขา้ ราชการประจา
ก) ลูกจ้างของรัฐสภา
ข) รัฐมนตรี
ค) พนักงานเทศบาล
ง) ข้าราชการทหาร
จ) ลูกจ้างของสานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง

2 ข้อใดเป็ นบุคลากรของส่ วนราชการ


ก) ข้าราชการพลเรื อน
ข) ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
ค) ลูกจ้างประจาของกระทรวงกลาโหม
ง) ทหารประจาการ
จ) ถูกทุกข้อ

3 ข้อใดไม่ใช่บุคลากรที่เป็ นข้าราชการ
ก) ข้าราชการกรุ งเทพมหานคร
ข) พนักงานส่ วนตาบล
ค) พนักงานจ้าง
ง) ข้าราชการองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด
จ) พนักงานเทศบาล

4 ข้อใดไม่ใช่บุคลากรภาครัฐประเภทพนักงาน
ก) พนักงานรัฐวิสาหกิจ
ข) พนักงานมหาวิทยาลัย
ค) เจ้าหน้าที่สานักงานคณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตแห่งชาติ
ง) เจ้าหน้าที่ของสานักงานผูต้ รวจการแผ่นดิน
จ) เจ้าหน้าที่ของสานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง
2

5 ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก) ข้าราชการพลเรื อนเป็ นบุ คคลผูไ้ ด้รับการบรรจุ และแต่ง ตั้งตามพระราชบัญญัติระเบี ย บ
ข้าราชการพลเรื อน พ.ศ.2551
ข) ข้าราชการพลเรื อนในพระองค์เป็ นบุคคลผูไ้ ด้รับการบรรจุและแต่งตั้งตามพระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการพลเรื อน พ.ศ.2551
ค) คณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน หรื อ ก.พ. เป็ นองค์กรกลางการบริ หารงานบุคคลของ
ข้าราชการพลเรื อน
ง) อนุ กรรมการสามัญ หรื อ อ.ก.พ.สามัญ มี3 ระดับ คือ อ.ก.พ. กระทรวง อ.ก.พ. กรม และ
อ.ก.พ.จังหวัด
จ) ข้าราชการพลเรื อนเป็ นผูท้ ี่ได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณหมวดเงินเดือน

6 ข้อใดไม่ใช่ประเภทตาแหน่งข้าราชการพลเรื อนสามัญ
ก) ตาแหน่งประเภทบริ หาร
ข) ตาแหน่งประเภทอานวยการ
ค) ตาแหน่งประเภทวิชาการ
ง) ตาแหน่งประเภทปฏิบตั ิการ
จ) ตาแหน่งประเภททัว่ ไป

7 ข้อใดไม่ใช่โทษทางวินยั ของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาที่ฝ่าฝื นข้อห้ามหรื อไม่ปฏิบตั ิตาม


ข้อปฏิบตั ิทางวินยั ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547
ก) ตัดเงินเดือน
ข) ปลดออก
ค) ไล่ออก
ง) เพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
จ) ภาคทัณฑ์
3

8 ข้อใดไม่ใช่อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการกลางข้าราชการองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด คณะกรรมการ


กลางพนักงานเทศบาล และคณะกรรมการกลางพนักงานส่ วนตาบล
ก) กาหนดมาตรฐานทัว่ ไปเกี่ยวกับคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามเบื้องต้นสาหรับข้าราชการ
หรื อพนักงานขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นแต่ละประเภท
ข) กาหนดแนวทางการพัฒนาการบริ หารงานบุคคลท้องถิ่นเพื่อรองรับการกระจายอานาจการ
ปกครองส่ วนท้องถิ่น
ค) กากับดูแล แนะนาและชี้แจง ส่ งเสริ มและพัฒนาความรู ้แก่ขา้ ราชการหรื อพนักงานส่ วน
ท้องถิ่น
ง) กาหนดมาตรฐานทัว่ ไปเกี่ยวกับอัตราตาแหน่งและมาตรฐานของตาแหน่ง
จ) กาหนดมาตรฐานทัว่ ไปเกี่ยวกับวินยั และการรักษาวินยั และการดาเนินการทางวินยั

9 ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับพนักงานราชการ
ก) บุคคลซึ่งได้รับการจ้างตามสัญญาจ้างกับส่ วนราชการ
ข) สัญญาจ้างพนักงานราชการให้ทาคราวละสี่ ปี หรื อตามโครงการที่มีกาหนดเวลาเริ่ มต้นและ
สิ้ นสุ ดไว้
ค) มีองค์กรกลางการบริ หารงานบุคคล คือ คณะกรรมการบริ หารพนักงานราชการ
ง) พนักงานราชการมี 2 ประเภท คือพนักงานราชการทัว่ ไป และพนักงานราชการพิเศษ
จ) บุคคลซึ่ งได้รับเงินค่าจ้างจากเงินนอกงบประมาณ

10 ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับลูกจ้าง
ก) ลูกจ้างได้รับเงินค่าจ้างจากงบประมาณหมวดเงินเดือน
ข) ลูกจ้างประจาเป็ นการจ้างไว้ปฏิบตั ิงานที่มีลกั ษณะประจา โดยไม่มีกาหนดเวลา
ค) การจ้างลูกจ้างชัว่ คราวอาจจ้างจากเงินนอกงบประมาณได้
ง) ลูกจ้างชัว่ คราว หมายความว่า ลูกจ้างรายเดือน รายวันและรายชัว่ โมง ที่จา้ งไว้ปฏิบตั ิงานที่
มีลกั ษณะชัว่ คราว
จ) ลูกจ้างประจาออกจากราชการเมื่อถูกสัง่ ลงโทษปลดออก ไล่ออก
4

แบบประเมินตนเองหลังเรียนหน่ วยที่ 5…

วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความรู ้เดิมของนักศึกษาเกี่ยวกับเรื่ อง “...ชื่ อหน่วย.บุคลากรภาครัฐ..”


คำแนะนำ ขอให้นกั ศึกษาอ่านคาถาม แล้วเขียนวงกลมล้อมรอบคาตอบที่ถูกต้องที่สุด
------------------
1 ข้อใดเป็ นบุคลากรภาครัฐ
ก. พนักงานกระทรวงสาธารณสุ ข
ข. พนักงานเมืองพัทยา
ค. พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย
ง. พนักงานราชการ
จ. ถูกทุกข้อ

2 บุคลากรภาครัฐข้อใดมีสถานะเป็ นข้าราชการ
ก. พนักงานจ้าง
ข. พนักงานส่ วนตาบล
ค. พนักงานมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
ง. พนักงานราชการ
จ. เจ้าหน้าที่สานักงานผูต้ รวจการแผ่นดิน

3 ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับรัฐวิสาหกิจ
ก. บุคลากรของรัฐวิสาหกิจไม่มีสถานะเป็ นข้าราชการ
ข. รัฐวิสาหกิจอาจจัดตั้งขึ้นในรู ปแบบของบริ ษทั จากัด
ค. การบริ หารงานบุคคลของรัฐวิสาหกิจเป็ นไปตามกฎหมายจัดตั้งรัฐวิสาหกิจนั้นๆ
ง. รัฐวิสาหกิจจัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรื อพระราชกฤษฎีกาเท่านั้น
จ. ไม่มีขอ้ ใดถูกต้อง

4 ข้อใดอยูใ่ นความหมายของข้าราชการทหาร
ก. ข้าราชการกลาโหม
ข. พลเรื อนที่บรรจุในอัตราทหาร
ค. ทหารกองประจาการ
ง. ทหารประจาการ
จ. ถูกทุกข้อ
5

5 ข้อใดไม่ใช่องค์กรกลางการบริ หารงานบุคลของข้าราชการพลเรื อนตามพระราชบัญญัติระเบียบ


ข้าราชการพลเรื อน พ.ศ.2551
ก. คณะอนุกรรมการสามัญประจาจังหวัด หรื อ อ.ก.พ. จังหวัด
ข. คณะกรรมการพิทกั ษ์ระบบคุณธรรม หรื อ ก.พ.ค.
ค. คณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน หรื อ ก.พ.
ง. คณะกรรมการข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา หรื อ ก.ค.ศ.
จ. คณะอนุกรรมการสามัญประจากระทรวง หรื อ อ.ก.พ. กระทรวง

6 ข้อใดไม่อยูใ่ นความหมายของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาตามพระราชบัญญัติระเบียบ


ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547
ก. ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
ข. ผูป้ ระกอบวิชาชีพครู ในสถานศึกษาของรัฐ
ค. ผูส้ นับสนุนการศึกษาซึ่งเป็ นผูท้ าหน้าที่ให้บริ การ หรื อปฏิบตั ิงานเกี่ยวเนื่องกับการเรี ยน
การสอน
ง. ข้าราชการพลเรื อนในสถาบันอุดมศึกษา
จ. ผูบ้ ริ หารการศึกษา

7 ข้อใดไม่ใช่โทษทางวินยั ของข้าราชการตารวจตามพระราชบัญญัติตารวจแห่งชาติ พ.ศ. 2565


ก. กักยาม
ข. ตัดเงินเดือน
ค. ลดเงินเดือน
ง. ทัณฑกรรม
จ. ภาคทัณฑ์

8 กาหนดระยะเวลาการอุทธรณ์คาสั่งลงโทษทางวินยั ของข้าราชการตารวจตามพระราชบัญญัติตารวจ
แห่งชาติ พ.ศ. 2565 จะต้องอุทธรณ์ภายในระยะเวลากี่วนั นับแต่ทราบคาสัง่
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
ค. 45 วัน
ง. 60 วัน
จ. 90วัน
6

9 ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับพนักงาน
ก. พนักงานจ้างเป็ นลูกจ้างขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
ข. หน่วยงานที่รับผิดชอบธุ รการศาล สานักงานศาลยุติธรรม สานักงานศาลรัฐธรรมนู ญ และ
สานักงานศาลปกครอง มีระเบียบว่าด้วยพนักงานราชการของหน่วยงานของตน
ค. พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทยเป็ นข้าราชการ
ง. พนักงานราชการเป็ นลูกจ้างของราชการส่ วนกลางและส่ วนภูมิภาค
จ. พนักงานจ้างตามภารกิจ มีกาหนดเวลาจ้างสี่ ปี

10 ข้อใดเป็ นหลักเกณฑ์การจ้างผูม้ ีอายุครบ 60 ปี เป็ นลูกจ้างชัว่ คราว


ก. เป็ นผูท้ ี่มีความเชี่ยวชาญชานาญงานเป็ นพิเศษ
ข. เป็ นกรณี ที่มีความจาเป็ นต้องใช้ความรู ้ความสามารถหรื อความเชี่ยวชาญเป็ นการเฉพาะราย
ค. เป็ นการจ้างในลักษณะที่เกี่ยวกับความไว้วางใจในงานที่มีความสาคัญ
ง. เป็ นการจ้างงานในลักษณะต่อเนื่อง บุคคลนั้นเป็ นผูร้ ิ เริ่ มหรื อบริ หารโครงการมาตั้งแต่ตน้
จ. ถูกทุกข้อ
7

เฉลยแบบประเมินตนเองหน่ วยที่ 5....

