Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 84

วรรณคดียุคคะมะกุระ-มุโระมะจิ

ค.ศ.1185 – ค.ศ.1333
鎌倉時代ー室町時代

บรรยายโดย
อาจารยอิทธิพล บัวยอย
รายวิชา 143341 วรรณคดีญี่ปุนเบื้องตน
สาขาวิชาภาษาญี่ปุน คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยพะเยา
จากยุคเฮอันเปลี่ยนสูยุคคามากุระ
平安時代

鎌倉時代ー室町時代
ยุคเฮอันตอนตน ค.ศ. 782-967
ตระกูลฟูจิวาระกุมอำนาจการปกครอง
• ค.ศ.794 ยายเมืองหลวงมาที่เฮอันเกียว (เกียวโต)
• ค.ศ. 833-887 ชีวิตเมืองหลวง หรูหรา สบาย พระราชอำนาจของพระจักรพรรดิเสื่อมถอยลงราช
สำนักใช้เวลาทั้งหมดไปกับศิลปะและความสุขทางสังคม
• อำนาจการปกครองตกอยูในมือขุนนางตระกูลฟุจิวะระ ที่มักจะมีตำแหนงเปนผูสำเร็จราชการและ
มหาเสนาบดี เกิดระบบการสำเร็จราชการแทนพระองค์ที่เรียกวา “เส็ตโช ” และ “คัมปากุ ”
• ค.ศ. 884 โมโททสึเนะ ฟุจิวะระ ไดรับแตงตั้งเปน คัมปากุ ตำแหนงผูสำเร็จราชการผูอาวุโส ซึ่งเปนตำแหนง
สูงสุดของขุนนาง และทำใหตระกูลฟุจิวะระยึดครองอำนาจในราชสำนัก
• ค.ศ. 887-967 ช่วงการแยงชิงอำนาจระหวางพระจักรรรดิและตระกูลฟุจิวะระ
การแยงชิงอำนาจระหวาง
ตระกูลฟูจิวาระ กับ องค์จักรพรรดิ์
• ค.ศ. 967-1068 อำนาจการปกครองตกอยูในมือตระกูล ฟุจิวะระ อยางสมบรูณ
• ค.ศ. 1068-1156 องค์พระจักรพรรดิผูสละราชย ชิงอำนาจการปกครองกลับคืนมา
จากตระกูล ฟูจิวาระ (ไดรับความรวมมือจาก มินาโมะโตะ + ไทระ )
• โค่นลมตระกูลฟูจิวาระได ดันองษ จักรพรรดิโกะ-ชิระงะวะ ขึ้นมาปกครอง
• ตระกูล ไทระ รุงเรือง มินาโมะโตะ ไมไดรับตำแหนงที่ควรจะได
• การตอสูระหวาง ตระกูลไทระ กับ ตระกูลมินาโมโตะ
การตอสูระหวางตระกูล ไทระ กับ มินาโมะโตะ
หลังโค่นตระกูลฟูจิวาระ ไทระ ไดรับการสนับสนุนมากกวา
• ตระกูลไทระ กับ ตระกูลมินาโมโตะ ช่วยกันโค้นลมตระกูล ฟุจิวาระที่มีอำนาจในราชสำนักในตอนนี้แลว
ดัน องษจักรพรรดิโกะ-ชิระงะวะ ขึ้นมาปกครอง ทำใหพระภิกษุ ชินเซ มีอำนาจตามไปดวย พระชินเซ
โปรดปรานและสนับสนุน ไทระ โนะ คิโยะโมะริ (平清盛)