เฉลยแบบประเมินตนเองก่อนเรียน เฉลยแบบประเมินตนเองหลังเรียน
ข้ อ 1 ข. ข้ อ 1 จ
ข้ อ 2 จ ข้ อ 2 ข
ข้ อ 3 ค ข้ อ 3 ง
ข้ อ 4 ค ข้ อ 4 จ
ข้ อ 5 ข ข้ อ 5 ง
ข้ อ 6 ง ข้ อ 6 ง
ข้ อ 7 ง ข้ อ 7 ค
ข้ อ 8 ข ข้ อ 8 ข
ข้ อ 9 จ ข้ อ 9 ค
ข้ อ 10 ก ข้ อ 10 จ
แบบประเมินตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ 6

วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความรู้เดิมของนักศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง “ทรัพย์สินของรัฐ”


คำแนะนำ ขอให้นักศึกษาอ่านคำถาม แล้วเขียนวงกลมล้อมรอบคำตอบที่ถูกต้องที่สุด

1. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
ก) ทรัพย์สินของรัฐทุกประเภทมีสถานะเท่าเทียมกัน
ข) ทรัพย์สินของเอกชนมีสถานะเท่าเทียมกัน
ค) ทรัพย์สินของรัฐมีวัตถุประสงค์พิเศษเพื่อประโยชน์สาธารณะหรือประโยชน์ส่วนรวม
ง) ทรัพย์สินของรัฐมีสถานะเหนือกว่าทรัพย์สินของเอกชน
จ) ทรัพย์สินของรัฐคือทรัพย์สินทุกชนิดที่รัฐเป็นเจ้าของ

2. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงทรัพย์สินของแผ่นดินธรรมดาได้ถูกต้อง
ก) ทรัพย์สินของแผ่นดินธรรมดาได้แก่สังหาริมทรัพย์เท่านั้น
ข) ทรัพย์สินของแผ่นดินธรรมดาได้แก่อสังหาริมทรัพย์เท่านั้น
ค) ทรัพย์สินของแผ่นดินธรรมดารัฐสามารถใช้ประโยชน์ได้เช่นเดียวกับเอกชนทุกประการ
ง) ทรัพย์สินของแผ่นดินธรรมดารัฐสามารถใช้ประโยชน์ได้ตามเจตนาอิสระ
จ) ทรัพย์สินของแผ่นดินธรรมดารัฐสามารถใช้ประโยชน์ในฐานะคล้อยกับเอกชนเป็น
เจ้าของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของตน

3. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงผลของการเป็นทรัพย์สินของรัฐได้ถูกต้อง
ก) ทรัพย์สินของรัฐจะได้รับความคุ้มครองพิเศษยิ่งกว่าทรัพย์สินของเอกชน
ข) ทรัพย์สินของรัฐจะได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกับทรัพย์สินของเอกชนในสายตาของ
กฎหมาย
ค) ทรัพย์สินของรัฐมีสองประเภท กล่าวคือ สังหาริมทรัพย์กับอสังหาริมทรัพย์
ง) ทรัพย์สินของรัฐมีสองประเภท กล่าวคือ สาธารณสมบัติของแผ่นดินและทรัพย์สินของ
เอกชน
จ) ทรัพย์สินของรัฐย่อมได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายปกครอง
4. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงผลของการเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทสาธารณสมบัติของแผ่นดินได้ถูกต้อง
ก) สาธารณสมบัติของแผ่นดินอาจถูกยึดเพื่อชำระหนี้ได้เว้นแต่มีข้อตกลงพิเศษห้ามการยึด
ข) สาธารณสมบัติของแผ่นดินไม่อาจโอนให้แก่กันได้ทุกกรณี
ค) บุคคลใดไม่อาจยกอายุความขึ้นต่อสูเ้ พื่ออ้างสิทธิในสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
ง) ถูกทั้งข้อ ก) และข้อ ข)
จ) ถูกทุกข้อ

5. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก) การเวนคืนสิทธิในที่ดินให้แก่รัฐต้องทำโดยการเวนคืนตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืน
อสังหาริมทรัพย์เท่านั้น
ข) การอุทิศอสังหาริมทรัพย์ของตนให้เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินทำได้ก็แต่โดยการทำ
สัญญาอุทิศต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ค) การอุทิศอสังหาริมทรัพย์ของตนให้เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินทำได้ก็แต่โดยการทำ
เป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อเจ้าหน้าที่
ง) ผิดทุกข้อ
จ) ถูกทุกข้อ

6. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะสำคัญของระบบที่ดินในสมัยกรุงศรีอยุธยา
ก) พระมหากษัตริย์ทรงเป็นเจ้าของที่ดินทั้งปวง
ข) ประชาชนที่เป็นเจ้าของที่ดินอาจอ้างกรรมสิทธิ์ยันต่อประชาชนอีกคนได้
ค) เจ้าของที่ดินอาจเสียสิทธิในที่ดินได้ หากละทิ้งที่ดินไป
ง) ประชาชนมีสิทธิซื้อขายแลกเปลี่ยนที่ดินระหว่างกันได้
จ) ถูกทุกข้อ

7. เหตุการณ์ใดที่ทำให้ประเทศไทยรับเอาแนวคิดเกี่ยวกับสาธารณสมบัติของแผ่นดินเข้ามาในระบบที่ดิน
ก) การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
ข) การบังคับใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน
ค) การบังคับใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ง) การบังคับใช้ประมวลกฎหมายลักษณะอาญา
จ) การบังคับใช้พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พุทธศักราช 2457
8. ที่ดินของรัฐมีความหมายตรงกับข้อใด
ก) ที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน
ข) ที่ดินที่รัฐเป็นเจ้าของและมีกฎหมายกำหนดให้มีหน่วยงานมีหน้าที่ดูแลรักษา
ค) ที่ดินสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
ง) ที่ดินของพระมหากษัตริย์ตามกฎหมายว่าด้วยทรัพย์สินพระมหากษัตริย์
จ) ถูกทุกข้อ
9. กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการมีหน้าที่ดูแลรักษาที่ดินของรัฐประเภทใด
ก) ที่ป่าไม้
ข) ที่ราชพัสดุ
ค) ที่ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
ง) ที่นิคมสร้างตนเอง
จ) ที่ดินสาธารณสมบัติของแผ่นดินสำหรับประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน

10. หน่วยงานที่มีหน้าที่ดูแลรักษาที่ราชพัสดุคือหน่วยงานใด
ก) กรมที่ดิน
ข) กรมการปกครอง
ค) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
ง) กรมธนารักษ์
จ) กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
แบบประเมินตนเองหลังเรียนหน่วยที่ 6

วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของนักศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง “ทรัพย์สินของรัฐ”


คำแนะนำ ขอให้นักศึกษาอ่านคำถาม แล้วเขียนวงกลมล้อมรอบคำตอบที่ถูกต้องที่สุด

1. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก) ทรัพย์สินของรัฐหมายความว่าทรัพย์สินทุกชนิดที่ครอบครองแทนเอกชน
ข) ทรัพย์สินของรัฐต้องเป็นอสังหาริมทรัพย์ที่ใช้เพื่อประโยชน์สาธารณะเท่านั้น
ค) ทรัพย์สินของรัฐมีสถานะเท่าเทียมกับทรัพย์สินของเอกชน
ง) ทรัพย์สินของรัฐมีวัตถุประสงค์พิเศษเพื่อประโยชน์สาธารณะหรือประโยชน์ส่วนรวม
จ) ทรัพย์สินของรัฐทุกประเภทมีสถานะเท่าเทียมกัน

2. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงทรัพย์สินของแผ่นดินธรรมดาไม่ถูกต้อง
ก) ทรัพย์สินของแผ่นดินธรรมดาได้แก่สังหาริมทรัพย์เท่านั้น
ข) ทรัพย์สินของแผ่นดินธรรมดาได้แก่อสังหาริมทรัพย์เท่านั้น
ค) ทรัพย์สินของแผ่นดินธรรมดารัฐสามารถใช้ประโยชน์ได้เช่นเดียวกับเอกชนทุกประการ
ง) ถูกทุกข้อ
จ) ผิดทุกข้อ

3. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงผลของการเป็นทรัพย์สินของรัฐได้ถูกต้อง
ก) ทรัพย์สินของรัฐจะได้รับความคุ้มครองพิเศษยิ่งกว่าทรัพย์สินของเอกชน
ข) ทรัพย์สินของรัฐมีสองประเภท กล่าวคือ ทรัพย์สินของแผ่นดินธรรมดากับสาธารณ
สมบัติของแผ่นดิน
ค) ทรัพย์สินของรัฐย่อมได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายปกครอง
ง) ถูกเฉพาะข้อ ก) และข้อ ข)
จ) ถูกทุกข้อ
4. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงผลของการเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทสาธารณสมบัติของแผ่นดินได้ถูกต้อง
ก) สาธารณสมบัติของแผ่นดินไม่อาจถูกยึดเพื่อชำระหนี้ได้ทุกกรณี
ข) สาธารณสมบัติของแผ่นดินไม่อาจโอนให้แก่กันได้ทุกกรณี
ค) บุคคลอาจยกอายุความขึ้นต่อสู้สาธารณสมบัติของแผ่นดินได้
ง) ถูกเฉพาะข้อ ก) และข้อ ข)
จ) ถูกทุกข้อ

5. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก) ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับเอกชนในสาธารณสมบัติของแผ่นดินเป็นความสัมพันธ์ที่เท่า
เทียมกัน ดังนั้น เอกชนย่อมอ้างสิทธิใดๆ เช่น สิทธิครอบครองใช้ยังต่อรัฐได้
ข) ความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชนในสาธารณสมบัติของแผ่นดินเป็นความสัมพันธ์ที่
เท่าเทียมกัน ดังนั้น เอกชนย่อมอ้างสิทธิใดๆ เช่น สิทธิครอบครองใช้ยังต่อเอกชนราย
อื่นได้
ค) ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับเอกชนในสาธารณสมบัติของแผ่นดินเป็นความสัมพันธ์ที่เท่า
เทียมกัน ดังนั้น รัฐย่อมอาจกระทำผิดฐานบุกรุกที่ดินของรัฐที่เอกชนครอบครองได้
ง) ความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชนในสาธารณสมบัติของแผ่นดินเป็นความสัมพันธ์ที่
ไม่เท่าเทียมกัน ดังนั้น เอกชนที่ครอบครองที่ดินของรัฐอยู่ก่อนจึงไม่อาจอ้างสิทธิ
ครอบครองใช้ยันต่อเอกชนรายอื่นได้
จ) ผิดทุกข้อ

6. ข้อใดถือเป็นลักษณะสำคัญของระบบที่ดินในสมัยกรุงศรีอยุธยา
ก) ประชาชนไม่สิทธิซื้อขายแลกเปลี่ยนเปลี่ยนที่ดินระหว่างกันได้
ข) พระมหากษัตริย์ทรงเป็นเจ้าของที่ดินทั้งปวง
ค) ประชาชนมีสิทธิเหนือที่ดินเบาบางมาก
ง) ประชาชนมีเพียงสิทธิครอบครองที่ดินเท่านั้น
จ) ถูกทุกข้อ
7. การบังคับใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มีผลต่อระบบที่ดินของประเทศไทยอย่างไร
ก) กรรมสิทธิ์ในที่ดินของเอกชนได้รับการรับรองอย่างสมบูรณ์
ข) แยกทรัพย์สินของรัฐและทรัพย์สินของเอกชนจากกันอย่างชัดเจน
ค) ทำให้คนต่างด้าวถือครองที่ดินในประเทศไทยได้
ง) เกิดแนวคิดเกี่ยวกับสาธารณสมบัติของแผ่นดินในระบบที่ดิน
จ) แยกทรัพย์สินหรือที่ดินของรัฐที่ใช้ในราชการของแผ่นดินทั่วไปและในราชการส่วน
พระองค์ออกจากกัน

8. ที่ดินของรัฐมีความหมายตรงกับข้อใด
ก) ที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน
ข) ที่ดินที่รัฐเป็นเจ้าของและมีกฎหมายกำหนดให้มีหน่วยงานมีหน้าที่ดูแลรักษา
ค) ที่ดินสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
ง) ที่ดินของพระมหากษัตริย์ตามกฎหมายว่าด้วยทรัพย์สินพระมหากษัตริย์
จ) ถูกทุกข้อ

9. กรมประชาสงเคราะห์ เดิมเคยมีหน้าที่ดูแลรักษาที่ดินของรัฐประเภทใด
ก) ที่ป่าไม้
ข) ที่ราชพัสดุ
ค) ที่ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
ง) ที่นิคมสร้างตนเอง
จ) ที่ดินสาธารณสมบัติของแผ่นดินสำหรับประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน

10. กรมการปกครองและกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นมีหน้าที่ดูแลรักษาที่ดินของรัฐประเภทใด
ก) ที่ป่าไม้
ข) ที่ป่าสงวน
ค) ที่ดินสาธารณสมบัติของแผ่นดินสำหรับประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน
ง) ที่ราชพัสดุ
จ) ที่นิคมสร้างตนเอง
เฉลยแบบประเมินตนเองหน่วยที่ 6

เฉลยแบบประเมินตนเองก่อนเรียน เฉลยแบบประเมินตนเองหลังเรียน
ข้อ 1 ก ข้อ 1 ง
ข้อ 2 จ ข้อ 2 ง
ข้อ 3 ก ข้อ 3 ง
ข้อ 4 ค ข้อ 4 ก
ข้อ 5 ง ข้อ 5 ข
ข้อ 6 ง ข้อ 6 จ
ข้อ 7 ค ข้อ 7 ง
ข้อ 8 ข ข้อ 8 ข
ข้อ 9 ง ข้อ 9 ง
ข้อ 10 ง ข้อ 10 ค
แบบประเมินตนเองก่อนเรียน หน่วยที่ 7

1. ความรับผิดของฝ่ายปกครองเป็นผลมาจากหลักกฎหมายในข้อใด
ก. หลักความเป็นกลางในการพิจารณาทางปกครอง
ข. หลักความสมเหตุสมผลของการกระทำทางปกครอง
ค. หลักการให้บริการสาธารณะต้องกระทำอย่างต่อเนื่อง
ง. หลักความชอบด้วยกฎหมายของการกระทำทางปกครอง
จ. หลักความมั่นคงแน่นอนแห่งนิติฐานะของคำสั่งทางปกครอง

2. ผู้ใดต้องรับผิดต่อผู้เสียหายในผลแห่งละเมิดที่เจ้าหน้าที่ได้กระทำในการปฏิบัติหน้าที่
ก. เจ้าหน้าที่ผู้กระทำการนั้นเอง
ข. ผู้บังคับบัญชาของเจ้าหน้าที่
ค. หน่วยงานของรัฐต้นสังกัดของเจ้าหน้าที่
ง. ทั้งเจ้าหน้าที่และหน่วยงานของรัฐต้องรับผิดร่วมกัน
จ. ไม่มีผู้ใดต้องรับผิดเนื่องจากเป็นการปฏิบัติหน้าที่ราชการ

3. ข้อใดคือหลักการใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหายในคดีปกครอง
ก. ไม่จำเป็นต้องเป็นผู้เสียหายโดยตรงก็ได้
ข. หน่วยงานทางปกครองไม่อาจถูกตัดสินให้จ่ายเงินที่ไม่ควรจ่าย
ค. ต้องเป็นความเสียหายที่เป็นรูปร่างที่คำนวณเป็นจำนวนเงินได้เท่านั้น
ง. หน่วยงานทางปกครองต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนตามจำนวนที่ผู้เสียหายเรียกร้อง
จ. การใช้ค่าสินไหมทดแทนสำหรับความเสียหายที่จะเกิดในอนาคตไม่อาจกระทำได้

4. ข้อใดคือลักษณะของความเสียหายที่ฝ่ายปกครองต้องรับผิดบนพื้นฐานหลักความเสมอภาคของบุคคลในการ
รับภาระสาธารณะ
ก. เป็นความเสียหายในปัจจุบันเท่านั้น
ข. เป็นความเสียหายที่คำนวณเป็นจำนวนเงินได้
ค. เป็นความเสียหายที่กระทบต่อประโยชน์ส่วนรวม
ง. เป็นความเสียหายที่เกิดจากการกระทำของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
จ. เป็นความเสียหายที่แท้จริงและมีลักษณะพิเศษที่ไม่ปกติธรรมดา
5. การกระทำในข้อใดทีเ่ จ้าหน้าที่ต้องรับผิดเองโดยหน่วยงานของรัฐไม่ต้องรับผิด
ก. เจ้าพนักงานที่ดินออกโฉนดที่ดินรุกล้ำที่ดินของเจ้าของที่ดินรายอื่น
ข. อุบัติเหตุทางรถยนต์เกิดขึ้นในขณะที่เจ้าหน้าที่ขับรถยนต์ส่วนตัวไปราชการ
ค. ผู้บังคับบัญชาออกคำสั่งลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชาโดยมีเจตนาเพื่อกลั่นแกล้งผู้นั้น
ง. อุบัติเหตุทางรถยนต์เกิดขึ้นเนื่องจากรถยนต์ของทางราชการขาดการบำรุงรักษา
จ. การยักยอกเงินของทางราชการโดยอาศัยช่องว่างที่หน่วยงานไม่ได้กำหนดกฎเกณฑ์ไว้

6. ข้อใดคือข้อจำกัดของการบังคับใช้พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539


ก. ต้องนำกรณีพิพาทไปฟ้องยังศาลปกครองเท่านั้น
ข. เป็นข้อพิพาทระหว่างเจ้าหน้าที่กับหน่วยงานของรัฐ
ค. ต้องนำกฎหมายปกครองมาใช้บังคับกับกรณีพิพาท
ง. บุคคลภายนอกไม่สามารถเรียกค่าเสียหายจากหน่วยงานของรัฐ
จ. ใช้บังคับกับเฉพาะความผิดของเจ้าหน้าที่ที่กระทำในระหว่างรับราชการ

7. ข้อใดคือหลักการสำคัญของกฎหมายความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ก. ใช้บังคับกับคดีพิพาททางปกครองเท่านั้น
ข. ใช้บังคับกับเฉพาะความผิดของเจ้าหน้าที่ที่กระทำในระหว่างรับราชการ
ค. เป็นกฎหมายที่ให้ความคุ้มครองสิทธิของบุคคลภายนอกมากกว่าเจ้าหน้าที่
ง. ตราขึ้นด้วยเหตุผลที่ต้องการให้เป็นกฎหมายกำหนดแนวปฏิบัติราชการทางปกครอง
จ. เป็นกฎหมายที่ให้ความคุ้มครองแก่หน่วยงานของรัฐจากการกระทำละเมิดของเจ้าหน้าที่

8. ข้อใดคือข้อพิจารณาในการให้หน่วยงานทางปกครองต้องรับผิดต่อผู้เสียหาย (คือลักษณะของความเสียหายที่
เป็นเหตุให้หน่วยงานทางปกครองต้องรับผิด)
ก. ต้องมีความเสียหายร้ายแรงเกิดขึ้น
ข. ต้องเป็นความเสียหายที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
ค. เป็นความเสียหายที่กระทบต่อประโยชน์สาธารณะ
ง. เป็นความเสียหายที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากการปฏิบัติหน้าที่ราชการ
จ. ผลของความเสียหายไม่จำเป็นต้องเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่
9. ผู้เสียหายในคดีปกครองหมายถึงใคร
ก. เจ้าหน้าที่ของรัฐ
ข. คณะกรรมการตามกฎหมาย
ค. ลูกจ้างในหน่วยงานทางปกครอง
ง. เอกชนที่อยู่ในบังคับของคำสั่งทางปกครอง
จ. ถูกทุกข้อ

10. การกระทำในข้อใดที่ฝ่ายปกครองต้องรับผิด
ก. การกระทำของรัฐบาล
ข. การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์
ค. การออกโฉนดที่ดินทับที่สาธารณะ
ง. การบังคับคดีตามคำพิพากษาของศาล
จ. การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกันระหว่างรัฐบาลและรัฐสภา
แบบประเมินตนเองหลังเรียนหน่วยที่ 7

1. หลักการกระทำทางปกครองต้องชอบด้วยกฎหมายถูกนำมาใช้กับฝ่ายปกครองในเรื่องใด
ก. สัญญาทางปกครอง
ข. การแจ้งคำสั่งทางปกครอง
ค. มาตรการบังคับทางปกครอง
ง. ความรับผิดของฝ่ายปกครอง
จ. การอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง

2. หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดต่อผู้เสียหายในผลแห่งละเมิดแทนเจ้าหน้าที่ในกรณีใด
ก. เจ้าหน้าที่ได้กระทำในการปฏิบัติหน้าที่
ข. เจ้าหน้าที่ได้กระทำการไปโดยความประมาทเลินเล่อ
ค. เจ้าหน้าที่ได้กระทำการโดยมีเจตนาแสวงหาประโยชน์ส่วนตน
ง. ผู้เสียหายไม่สามารถเรียกร้องให้เจ้าหน้าที่รับผิดใช้ค่าเสียหายได้
จ. ผู้เสียหายได้ร้องขอต่อหน่วยงานของรัฐต้นสังกัดของเจ้าหน้าที่ให้รับผิด

3. ข้อใดคือหลักการใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหายในคดีปกครอง
ก. หน่วยงานทางปกครองจะจ่ายได้ไม่เกินกว่าความรับผิดจริงเท่านั้น
ข. ต้องเป็นความเสียหายที่เป็นผลโดยตรงที่เกิดจากการกระทำของฝ่ายปกครอง
ค. ความเสียหายนั้นอาจเป็นรูปร่างหรือไม่เป็นรูปร่างก็ได้ถ้าเป็นความเสียหายที่แน่นอน
ง. เป็นความเสียหายในปัจจุบันหรือในอนาคตก็ได้ที่มีความแน่นอนและสามารถคำนวณเป็นตัวเงินได้
จ. ถูกทุกข้อ

4. ข้อพิจารณาทีใ่ ห้ฝ่ายปกครองต้องรับผิดในความเสียหายที่แท้จริงและมีลักษณะพิเศษที่ไม่ปกติธรรมดาถูก
นำมาใช้ในหลักการข้อใด
ก. หลักการใช้อำนาจดุลพินิจของฝ่ายปกครอง
ข. หลักความสมเหตุสมผลของการกระทำทางปกครอง
ค. หลักความเสมอภาคของบุคคลในการรับภาระสาธารณะ
ง. หลักการเพิกถอนคำสั่งทางปกครองโดยให้มีผลย้อนหลัง
จ. หลักความชอบด้วยกฎหมายของการกระทำทางปกครอง
5. การกระทำในข้อใดทีถ่ ือเป็นความรับผิดเฉพาะตัวของเจ้าหน้าที่
ก. เจ้าพนักงานที่ดินออกโฉนดที่ดินทับซ้อนกับที่ดินที่มีเอกสารสิทธิของเจ้าของที่ดินรายอื่น
ข. อุบัติเหตุทางรถยนต์เกิดขึ้นในขณะที่เจ้าหน้าที่ขับรถยนต์ส่วนตัวเพื่อไปราชการ
ค. เจ้าหน้าที่ตำรวจขับรถยนต์ส่วนตัวไปเฉี่ยวชนกับรถยนต์คันอื่น
ง. เจ้าหน้าที่ตัดต้นไม้และทอนกิ่งไม้ที่ชาวบ้านปลูกอยู่บนที่ดินของเทศบาล
จ. เจ้าหน้าที่ยักยอกเงินของทางราชการโดยอาศัยช่องว่างที่หน่วยงานไม่ได้กำหนดกฎเกณฑ์ไว้

6. ข้อใดคือข้อจำกัดของการบังคับใช้พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539


ก. ต้องนำกรณีพิพาทไปฟ้องยังศาลปกครองเท่านั้น
ข. เป็นข้อพิพาทระหว่างเจ้าหน้าที่กับหน่วยงานของรัฐ
ค. ต้องนำกฎหมายปกครองมาใช้บังคับกับกรณีพิพาท
ง. บุคคลภายนอกไม่สามารถเรียกค่าเสียหายจากหน่วยงานของรัฐ
จ. ไม่ใช้บังคับกับบุคคลภายนอกผู้ทำละเมิดต่อทรัพย์สินของหน่วยงานของรัฐ

7. ข้อใดไม่ใช่หลักการสำคัญของกฎหมายความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ก. ใช้บังคับกับคดีพิพาททางปกครองเท่านั้น
ข. ใช้บังคับกับเฉพาะความผิดของเจ้าหน้าที่ที่กระทำในระหว่างรับราชการ
ค. ไม่ใช้บังคับกับบุคคลภายนอกผู้ทำละเมิดต่อทรัพย์สินของหน่วยงานของรัฐ
ง. ใช้บังคับกับความผิดที่เจ้าหน้าที่กระทำด้วยความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
จ. ใช้บังคับกับเฉพาะขั้นตอนการปฏิบัติที่ยังไม่ได้ดำเนินการหรือที่อยู่ในระหว่างการดำเนินการ

8. ข้อใดคือลักษณะของความเสียหายที่เป็นเหตุให้หน่วยงานทางปกครองต้องรับผิด
ก. ต้องมีความเสียหายร้ายแรงเกิดขึ้น
ข. ต้องเป็นความเสียหายที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
ค. เป็นความเสียหายที่เกิดจากภัยธรรมชาติ
ง. เป็นความเสียหายที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากการปฏิบัติหน้าที่ราชการ
จ. ผลของความเสียหายไม่จำเป็นต้องเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่
9. ผู้ใดคือผู้ที่อาจตกเป็นผู้เสียหายในคดีปกครอง
ก. เจ้าหน้าที่ของรัฐ
ข. ลูกจ้างในหน่วยงานทางปกครอง
ค. เอกชนที่อยู่ในบังคับของคำสั่งทางปกครอง
ง. ชุมชนใกล้เคียงโรงงานที่ได้รับใบอนุญาตให้ตั้งโรงงาน
จ. ถูกทุกข้อ

10. การกระทำในข้อใดที่ฝ่ายปกครองต้องรับผิด
ก. การกระทำของรัฐบาล
ข. การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์
ค. การขุดคลองรุกล้ำที่ดินเอกชน
ง. การบังคับคดีตามคำพิพากษาของศาล
จ. การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกันระหว่างรัฐบาลและรัฐสภา
เฉลย

แบบประเมินตนเองก่อนเรียน หน่วยที่ 7 แบบประเมินตนเองหลังเรียน หน่วยที่ 7

1. ง 1. ง

2. ค 2. ก

3. ข 3. จ

4. จ 4. ค

5. ค 5. ค

6. จ 6. จ

7. ข 7. ก

8. ง 8. ง

9. จ 9. จ

10. ค 10. ค
1

แบบประเมินตนเองก่อนเรียน หน่วยที่ 8
1.ประเทศที่ พั ฒ นาในทางกฎหมายปกครองแล้ วจะมี การจั ด กลุ่ ม ของการกระท าทาง
ปกครองโดยอาศัยสิ่งใด
ก.รูปแบบในทางปกครอง
ข.วิธีการทางปกครอง
ค.ลักษณะของการกระทำทางปกครอง
ง.อัตลักษณ์ในทางปกครอง
จ.สารัตถะในทางปกครอง

2.การตรากฎหมายตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ต้องไม่ขัด


ต่อหลักการในข้อใด
ก.หลักสิทธิของประชาชน
ข.หลักความได้สัดส่วน
ค.หลักอำนาจอธิปอธิปไตย
ง.หลักนิติธรรม
จ.หลักสิทธิมนุษยชน

3.ข้อใดคือสิทธิและเสรีภาพประเภทที่รัฐสภาไม่สามารถตรากฎหมายมาจากัดได้
ก.สิทธิและเสรีภาพสัมพันธ์
ข.สิทธิและเสรีภาพสมบูรณ์
ค.สิทธิและเสรีภาพสัมพัทธ์
ง.สิทธิและเสรีภาพสำคัญ
จ.สิทธิและเสรีภาพพื้นฐาน
2

4.หลักนิติรัฐมีจุดเริ่มต้นมาจากหลักในข้อใด
ก.หลักกฎหมายแพ่ง
ข.หลักกฎหมายอาญา
ค.หลักกฎหมายรัฐธรรมนูญ
ง.หลักกฎหมายปกครอง
จ.หลักกฎหมายระหว่างประเทศ

5.ข้อใดไม่ใช่คาสั่งทางปกครอง
ก.การสั่งการ
ข.การรับจดทะเบียน
ค.การรับรอง
ง.การออกกฎ
จ.การอนุญาต

6.การสั่งให้เป็นผู้ทิ้งงานถือเป็น คาสั่งทางปกครองตามกฎกระทรวงที่ออกตามความใน
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ในข้อใด
ก.กฎกระทรวงฉบับที่ 9
ข.กฎกระทรวงฉบับที่ 10
ค.กฎกระทรวงฉบับที่ 11
ง.กฎกระทรวงฉบับที่ 12
จ.กฎกระทรวงฉบับที่ 13

7.ข้อใดไม่ใช่สิทธิของผู้รับผลกระทบจากคาสั่งทางปกครอง
ก.สิทธิตรวจดูเอกสารของเจ้าหน้าที่
ข.สิทธิเรียกค่าตอบแทนในการเดินทางไปติดต่อหน่วยงานราชการ
ค.สิทธิที่จะมีที่ปรึกษาทางกฎหมาย
ง.สิทธิได้รับแจ้งผลกระทบต่อสิทธิ
จ.สิทธิได้รับคำแนะนำและได้รับแจ้งสิทธิหน้าที่ในกระบวนการพิจารณา
3

8.ข้อใดคือกรณีที่หน่วยงานของรัฐกระทาการโดยใช้กาลังทางกายภาพ
ก.คำสั่งทางปกครอง
ข.คำสั่งทั่วไป
ค.ปฏิบัติการทางปกครอง
ง.สัญญาทางปกครอง
จ.สัญญาของฝ่ายปกครอง

9.หากต้องการทราบนิยามของคาว่า “สัญญาทางปกครอง” ต้องศึกษาจากกฎหมายใน


ข้อใด
ก.พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.2540
ข.พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.2541
ค.พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.2542
ง.พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.2543
จ.พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.2544

10.ข้อใดคือสัญญาทางปกครอง
ก.สัญญาแสวงประโยชน์ทางทรัพยากรธรรมชาติ
ข.สัญญาสัมปทาน
ค.สัญญาจัดให้มีสิ่งสาธารณูปโภค
ง.สัญญาที่ให้จัดทำบริการสาธารณะ
จ.ถูกทุกข้อ
4

แบบประเมินตนเองหลังเรียนหน่วยที่ 8
1.การบังคับใช้กฎหมายของฝ่ายการเมืองจะปรากฏรายละเอียดในกฎหมายตามข้อใด
ก.กฎหมายระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
ข.กฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
ค.กฎหมายรัฐธรรมนูญ
ง.กฎหมายจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
ง.กฎหมายการคลัง

2.การตรากฎหมายตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 จะตรา


กฎหมายไปกระทบต่อสิ่งใดมิได้
ก.หน้าที่ของประชาชน
ข.สิทธิของประชาชน
ค.ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
ง.ความเป็นพลเมือง
จ.ประวัติศาสตร์ของรัฐ

3.สิทธิและเสรีภาพในเรื่องใดที่เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองไม่สามารถบังคับใช้กฎหมายให้ไป
กระทบได้
ก.เชื้อชาติ
ข.ภาษา
ค.เพศ
ง.สภาพทางกาย
จ.ถูกทุกข้อ
5

4.หลักนิติรัฐมีที่มาจากแนวคิดของนักปรัชญาในข้อใด
ก.เพลโต
ข.อริสโตเติล
ค.อันเบิร์ต เวนน์ ไดซีย์
ง.มองเตสกิเออร์
จ.อดัม สมิธ

5.ข้อใดคือกฎหมายที่ปรากฏความหมายของคาสั่งทางปกครอง
ก.พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539
ข.พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ 2535
ค.พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ 2539
ง.พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ 2560
จ.พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ 2540

6.การไม่ให้ทุนการศึกษาถือเป็นคาสั่งทางปกครองที่ออกตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติ
ราชการทางปกครองในข้อใด
ก.กฎกระทรวงฉบับที่ 9
ข.กฎกระทรวงฉบับที่ 10
ค.กฎกระทรวงฉบับที่ 11
ง.กฎกระทรวงฉบับที่ 12
จ.กฎกระทรวงฉบับที่ 13

7.ข้อใดคือสิทธิของผู้รับผลกระทบจากคาสั่งทางปกครอง
ก.สิทธิตรวจดูเอกสารของเจ้าหน้าที่
ข.สิทธิเรียกค่าชดเชยจากรัฐ
ค.สิทธิในการขอดูเอกสารลับ
ง.สิทธิได้รับการขยายเวลาอุทธรณ์ร้องทุกข์
จ.สิทธิได้รับคำแนะนำโดยไม่จำกัดเวลา
6

8.การที่องค์การบริหารส่วนตาบลดาเนินการขุดลอกคูคลองคือการกระทาทางปกครองใน
ข้อใด
ก.คำสั่งทางปกครอง
ข.คำสั่งทั่วไป
ค.ปฏิบัติการทางปกครอง
ง.สัญญาทางปกครอง
จ.สัญญาของฝ่ายปกครอง

9.ข้อใดไม่ใช่สัญญาทางปกครอง
ก.สัญญาสัมปทาน
ข.สัญญาเช่าสถานที่จากเอกชนเพื่อเป็นที่ทำการของรัฐ
ค.สัญญาที่ให้จัดทำบริการสาธารณะ
ง.สัญญาจัดให้มีสิ่งสาธารณูปโภค
จ.สัญญาแสวงประโยชน์ทางทรัพยากรธรรมชาติ

10.สั ญ ญาทางปกครองของไทยได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลในเรื่ อ งสั ญ ญาทางปกครองจากระบบ


กฎหมายของประเทศใด
ก.สหรัฐอเมริกา
ข.ญี่ปุ่น
ค.สเปน
ง.ฝรั่งเศส
จ.เยอรมนี
7

เฉลย
แบบประเมินตนเองก่อนเรียน หน่วยที่ 8
1.ค
2.ง
3.ข
4.ข
5.ง
6.ง
7.ข
8.ค
9.ค
10.จ

แบบประเมินตนเองหลังเรียน หน่วยที่ 8

1.ค
2.ค
3.จ
4.ง
5.ก
6.ง
7.ก
8.ค
9.ข
10.ง
แบบประเมินผลตนเองกอนเรียนหนวยที่ 10
วัตถุประสงค เพื่อประเมินความรูเดิมของนักศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง “การพิจารณาทางปกครอง”
คําแนะนํา ขอใหนักศึกษาอานคําถามแลวเขียนวงกลมลอมรอบขอคําตอบที่ถูกตองที่สุด

1. ขอใดตอไปนี้หมายถึงการพิจาณาทางปกครอง
ก.วิธีปฏิบัติราชการของเจาหนาที่ในการใชอํานาจตามกฎหมาย
ข.กระบวนการออกคําสั่งทางปกครอง
ค.การเตรียมการและการดําเนินการของ เจาหนาที่เพื่อจัดใหมีคําสั่งทางปกครอง
ง.วิธีปฏิบัติราชการของเจาหนาที่ในการใชอํานาจตามกฎหมาย
จ.ถูกทุกขอ
2. ขอใดตอไปนี้หมายถึงคูกรณี
ก.บุคคลธรรมดา คณะบุคคล หรือนิติบุคคล
ข.ผูซึ่งไดเขามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง เนื่องจากสิทธิของผูนั้นจะถูกกระทบกระเทือนจากผลของ
คําสั่งทางปกครอง
ค.ทุกคนที่มีสวนเกี่ยวของกับเรื่องที่พิจารณา
ง.ผูยื่นคําขอหรือผูคัดคานคําขอ ผูอยูในบังคับหรือจะอยูในบังคับของคําสั่งทางปกครอง
จ. ไมมีขอใดถูก
3. ขอใดตอไปนี้หมายถึงเจาหนาที่
ก.บุคคลคนเดียว เชน ผูวาราชการจังหวัด นายกเทศมนตรี นายกรัฐมนตรี
ข.บุคคล คณะบุคคล หรือนิติบุคคล ซึ่งใชอํานาจหรือไดรับมอบหมายใหใชอํานาจทางปกครองของรัฐ
ค.เจาหนาที่ผูดํารงตําแหนง
ง.เจาหนาที่ผูรับมอบอํานาจ
จ. ถูกทุกขอ
4. ขอใดตอไปนี้หมายถึงคําสั่งทางปกครอง
ก. การใชอํานาจฝายเดียวของฝายปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐเพื่อใหเอกชนปฏิบัติตาม
ข. การใชอํานาจตามกฎหมายของเจาหนาที่
ค.การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ
ง. การสั่งใหเปนผูทิ้งงาน
จ. ถูกทุกขอ
5. ผลของคําสั่งทางปกครองมีผลเมื่อใด
ก. มีผลทางกฎหมายทันทีเมื่อไดรับแจงเปนตนไป
ข. มีผลทางกฎหมายทันที
ค. มีผลทางกฎหมายเมื่อไดออกคําสั่งทางปกครองสําเร็จ
ง. มีผลทางกฎหมายเมื่อผูรับคําสั่งทางปกครองไดรับทราบ
จ.ถูกทุกขอ
2