มินาโมะโตะรวมมือกับตระกูลฟูจิวาระเข้ายึดอำนาจ
• จากปญญาและวิสัยทัศนของ คิโยะโมะริ ทำใหเขามียศสูงขึ้นๆ ไปอีก ในขณะที่
ตระกูลมินาโมโตะ นำดวย มินะโมะโตะ โนะ โยะชิโตะโมะ (源義朝) เกิดความ
คัดแค้นใจที่ไมไดตำแหนงที่ควรไดกับการกระทำ จึงวางแผนกับ ฟุจิวะระ โนะ
โนะบุโยะริ เข้ายึดพระราชวัง แลว สังหาร ภิกษุชินเซ จากนั้นเข้าจับกุมพระ
จักรพรรดิ โกะ ชิรางาวะ
平清盛
หัวหนาตระกูลไทระ แกลงยอมจำนนแลววางแผน
ใหตระกูลมินาโมะโตะยกทัพมาที่ โระกุฮาระ
• ไทระ โนะ คิโยะโมริ ซึ่งออกเดินทางไป สักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกเมืองไดยินข่าวจึงแสรงทำเปนยอมจำนน
ตอการยึดอำนาจของ ฟุจิวะระ โนะ โนะบุโยะริ และ มินาโมะโตะ โยะชิโตะโมะ ในขณะเดียวกันได
จัดการใหจักรพรรดิทั้งสองพระองค์หลบหนีออกจากที่กุมขังออกมาไดสำเร็จ แลวจึงสงบุตรชายคนโตคือ ไท
ระ โนะ ชิเงะโมะริ ยกทัพเข้าโจมตีฝายตระกูลมินะโมะโตะที่พระราชวัง

• จากนั้นจึงลาถอยออกมาหลอกใหทัพ มินาโมะโตะ ติดตามมาจนถึง โระกุฮะระ เปนที่อยูของตระกูลไทระ


แลว คิโยะโมะริ จึงนำทัพเข้าโจมตีจนทัพฝาย มินาโมะโตะ พายแพไปแลวจึงทำการสังหาร มินาโมโตะ
โยชิโตโมะ ยกตระกูล
ตระกูลมินาโมโตะ พายแพแลวถูกสังหารยกตระกูล
• พวก มินาโมโตะ ที่เหลือถูกเนรเทศไปที่ไกลจากเมืองหลวง มินาโมโตะ โยชิโตโมะ หัวหนาตระกูล ถูกสังหาร

• ภรรยาพาลูกๆ (โยะริโตะโมะ/โยะริโนะริ/โยชิสึเนะ) ไปสวามิภักดิ์และยอมเปนภรรยานอยของหัวหนาตระกูล ไท


ระ (ไทระ คิโยะโมริ) เพื่อไมใหลูกๆ ถูกฆ่า

• โยะริโตะโมะ กับ โยะริโนะริ พี่ชายตางแมถูกเนรเทศไปตางเมือง สวน โยชิสึเนะ ในขณะนั้นยังเล็กมากไดอยูกับแม


และถูกสงไปอยูวัดจนโตเปนหนุมและถูกสั่งใหบวชในเวลาตอมา

• เมื่อถูกสั่งใหบวชเขาเลยหนีออกจากวัดและไดพบกับ มุซะชิโบ เบ็งเก (武蔵坊弁慶) พระนักรบ ซึ่งตอมาได


กลายเปนทั้งเพื่อนและบาวรับใช้คู่ใจที่อยูข้างกาย
โยะชิสึเนะตามหาพี่ชายและเข้ารวมทัพ
• ในค.ศ. 1180 โยะชิสึเนะ ไดทราบข่าววาพี่ชายตางมารดาของตน คือ โยะริโตะโมะ ไดทำการ
ตอตานการปกครองของ ตระกูลไทระ โดยมีฐานที่มั่นอยูที่เมือง คะมะกุระ จังหวัดคะนะงะวะใน
ปจจุบัน โยะชิสึเนะ จึงเดินทางจากเมืองฮิระอิซุมิพรอมกับเบ็งเกมาพบกับ โยะริโตะโมะ
げんぺいかっせん

• โยะริโตะโมะ รับ โยะชิสึเนะ เข้ามาเปนหนึ่งในขุนพลตระกูลมินะโมะโตะในการทำสงครามกับ