6. เงื่อนไขในคําสั่งทางปกครองมีขอใดบาง
ก. การกําหนดใหสิทธิหรือภาระหนาที่เริ่มมีผลหรือสิ้นผล ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง โดยเปนเวลาที่แนนอนที่จะให
เกิดผลหรือสิ้นผล
ข.การกําหนดใหการเริ่มมีผลหรือสิ้นผลของสิทธิหรือภาระหนาที่ตองขึ้นอยูกับเหตุการณในอนาคตที่ไมแนนอน
ค.ขอสงวนสิทธิที่จะยกเลิกคําสั่งทางปกครอง หากมีเหตุการณใดเกิดขึ้นก็จะพิจารณาวาจะยกเลิกหรือไม
ง.การกําหนดใหผูไดรับประโยชนตองกระทําหรืองดเวนกระทําหรือตองมีภาระหนาที่ยอมรับภาระหนาที่หรือความ
รับผิดชอบบางประการหรือการกําหนดขอความในการจัดใหมี เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มขอกําหนดดังกลาว
จ.ถูกทุกขอ
7. การสิ้นผลของคําสั่งทางปกครองมีกรณีใดบาง
ก.การเพิกถอน
ข.การยกเลิก
ค.การกําหนดเงื่อนไข
ง.การกําหนดเงื่อนเวลา
จ.ถูกทุกขอ
8. การแจงคําสั่งทางปกครองทําไดในกรณีใดบาง
ก.ทางไปรษณีย ลงทะเบียน
ข.แจงโดยสงกับผูรับคําสั่ง
ค. แจงโดยการโฆษณา
ง. ทางวาจา
จ. ถูกทุกขอ
9. การขอใหทุเลาการบังคับตามคําสั่งทางปกครองมีผลอยางไร
ก. คําสั่งทางปกครองสิ้นผลบังคับเปนการชั่วคราว
ข. คําสั่งทางปกครองมีผลบังคับจนกวาจะมีการยกเลิกเพิกถอนคําสั่ง
ค. คําสั่งทางปกครองมีผลกับคูกรณีทั้งสองฝาย
ง. คําสั่งทางปกครองไมมผี ลกับคูกรณีทั้งสองฝาย
จ. ไมมีขอใดถูก
10. ระยะเวลาการขอพิจารณาใหมมีกี่วัน
ก.คูกรณีตองยื่นคําขอใหพิจารณาใหมภายในเกาสิบวัน
ข.คูกรณีตองยื่นคําขอใหพิจารณาใหมภายในสิบหาวัน
ค.คูกรณีตองยื่นคําขอใหพิจารณาใหมภายในสามสิบวัน
ง.คูกรณีตองยื่นคําขอใหพิจารณาใหมภายในสิบวัน
จ.ไมมีขอใดถูก
3

แบบประเมินผลตนเองหลังเรียนหนวยที่ 10
วัตถุประสงค เพื่อประเมินความกาวหนาในการเรียนรูข องนักศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง “การพิจารณาทางปกครอง”
คําแนะนํา ขอใหนักศึกษาอานคําถามแลวเขียนวงกลมลอมรอบขอคําตอบที่ถูกตองที่สุด

1. ขอใดเปนที่มาของการตราพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539


ก.รัฐบาลไดดําริใหมีการปฏิรูประบบราชการ
ข.ผลักดันใหการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ของรัฐตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงใหทันสมัย
ค.คุมครองประชาชนผูรับคําสั่งทางปกครอง
ง.ปรับปรุงขั้นตอนในระบบราชการใหมีประสิทธิภาพ
จ.ถูกทุกขอ
2. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับหลักวาดวยการไมยึดแบบพิธีและการพิจารณาโดยเปดเผย
ก.มีการพิจารณาที่เปดเผย มีความโปรงใส ความถูกตอง
ข.ใหคูกรณีใดเขาถึงพยานหลักฐานตาง ๆ เทาที่ไมทําใหประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการเสียหาย
ค.เจาหนาที่อาจไมอนุญาตใหตรวจดูเอกสารหรือพยานหลักฐานได ถาเปนกรณีที่ตองรักษาไวเปนความลับ
ง.คณะรัฐมนตรีอาจวางระเบียบกําหนดหลักเกณฑและวิธีการเพื่อใหเจาหนาที่กําหนดเวลาสําหรับการพิจารณาทางปกครองขึ้นไว
ตามความเหมาะสมแกกรณี
จ.ถูกทุกขอ
3. ขอใดเปนหลักยอยของหลักความชอบดวยกฎหมายของการกระทําทางปกครอง
ก.หลักการกระทําทางปกครองตองไมขัดตอกฎหมายและหลักไมมีกฎหมาย ไมมีอํานาจ
ข.หลักการวาดวยการใชดุลพินิจและหลักการกระทําทางปกครองตองไมขัดตอรัฐธรรมนูญ
ค.หลักการกระทําทางปกครองตองไมขัดตอกฎหมายและหลักการวาดวยการใชดุลพินิจ
ง.หลักการกระทําทางปกครองตองไมขัดตอรัฐธรรมนูญและหลักไมมีกฎหมาย ไมมีอํานาจ
จ. ไมมีขอใดถูก
4. ขอใดตองคํานึงถึงในการการเพิกถอนคําสั่งทางปกครอง
ก.ความมั่นคงแหงสิทธิที่เกิดขึ้นสืบเนื่องมาจากคําสัง่ ทางปกครอง
ข.ปกปองผูที่เชื่อโดยสุจริตในผลของคําสั่งทางปกครอง
ค.พิจารณาประโยชนของผูอยูในบังคับของคําสั่งทางปกครองและผูไ ดรับผลกระทบจากคําสัง่ ทางปกครอง
ง.พิจารณาประโยชนสาธารณะ
จ.ถูกทุกขอ
5. พระราชบัญญัติวธิ ีปฏิบตั ิวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ไมใชบังคับองคกรหรือหนวยราชการตามขอใด
ก. รัฐสภา
ค. การดําเนินกิจการทางศาสนา
ข. การดําเนินงานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
ง. คณะรัฐมนตรี
จ.ถูกทุกขอ
4

6. ขอใดเปนคําสั่งทางปกครอง
ก. การสั่งรับหรือไมรับคําเสนอขาย รับจาง แลกเปลี่ยน ใหเชา ซื้อ เชา หรือใหสิทธิประโยชน
ข การอนุมัติสั่งซื้อ จาง แลกเปลี่ยน เชา ขาย ใหเชา หรือใหสิทธิประโยชน
ค การสั่งใหเปนผูทิ้งงาน
ง การใหหรือไมใหทุนการศึกษา
จ.ถูกทุกขอ
7. กรณีทั่วไป คูกรณีอาจอุทธรณคําสั่งทางปกครองไดภายในกีว่ ัน
ก. 7 วัน
ข. 15 วัน
ค. 30 วัน
ง. 1 ป
จ.ถูกทุกขอ
8. การเพิกถอนคําสั่งทางปกครองที่มีลักษณะเปนการใหประโยชนตองกระทําภายในกี่วนั นับแตไดรูถึงเหตุที่จะให
เพิกถอนคําสั่งทางการปกครองนั้น
ก. 30 วัน
ข. 60 วัน
ค. 90 วัน
ง. 120 วัน
จ.ถูกทุกขอ
9. ขอใดดังตอไปนี้ ผูรับคําสั่งทางปกครองจะอางความเชื่อโดยสุจริตไมได
ก. ผูนั้นไดแสดงขอความอันเปนเท็จหรือปกปดขอความจริงซึ่งควรบอกใหแจง ขมขู หรือชักจูงใจโดยการใหทรัพยสิน
หรือประโยชนอื่นใดอันมิชอบ
ข. ผูนั้นใหใชขอความซึ่งไมถูกตองหรือไมครบถวนในสาระสําคัญ
ค. ผูนั้นไมรูขอเท็จจริงและขอกฎหมาย
ง. ถูกทั้งขอ ก.และขอ ข
จ. ไมมีขอใดถูก
10. การแจงคําสั่งทางปกครองโดยวิธีสงทางไปรษณียตอบรับ ใหถือวาไดรับแจงเมื่อครบกําหนดเวลาตามขอใด
ก. 5 วันนับแตสงสําหรับกรณีภายในประเทศ หรือ 7 วันนับแตวันที่สงสําหรับกรณีสงไปยังตางประเทศ
ข. 7 วันนับแตวันสงสําหรับกรณีภายในประเทศ หรือ 15 วัน นับแตวนั สงสําหรับกรณีสงไปยังตางประเทศ
ค. 15 วันนับแตวันสงสําหรับกรณีภายในประเทศ หรือ 30 วัน นับแตวนั สงสําหรับกรณีสงไปยังตางประเทศ
ง. 20 วันนับแตวนั สงสําหรับกรณีภายในประเทศ หรือ 45 วันนับแตวันสงสําหรับกรณีสงไปยังตางประเทศ
จ. ไมมีขอใดถูก
5

เฉลยแบบประเมินผลตนเองหนวยที่ 10
กอนเรียน หลังเรียน
1. ค. 1. จ.
2. จ. 2. จ.
3. จ. 3. ก.
4. จ. 4. จ.
5. ก. 5. จ.
6. จ. 6. จ.
7. จ. 7. ข.
8. จ. 8. ค.
9. ก. 9. ง.
10. ก. 10. ข.
แบบประเมินตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ 11

ผลลัพธ์การเรียนรู้ เพื่อประเมินความรู้เดิมของนักศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง “การบังคับทางปกครอง”


คาแนะนา ขอให้นักศึกษาอ่านคำถาม แล้วเขียนวงกลมล้อมรอบคำตอบที่ถูกต้องที่สุด
-------------------------------------------
1. คำสั่งตามข้อใดที่สามารถใช้มาตรการบังคับทางปกครองได้
ก) คำสั่งให้นาย ก. ออกจากราชการ
ข) คำสั่งออกใบอนุญาตให้นาย ข. ประกอบกิจการโรงแรม
ค) คำสั่งให้นาย ค. ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนอันเกิดจากการกระทำละเมิด
ง) คำสั่งให้นาย ง. ดำรงตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้น
จ) คำสั่งให้นาย จ. รื้อถอนอาคาร แต่มีการทุเลาการบังคับทางปกครองโดยเจ้าหน้าที่ผู้ออกคำสั่ง

2. เจ้าหน้าที่ตามข้อใดเป็นผู้มีอำนาจใช้มาตรการบังคับทางปกครองสำหรับกรณีที่โยธาธิการจังหวัดออกคำสั่ง
ให้รื้อถอนอาคารที่ก่อสร้างโดยไม่ได้รับอนุญาต
ก) ผู้ว่าราชการจังหวัด
ข) นายอำเภอ
ค) ปลัดอำเภอ
ง) อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง
จ) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

3. กรมการปกครองมีคำสั่งเรียกให้นายทองซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนจากการกระทำละเมิด
ในการปฏิบ ัติห น้าที่เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2566 แต่ต่อมาในวัน ที่ 31 มกราคม 2566 นายทองเสียชีวิต
กรมการปกครองจะยังสามารถบังคับทางปกครองต่อไปได้หรือไม่
ก) ไม่ได้ เนื่องจากนายทองเสียชีวิตแล้ว
ข) ไม่ได้ กรมการปกครองต้องไปใช้สิทธิเรียกร้องทางศาล
ค) ไม่ได้ เนื่องจากยังไม่มีการยึดหรืออายัดทรัพย์สินของนายทองไว้
ง) ได้ โดยถือเสมือนหนึ่งนายทองยังมีชีวิตอยู่
จ).ได้ โดยการบังคับทางปกครองแก่ทายาทหรือผู้จัดการมรดก
4. ข้อใดกล่าวถึงคุณสมบัติของเจ้าพนักงานบังคับทางปกครองได้ถูกต้อง
ก) ต้องจบการศึกษาด้านกฎหมายเท่านั้น
ข) ต้องดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าระดับชำนาญการ
ค) ต้องผ่านการอบรมด้านการบังคับคดีจากกรมบังคับคดี
ง) ต้องเป็นผู้ดำรงตำแหน่งนิติกรของหน่วยงานเท่านั้น
จ) ต้องรับราชการมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปี

5. ทรัพย์สินตามข้อใดไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับทางปกครอง
ก) เงินเดือนของผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองซึ่งเป็นข้าราชการ
ข) หนี้เงินกู้ที่ผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองเป็นเจ้าหนี้
ค) สิทธิบัตรของผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครอง
ง) สลากออมสินของผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครอง
จ) ที่ดินซึ่งมีชื่อผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองเป็นเจ้าของร่วมกับน้องสาว

6. หน่วยงานของรัฐต้องดำเนินการยึดหรืออายัดทรัพย์สินภายในระยะเวลาเท่าใด
ก) ภายใน 10 ปีนับแต่วันที่ออกคำสั่งทางปกครอง
ข) ภายใน 10 ปีนับแต่วันที่คำสั่งทางปกครองเป็นที่สุด
ค) ภายใน 10 ปีนับแต่วันที่สืบพบทรัพย์สิน
ง) ภายใน 10 ปีนับแต่วันที่ออกคำสั่งเตือน
จ) ภายใน 10 ปีนับแต่วันที่ออกคำสั่งยึดหรืออายัดทรัพย์สิน

7. หน่วยงานใดที่ไม่อาจขอให้กรมบังคับคดีดำเนินการบังคับทางปกครองแทนได้
ก) กระทรวงการคลัง
ข) สำนักงาน ก.พ.
ค) กรุงเทพมหานคร
ง) กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
จ) การรถไฟแห่งประเทศไทย
8. หากกรมทางหลวงชนบทประสงค์ให้กรมบังคับคดีดำเนินการยึดที่ดินของนายขาวซึ่งตั้งอยู่ที่อำเภอเมือง
จังหวัดน่าน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ และอำเภอเมือง จังหวัดเชียงรายโดยนายขาวมีภูมิลำเนาอยู่ที่จังหวัด
อ่างทอง ศาลใดที่ไม่มีเขตอำนาจที่จะรับคำขอให้ศาลแต่งตั้งเจ้าพนักงานบังคับคดีของกรมทางหลวงชนบทไว้
พิจารณาได้
ก) ศาลจังหวัดอ่างทอง
ข) ศาลจังหวัดเชียงใหม่
ค) ศาลจังหวัดน่าน
ง) ศาลปกครองกลาง
จ) ศาลจังหวัดเชียงราย

9. กรณีที่กรมทางหลวงมีคำสั่งให้นางฟ้ารื้อถอนป้ายโฆษณาที่เป็นอันตรายต่อผู้สัญจรไปมาในเขตทางหลวง
หากนางฟ้าไม่ยอมดำเนินการ มาตรการบังคับทางปกครองใดไม่ใช่มาตรการที่กรมทางหลวงจะนำมาใช้บังคับ
ให้นางฟ้าปฏิบัติตามคำสั่งได้
ก) การเรียกค่าปรับบังคับการ
ข) การเรียกค่าปรับเป็นพินัย
ค) การเข้ารื้อถอนป้ายโฆษณาเอง
ง) การจ้างให้เอกชนเข้ารื้อถอนป้ายโฆษณา
จ) ถูกทุกข้อ

10. ข้อใดมิใ ช่ ข้ อ มูล ที่ ถู ก ต้ องที่ ต้ องระบุ ในคำเตื อนก่ อ นการใช้ม าตรการบัง คับ ตามคำสั ่ง ทางปกครอง
ที่กำหนดให้กระทำหรือละเว้นกระทำ
ก) ระยะเวลาที่ต้องปฏิบัติตามคำสั่ง
ข) จำนวนค่าปรับบังคับการ
ค) เงินเพิ่มและค่าใช้จ่ายในการที่เจ้าหน้าที่เข้าดำเนินการเอง
ง) มาตรการในการบังคับที่จะเลือกใช้โดยสามารถระบุได้หลายมาตรการ
จ) ถูกทุกข้อ
แบบประเมินตนเองหลังเรียนหนวยที่ 11

ผลลัพธ์การเรียนรู้ เพื่อประเมินความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของนักศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง “การบังคับทาง


ปกครอง”
คาแนะนา ขอให้นักศึกษาอ่านคำถาม แล้วเขียนวงกลมล้อมรอบคำตอบที่ถูกต้องที่สุด
-------------------------------------------
1. คำสั่งตามข้อใดทีไ่ ม่สามารถใช้มาตรการบังคับทางปกครองได้
ก) คำสั่งให้ผู้ฝ่าฝืนกฎหมายชำระค่าปรับทางปกครอง
ข) คำสั่งให้รื้อถอนสิ่งปลูกสร้างที่รุกล้ำที่สาธารณะ
ค) คำสั่งให้เจ้าหน้าที่ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนอันเกิดจากการกระทำละเมิด
ง) คำสั่งที่ศาลปกครองมีคำสั่งทุเลาการบังคับทางปกครอง
จ) คำสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนข้าราชการ

2. เจ้าหน้าที่ตามข้อใดเป็นผู้มีอำนาจใช้มาตรการบังคับทางปกครองสำหรับกรณีที่อธิบดีกรมราชทัณฑ์ออก
คำสั่งให้เจ้าหน้าที่ซึ่งกระทำละเมิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
ก) อธิบดีกรมราชทัณฑ์
ข) ปลัดกระทรวงยุติธรรม
ค) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
ง) นายกรัฐมนตรี
จ) คณะรัฐมนตรี

3. กรมการปกครองมีคำสั่งเรียกให้นายทองซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนจากการกระทำละเมิด
ในการปฏิบัติหน้าที่เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2566 แต่ต่อมากรมการปกครองทราบว่านายทองเสียชีวิตไปแล้ว
ตั้งแต่วันที่ 31 มกราคม 2566 กรณีดังกล่าวกรมการปกครองจะยังสามารถบังคับทางปกครองต่อไปได้หรือไม่
ก) ไม่ได้ เว้นแต่ทายาทไม่คัดค้าน
ข) ไม่ได้ กรมการปกครองต้องไปใช้สิทธิเรียกร้องทางศาล
ค) ได้ โดยต้องขออนุมัติจากหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ
ค) ได้ โดยการบังคับทางปกครองแก่ทายาทหรือผู้จัดการมรดก
ง) ได้ โดยถือเสมือนหนึ่งนายทองยังมีชีวิตอยู่
4. เจ้าหน้าที่ตามข้อใดมีอำนาจแต่งตั้งเจ้าพนักงานบังคับทางปกครอง
ก) ศาล
ข) เจ้าหน้าที่ผู้ออกคำสั่งทางปกครอง
ค) เจ้าหน้าที่ผู้ออกคำสั่งใช้มาตรการบังคับทางปกครอง
ง) หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ
จ) ถูกทุกข้อ

5. ทรัพย์สินตามข้อใดไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับทางปกครอง
ก) ที่ดินซึ่งผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองเป็นเจ้าของร่วม
ข) บ้านที่ผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองอาศัยอยู่
ค) เงินฝากในบัญชีของผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครอง
ง) สร้อยคอทองคำของผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครอง
จ) เงินบำนาญของผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครอง

6. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับระยะเวลาในการยึดหรืออายัดทรัพย์สิน
ก) หน่วยงานต้องดำเนินการยึดหรืออายัดทรัพย์สินภายใน 10 ปีนับแต่วันที่ออกคำสั่งทางปกครอง
ข) หน่วยงานสามารถขายทอดตลาดทรัพย์สินที่ยึดมาได้ แม้จะล่วงพ้นระยะเวลา 10 ปีในการยึดหรือ
อายัดทรัพย์สินแล้วก็ตาม
ค) หน่วยงานสามารถยึดหรืออายัดทรัพย์สินได้แม้จะล่วงพ้นระยะเวลา 10 ปีในการยึดหรืออายัด
ทรัพย์สินแล้วก็ตาม โดยการขออนุมัติจากหัวหน้าหน่วยงาน
ง) หน่วยงานสามารถยึดหรืออายัดทรัพย์สินได้แม้จะล่วงพ้นระยะเวลา 10 ปีในการยึดหรืออายัด
ทรัพย์สินแล้วก็ตาม โดยการขออนุมัติจากศาล
จ) หน่วยงานสามารถยึดหรืออายัดทรัพย์สินได้แม้จะล่วงพ้นระยะเวลา 10 ปีในการยึดหรืออายัด
ทรัพย์สินแล้วก็ตาม หากผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองไม่คัดค้าน

7. กรณีใดที่สามารถขอให้กรมบังคับคดีดำเนินการบังคับทางปกครองแทนได้
ก) คำสั่งทางปกครองที่อยู่ระหว่างการฟ้องคดีเพื่อเพิกถอนคำสั่ง
ข) คำสั่งของเทศบาลตำบลซึ่งสั่งให้เจ้าของอาคารแก้ไขปรับปรุงอาคารให้ถูกต้องตามกฎหมาย
ค) คำสั่งทางปกครองของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคซึ่งเป็นที่สุดแล้วเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2550
ง) คำสั่งเรียกให้เจ้าหน้าที่ชดใช้ค่าสินไหมทนแทนของกรมที่ดินซึ่งเป็นที่สุดแล้วเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2566
จ) คำสั่งเรียกค่าปรับบังคับการที่อยู่ระหว่างการพิจารณาอุทธรณ์ของเจ้าหน้าที่ผู้ออกคำสั่ง
8. กรณีที่กรมการขนส่งทางบกประสงค์ให้กรมบังคับคดีดำเนินการยึดที่ดินของนาย ก. ซึ่งตั้งอยู่ที่อำเภอเมือง
จังหวัดภูเก็ต และนาย ก. มีภูมิลำเนาอยู่ที่จังหวัดนนทบุรี จะต้องยื่นคำขอต่อศาลตามข้อใด
ก) ศาลแพ่งกรุงเทพใต้
ข) ศาลปกครองกลาง
ค) ศาลจังหวัดภูเก็ต
ง) ศาลปกครองสูงสุด
จ) ถูกทุกข้อ

9. เมื่อกรุงเทพมหานครมีคำสั่งห้ามใช้อาคารที่ก่อสร้างโดยไม่ได้รับอนุญาตและอาจเป็นอันตราย แต่เจ้าของ
อาคารยังฝ่าฝืนเข้าใช้อาคารดังกล่าว กรุงเทพมหานครสามารถใช้มาตรการบังคับทางปกครองตามข้ อใด
เพื่อบังคับให้เป็นไปตามคำสั่ง
ก) การเรียกค่าปรับบังคับการ
ข) การเรียกค่าปรับเป็นพินัย
ค) การยึดอาคารดังกล่าวเพื่อนำออกขายทอดตลาด
ง) การเข้ารื้อถอนอาคารดังกล่าว
จ) ถูกทุกข้อ

10. หน่วยงานของรัฐสามารถเปลี่ยนมาตรการในการบังคับตามคำสั่งทางปกครองที่กำหนดให้กระทำได้หรือไม่
ก) ไม่ได้เพราะกระทบต่อสิทธิของประชาชน
ข) ไม่ได้หากไม่ได้รับความยินยอมจากผู้อยู่ในบังคับทางปกครอง
ค) ไม่ได้หากไม่ได้รับอนุมัติจากหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ
ง) ได้หากผู้อยู่ในบังคับทางปกครองร้องขอให้เปลี่ยนมาตรการ
จ) ได้หากมาตรการเดิมไม่อาจบรรลุวัตถุประสงค์ได้
เฉลยแบบประเมินตนเองหนวยที่ 11

เฉลยแบบประเมินตนเองก่อนเรียน เฉลยแบบประเมินตนเองหลังเรียน
ข้อ 1 ค ข้อ 1 ง
ข้อ 2 ก ข้อ 2 ก
ข้อ 3 จ ข้อ 3 ข
ข้อ 4 ค ข้อ 4 ค
ข้อ 5 ก ข้อ 5 จ
ข้อ 6 ข ข้อ 6 ข
ข้อ 7 จ ข้อ 7 ง
ข้อ 8 ง ข้อ 8 ค
ข้อ 9 ข ข้อ 9 ก
ข้อ 10 ง ข้อ 10 จ
กิจกรรมก่อนเรียน หน่วยที่ 13
1. แนวความคิดเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการและให้สิทธิแก่ประชาชนในการตรวจสอบข้อมูลของ
ราชการในประเทศไทยเกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในยุคสมัยของรัฐบาลใด
ก. นายชวน หลีกภัย
ข. นายอานันท์ ปันยารชุน
ค. นายบรรหาร ศิลปอาชา
ง. พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ
จ. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
2. ข้อใดต่อไปนี้ถือได้ว่าเป็นข้อมูลข่าวสาร
ก. กระดาษ
ข. สัญลักษณ์
ค. แสง
ง. เสียง
จ. ถูกทุกข้อ
3. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับความหมายของคำว่า “ข้อมูลข่าวสารของราชการ” ตามพระราชบัญญัติข้อมูล
ข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
ก. ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐ
ข. ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐ ที่เป็นข้อมูลข่าวสาร
เกี่ยวกับการดำเนินงานของรัฐ
ค. ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐ ที่เป็นข้อมูลข่าวสาร
เกี่ยวกับการดำเนินงานของเอกชน
ง. ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสาร
เกี่ยวกับการดำเนินงานของรัฐหรือข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับเอกชน
จ. ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐหรือเอกชน ไม่ว่าจะเป็น
ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินงานของรัฐหรือข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับเอกชน
4. บุคคลใดไม่มีสิทธิขอตรวจดูข้อมูลข่าวสารตามนัยของพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ 2540
ก. นาย Smite คนอังกฤษ มีถิ่นที่อยู่ในจังหวัดกรุงเทพ
ข. นาย John คนกัมพูชา มีถิ่นที่อยู่ในจังหวัดสมุทรปราการ
ค. นายก้อน คนไทย มีถิ่นที่อยู่ในประเทศอังกฤษ
ง. บริษัทเจริญทรัพย์จดทะเบียนในประเทศไทย แต่มีทุนเกินกึ่งหนึ่งเป็นของคนต่างด้าว
จ. ข้อ ก และข้อ ข ถูก
5. ข้อมูลข่าวสารใดที่ต้องจัดให้ประชาชนตรวจดูได้
ก. ผลการพิจารณาหรือคำวินิจฉัยที่มีผลโดยตรงต่อเอกชน
ข. ความเห็นแย้งและคำสั่งที่เกี่ยวข้องในการพิจารณาวินิจฉัยที่มีผลโดยตรงต่อเอกชน
ค. คู่มือหรือคำสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิหน้าที่ของเอกชน
ง. มติคณะรัฐมนตรี
จ. ถูกทุกข้อ
6. ข้อมูลข่าวสารที่อาจจะกระทบต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ หากเก็บรักษาจนอายุครบระยะเวลาเท่าใด จึงจะ
สามารถเปิดเผยเพื่อให้ประชาชนศึกษาค้นคว้าได้
ก. 10 ปี
ข. 30 ปี
ค. 50 ปี
ง. 75 ปี
จ. 100 ปี
7. การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารแบ่งออกได้เป็นกี่ลักษณะ
ก. 1 ลักษณะ คือ การเปิดเผยข้อมูลทั้งหมด
ข. 2 ลักษณะ คือ การเปิดเผยข้อมูลทั้งหมด และการเปิดเผยเพียงบางส่วน
ค. 3 ลักษณะ คือ การเปิดเผยข้อมูลทั้งหมด การเปิดเผยเพียงบางส่วน และการเปิดเผยโดยมีเงื่อนไข
ง. 4 ลักษณะ คือ การเปิดเผยข้อมูลทั้งหมด การเปิดเผยเพียงบางส่วน การเปิดเผยโดยมีเงื่อนไข และการ
เปิดเผยโดยปกปิดชื่อหรือสถานที่
จ. 5 ลักษณะ คือ การเปิดเผยข้อมูลทั้งหมด การเปิดเผยเพียงบางส่วน การเปิดเผยโดยมีเงื่อนไข การ
เปิดเผยโดยปกปิดชื่อหรือสถานที่ และการเปิดเผยโดยคำสั่งของศาล
8. ข้อใดต่อไปนี้ถือได้ว่าเป็นข้อมูลข่าวสารที่มีลักษณะบ่งชี้ตัวบุคคล
ก. ประวัติการศึกษา
ข. ประวัติสุขภาพ
ค. ประวัติการทำงาน
ง. ฐานะการเงิน
จ. รูปถ่าย
9. บุคคลใดต่อไปนี้เป็นประธานในคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
ก. รัฐมนตรี ซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย
ข. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ค. ปลัดกระทรวงกลาโหม
ง. เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา
จ. เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ
10. ปัจจุบันคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร (กวฉ.) แบ่งออกเป็นกี่สาขา
ก. 3 สาขา
ข. 4 สาขา
ค. 5 สาขา
ง. 6 สาขา
จ. 7 สาขา
เฉลยกิจกรรมก่อนเรียน หน่วยที่ 13
1. ข
2. จ
3. ง
4. ง
5. จ
6. ง
7. ค
8. จ
9. ก
10. ค
กิจกรรมหลังเรียน หน่วยที่ 13
1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กำหนดให้รัฐไม่ต้องเปิดเผยข้อมูลที่อยู่ในความ
ครอบครองของหน่วยงานรัฐ หากข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อมูลที่มีลักษณะใด
ก. ข้อมูลที่เกี่ยวกับความมั่นคงของรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ
ข. ข้อมูลที่เกี่ยวกับความเป็นส่วนตัวของเอกชนตามที่กฎหมายบัญญัติ
ค. ข้อมูลที่เกี่ยวกับจารีตประเพณีตามที่กฎหมายบัญญัติ
ง. ข้อมูลที่เกี่ยวกับความลับทางศาสนาตามที่กฎหมายบัญญัติ
จ. ข้อมูลที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ทางราชการตามที่กฎหมายบัญญัติ
2. ข้อใดต่อไปนี้ถือได้ว่าเป็นข้อมูลข่าวสาร
ก. ตัวเลข
ข. ไมโครฟิล์ม
ค. คอมพิวเตอร์
ง. แผ่นบันทึกข้อมูล
จ. ถูกทุกข้อ
3. หน่วยงานของรัฐใดที่ไม่ตกอยู่ภายใต้บังคับของพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
ก. กระทรวง ทบวง กรมต่างๆ ของราชการ
ข. จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน
ค. ศาลเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับการพิจารณาพิพากษาคดี
ง. องค์การบริหารส่วนจังหวัด และ องค์การบริหารส่วนตำบล
จ. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
4. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวผิดเกี่ยวกับการขอตรวจดูข้อมูลข่าวสารตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ
2540
ก. ผู้มีสิทธิขอข้อมูลข่าวสารไม่จำเป็นต้องเป็นผู้มีส่วนได้เสีย
ข. บุคคลสัญชาติไทยเท่านั้นที่จะมีสิทธิในการขอตรวจข้อมูลข่าวสารของราชการ
ค. การขอข้อมูลข่าวสารไม่จำเป็นต้องทำเป็นหนังสือ
ง. บุคคลผู้ขอข้อมูลไม่จำเป็นต้องให้เหตุผลในการขอ
จ. การขอตรวจดูข้อมูลข่าวสารของราชการเป็นไปตามหลักประชาชนมีสิทธิได้รู้
5. ข้อมูลข่าวสารใดที่พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ 2540 กำหนดห้ามมิให้เปิดเผย
ก. ข้อมูลข่าวสารของราชการที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
ข. ข้อมูลข่าวสารของราชการที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อรัฐบาล
ค. ข้อมูลข่าวสารของราชการที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อหน่วยงานของรัฐ
ง. ข้อมูลข่าวสารของราชการที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อศาสนา
จ. ข้อมูลข่าวสารของราชการที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อองค์กรตุลาการ
6. บุคคลผู้ใดเห็นว่าหน่วยงานของรัฐไม่จัดพิมพ์ข้อมูลข่าวสารหรือหรือไม่จัดข้อมูลข่าวสารไว้ให้ประชาชนตรวจดูได้
สามารถใช้สิทธิในการร้องเรียนได้ โดยสามารถร้องเรียนต่อบุคคลหรือหน่วยงานใด
ก. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
ข. สำนักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ค. หน่วยงานราชการของรัฐที่ไม่ดำเนินการ
ง. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
จ. นายกรัฐมนตรี
7. ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐมีคำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ผู้มีส่วนได้เสียอาจอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัย
การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารได้ภายในระยะเวลาเท่าใดนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำสั่ง
ก. 7 วัน
ข. 15 วัน
ค. 30 วัน
ง. 45 วัน
จ. 60 วัน
8. ข้อใดต่อไปนี้ถือได้ว่าเป็นข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับข้อเท็จจริง ที่เป็นสิ่งเฉพาะตัว
ก. ประวัติอาชญากรรม
ข. ลายพิมพ์นิ้วมือ
ค. แผ่นบันทึกลักษณะเสียงของคน
ง. หมายเลขบัตรประชาชน
จ. รูปถ่าย
9. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากภาครัฐและภาคเอกชนซึ่งคณะรัฐมนตรี
เป็นกรรมการ มีจำนวนทั้งสิ้นกี่คน
ก. 3 คน
ข. 6 คน
ค. 7 คน
ง. 8 คน
จ. 9 คน
10. ปัจจุบันคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร (กวฉ.) สาขาใดที่มีการแบ่งองค์คณะย่อยออกเป็นอีก
4 คณะ
ก. สาขาต่างประเทศ ความมั่นคง และการเมือง
ข. สาขาสังคม การบริหารราชการแผ่นดิน และการบังคับใช้กฎหมาย
ค. สาขาเศรษฐกิจ และการคลัง
ง. สาขาการแพทย์และสาธารณสุข
จ. สาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม และการเกษตร
เฉลยกิจกรรมหลังเรียน หน่วยที่ 13
1. ก
2. จ
3. ค
4. ข
5. ก
6. ก
7. ข
8. ก
9. จ
10. ข
แบบประเมินตนเองก่อนเรียน หน่วยที่ 14

1. ข้อใดคือเหตุผลของการควบคุมการใช้อำนาจของฝ่ายปกครอง
ก. เพื่อให้ระบบราชการมีประสิทธิภาพ
ข. การจัดทำบริการสาธารณะบรรลุผล
ค. สิทธิของประชาชนได้รับการคุ้มครอง
ง. การรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสังคม
จ. เพื่อให้ฝ่ายปกครองต้องอยู่ภายใต้บังคับของกฎหมาย

2. ข้อใดคือเหตุผลสำคัญที่ต้องให้ฝ่ายปกครองอยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายปกครอง
ก. กฎหมายปกครองบัญญัติขึ้นโดยฝ่ายบริหารเป็นการเฉพาะ
ข. กฎหมายปกครองให้ความคุ้มครองเอกชนมากกว่ากฎหมายแพ่ง
ค. กฎหมายปกครองมีบทบัญญัติที่ครอบคลุมคดีพิพาทระหว่างเอกชน
ง. กฎหมายปกครองมีหลักกฎหมายแตกต่างจากหลักกฎหมายเอกชน
จ. กฎหมายปกครองให้ความคุ้มครองเจ้าหน้าที่ของรัฐมากกว่าเอกชน

3. ข้อใดคือความหมายของหลักความชอบด้วยกฎหมายของการกระทำทางปกครอง
ก. การใช้อำนาจของฝ่ายปกครองมีที่มาจากรัฐธรรมนูญ
ข. ฝ่ายปกครองจะต้องกระทำการภายในขอบเขตที่กฎหมายกำหนดไว้
ค. ฝ่ายปกครองสามารถกระทำการนอกเหนือจากที่กฎหมายบัญญัติได้
ง. การจัดทำบริการสาธารณะเป็นฐานการใช้อำนาจที่ชอบธรรมของฝ่ายปกครอง
จ. ฝ่ายปกครองมีเอกสิทธิ์ในการออกกฎหมายลำดับรองเพื่อให้การจัดทำบริการสาธารณะบรรลุผล

4. ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ของกฎหมายปกครองทีบ่ ัญญัติให้เอกสิทธิ์แก่ฝ่ายปกครอง
ก. เพื่อความสงบเรียบร้อยของสังคม
ข. เพื่อใช้เป็นกฎเกณฑ์บังคับเหนือเอกชน
ค. เพื่อประสิทธิภาพในการบริหารราชการ
ง. เพื่อให้การจัดทำบริการสาธารณะบรรลุผล
จ. เพื่อให้เห็นความแตกต่างจากกฎหมายเอกชน
5. ข้อใดเป็นกรณีที่กฎหมายอาจบัญญัติข้อยกเว้นให้อำนาจพิเศษแก่ฝ่ายปกครองกระทำการที่กระทบต่อสิทธิ
เสรีภาพของบุคคลได้
ก. การใช้สิทธิอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง
ข. การบรรจุแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการ
ค. การลงโทษทางวินัย
ง. การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน
จ. การนับถือศาสนาหรือลัทธินิยมในทางศาสนา

6. ข้อใดคือเหตุผลในการกำหนดให้ฝ่ายปกครองต้องเปิดโอกาสให้มีการโต้แย้งคัดค้านในกระบวนการพิจารณาทาง
ปกครอง
ก. เพื่อรักษาประโยชน์ของทางราชการ
ข. เพื่อความรวดเร็วในการทำคำสั่งทางปกครอง
ค. เพื่อให้การพิจารณาทางปกครองมีความโปร่งใส
ง. เพื่อให้ฝ่ายปกครองไม่ต้องถูกฟ้องร้องดำเนินคดี
จ. เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีความมั่นใจในการปฏิบัติหน้าที่

7. ข้อใดไม่ใช่การควบคุมฝ่ายปกครองก่อนใช้อำนาจดำเนินกิจการทางปกครอง
ก. การกำหนดให้ฝ่ายปกครองต้องระบุเหตุผลของการมีคำสั่ง
ข. การให้ประชาชนได้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารของราชการ
ค. การควบคุมการใช้อำนาจของฝ่ายปกครองโดยศาล
ง. การกำหนดให้ฝ่ายปกครองต้องใช้วิธีการประชาพิจารณ์
จ. การกำหนดให้ฝ่ายปกครองต้องเปิดโอกาสให้มีการโต้แย้งคัดค้าน

8. ข้อใดคือวัตถุประสงค์ของการกำหนดให้ฝ่ายปกครองต้องระบุเหตุผลของการมีคำสั่ง
ก. เพื่อให้การดำเนินกิจการทางปกครองบรรลุผล
ข. ทำให้เจ้าหน้าที่มีความมั่นใจในการปฏิบัติหน้าที่
ค. เพื่อให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ง. เพื่อแสดงออกถึงความเป็นกลางในการมีคำสั่งของเจ้าหน้าที่
จ. สามารถตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายของการออกคำสั่งได้
9. กรณีในข้อใดที่ต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนก่อนเริ่มดำเนินโครงการอันมีลักษณะเป็นการ
ควบคุมการใช้อำนาจของฝ่ายปกครอง
ก. การปลูกป่าชายเลน
ข. การจัดงานประเพณีท้องถิ่น
ค. การกำหนดเขตการใช้ประโยชน์ในที่ดิน
ง. การรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
จ. การกำหนดนโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยวในจังหวัด

10. การให้ประชาชนมีโอกาสรูถึงสิทธิหนาที่และสามารถปกปกรักษาประโยชนของตนได้อยู่ในหลักการควบคุมการ
ใช้อำนาจของฝ่ายปกครองข้อใด
ก. การกำหนดให้ฝ่ายปกครองต้องเปิดโอกาสให้มีการโต้แย้งคัดค้าน
ข. การใช้อำนาจของฝ่ายปกครองต้องกระทำเท่าที่จำเป็นเท่านั้น
ค. การกำหนดให้ฝ่ายปกครองต้องระบุเหตุผลของการมีคำสั่ง
ง. การให้ประชาชนได้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารของราชการ
จ. การใช้สิทธิของประชาชนตามที่บัญญัติในรัฐธรรมนูญ
แบบประเมินตนเองหลังเรียนหน่วยที่ 14

1. หลักที่ว่าฝ่ายปกครองต้องอยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายเป็นหลักการอยู่ในข้อใด
ก. หลักการกระจายอำนาจการปกครอง
ข. หลักการแบ่งแยกการใช้อำนาจอธิปไตย
ค. หลักการเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
ง. หลักการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน
จ. หลักการควบคุมการใช้อำนาจของฝ่ายปกครอง

2. การที่กฎหมายปกครองมีหลักกฎหมายแตกต่างจากหลักกฎหมายเอกชนส่งผลในข้อใด
ก. เกิดการแบ่งแยกการใช้อำนาจอธิปไตย
ข. การบังคับใช้กฎหมายเกิดความไม่แน่นอน
ค. เจ้าหน้าที่ของรัฐได้รับความคุ้มครองมากกว่าเอกชน
ง. ฝ่ายปกครองมีอำนาจอย่างกว้างขวางในการบริหารประเทศ
จ. ฝ่ายปกครองต้องอยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายปกครองเป็นหลัก

3. การทีฝ่ ่ายปกครองจะต้องกระทำการภายในขอบเขตที่กฎหมายกำหนดไว้เป็นหลักการในข้อใด
ก. หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ข. หลักความได้สัดส่วนแห่งการกระทำทางปกครอง
ค. หลักความชอบด้วยกฎหมายของการกระทำทางปกครอง
ง. หลักดุลอำนาจระหว่างฝ่ายบริหารกับฝ่ายนิติบัญญัติ
จ. หลักการแบ่งแยกเขตอำนาจศาลระหว่างศาลปกครองและศาลยุติธรรม

4. ข้อใดคือวัตถุประสงค์ของกฎหมายปกครองทีบ่ ัญญัติให้เอกสิทธิ์แก่ฝ่ายปกครอง
ก. เพื่อความสงบเรียบร้อยของสังคม
ข. เพื่อให้การจัดทำบริการสาธารณะบรรลุผล
ค. เพื่อยืนยันหลักการแบ่งแยกการใช้อำนาจอธิปไตย
ง. เพื่อแสดงให้เห็นถึงอำนาจดุลพินิจของฝ่ายปกครอง
จ. เพื่อรักษาสมดุลระหว่างประโยชน์สาธารณะกับประโยชน์ของบุคคล
5. กรณีในข้อใดที่กฎหมายไม่อาจบัญญัติข้อยกเว้นให้อำนาจพิเศษแก่ฝ่ายปกครองกระทำการที่กระทบต่อสิทธิ
เสรีภาพของบุคคลได้
ก. สถานการณ์ที่เป็นภัยต่อความมั่นคงของรัฐ
ข. มีการกระทำความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย
ค. กรณีเกิดภัยพิบัติสาธารณะ
ง. การใช้สิทธิอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง
จ. เพื่อการดำรงชีวิตโดยปรกติสุขของประชาชน

6. หลักการของกฎหมายในข้อใดที่กำหนดขึ้นเพื่อให้การพิจารณาทางปกครองมีความโปร่งใส
ก. การไม่ให้คำสั่งทางปกครองมีผลย้อนหลัง
ข. การเปิดโอกาสให้มีการโต้แย้งคัดค้านในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง
ค. การกำหนดการใช้อำนาจของฝ่ายปกครองต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สาธารณะเท่านั้น
ง. การกำหนดให้การออกคำสั่งทางปกครองต้องกระทำโดยเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจตามกฎหมาย
จ. การกำหนดให้ฝ่ายปกครองต้องชั่งน้ำหนักระหว่างประโยชน์สาธารณะกับประโยชน์ของปัจเจกบุคคล

7. ข้อใดไม่ใช่การควบคุมฝ่ายปกครองก่อนใช้อำนาจดำเนินกิจการทางปกครอง
ก. การกำหนดให้ฝ่ายปกครองต้องระบุเหตุผลของการมีคำสั่ง
ข. การให้ประชาชนได้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารของราชการ
ค. การควบคุมทางการเมืองโดยรัฐสภา
ง. การกำหนดให้ฝ่ายปกครองต้องใช้วิธีการประชาพิจารณ์
จ. การกำหนดให้ฝ่ายปกครองต้องเปิดโอกาสให้มีการโต้แย้งคัดค้าน

8. ข้อใดเป็นมาตรการทางกฎหมายที่ทำให้สามารถตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายของการออกคำสั่งได้
ก. การกำหนดให้ฝ่ายปกครองต้องระบุเหตุผลของการมีคำสั่ง
ข. การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อเปิดโอกาสให้มีการอุทธรณ์คำสั่ง
ค. การกำหนดให้หน่วยงานของรัฐจัดตั้งศูนย์รับคำร้องขอข้อมูลข่าวสาร
ง. การกำหนดระยะเวลาให้เจ้าหน้าที่ต้องพิจารณาคำร้องขอให้แล้วเสร็จ
จ. การกำหนดให้หน่วยงานของรัฐจัดตั้งศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของประชาชน
9. กรณีในข้อใดที่ต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนก่อนเริ่มดำเนินโครงการอันมีลักษณะเป็นการ
ควบคุมการใช้อำนาจของฝ่ายปกครอง
ก. การปลูกป่าชายเลน
ข. การจัดงานประเพณีท้องถิ่น
ค. การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์
ง. การรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
จ. การกำหนดนโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยวในจังหวัด

10. การให้ประชาชนได้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารของราชการส่งผลต่อการควบคุมการใช้อำนาจของฝ่ายปกครองในข้อใด
ก. ประชาชนมีโอกาสรูถึงสิทธิหนาทีแ่ ละสามารถปกปกรักษาประโยชนของตนได้
ข. ฝ่ายปกครองสามารถดำเนินการตามที่มีกฎหมายให้อำนาจไว้ได้อย่างถูกต้อง
ค. ประชาชนย่อมมีสิทธิคัดค้านการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายของฝ่ายปกครอง
ง. ฝ่ายปกครองถูกจำกัดการใช้อำนาจให้กระทำได้เท่าที่จำเป็นเท่านั้น
จ. ประชาชนสามารถใช้สิทธิของตนตามที่บัญญัติในรัฐธรรมนูญได้อย่างเต็มที่
เฉลย

แบบประเมินตนเองก่อนเรียน หน่วยที่ 14 แบบประเมินตนเองหลังเรียน หน่วยที่ 14

1. จ 1. จ

2. ง 2. จ

3. ข 3. ค

4. ก 4. ข

5. ง 5. ง

6. ค 6. ข

7. ค 7. ค

8. จ 8. ก

9. ค 9. ค

10. ง 10. ก

You might also like