ตระกูลไทระ ซึ่งมีผูนำ คือ ไทระ โนะ มุเนะโมะริ (平宗盛)

ค.ศ. 1181ไทระ คิโยะโมะริ ไดเสียชีวิตดวยอายุ 63 ป เนื่องจาก ไทระ ชิเงโมริ บุตรชายคนโตไดเสียชีวิตไปก่อนเมื่อค.ศ. 1179 และไทระ โมะโตะโมริ บุตรชายคนที่สอง
เสียชีวิตเมื่อค.ศ. 1162 ไทระ มุเนะโมริ บุตรคนที่ 3 จึงไดขึ้นเปนผูนำตระกูลไทระแทนที่บิดา
ยึดเฮอันจาก โยะชินะกะ ลูกพี่ลูกนอง
• ในขณะเดียวกันทางฝงตะวันตก มินาโมะโตะ โนะ โยะชินะกะ (源義仲) ผูเปนลูกพี่ลูกนอง ไมยอมรับ
อำนาจของ โยะริโตะโมะ และตองการที่จะสรางเกียรติยศโดยการโค่นลมตระกูลไทระดวยตนเอง

• ค.ศ. 1183 โยะชินะกะ สามารถเข้ายึดนครเฮอังเกียวได ทำให มุเนะโมะริ ตองพาสมาชิกตระกูลไทระ


อพยพไปหนีไปทางใต

• โยะริโตะโมะ สง โยะชิสึเนะ และ มินะโมะโตะ โนะ โนะริโยะริ (源範頼) พี่ชายตางมารดา ยกทัพไป
ทางตะวันตกและสามารถยึดนครเฮอันเกียวจาก โยะชินะกะ ได

• โยะชินะกะ หลบหนีแตถูก โยะชิสึเนะและโนะริโยะริ ติดตามจนตอสูกันที่เมืองโอสึ ใน ค.ศ. 1184 โยะชินะ


กะถูกสังหารในที่สุด
一ノ谷の戦い

• ป ค.ศ. 1184 โยะชิสึเนะ และ โนะริโยะริ ยกทัพมาเอาชนะทัพของตระกูลไทระไดในยุทธการ


อิชิโนะตะนิ (一ノ谷の戦い) ในบริเวณเมืองโกเบ จังหวัดเฮียวโงะในปจจุบัน ไทระ โนะ
ทะดะโนะริ (平忠度) ถูกสังหารในที่รบ และไทระ โนะ ชิเงะฮิระ (平重衡) ถูกจับกุมตัวได
屋島の戦い

• ป ค.ศ. 1185 โยะชิสึเนะ นำทัพเข้าลอมเมือง ยะชิมะ (屋島) จนสามารถตีเมือง ยะชิมะ


แตกไดจน มุเนะโมะริ ตองพาสมาชิกตระกูลไทระลงเรืออพยพไปทางตะวันตก โยะชิสึเนะ
ไดยกทัพเรือออกติดตามจนปะทะกับทัพเรือของตระกูลไทระที่ช่องแคบคัมมง ในยุทธนาวี
ดันโนะอุระ (壇ノ浦の戦い)จนมีชัยชนะเหนือตระกูลไทระ
壇ノ浦の戦い
• สมาชิกตระกูลไทระเกือบทั้งหมดจึงกระโดดลงทะเล
เสียชีวิตเพื่อหนีความพายแพ นางนิอิ-โนะ-อะมะ
(二位尼) หรือไทระ โนะ โทะกิโกะ ภรรยาเอกของ
คิโยะโมะริ ไดอุมจักรพรรดิอันโตะกุ พระชนมายุ
เพียงเจ็ดพรรษากระโดดลงทะเลสวรรคต
ยุคคะมะกุระ-มุโระมะจิ
ค.ศ.1185 – ค.ศ.1333
鎌倉時代ー室町時代
ยุคศักดินา แบงเปน 4 ยุค
• ยุคคามากุระ(かまくらじだい)
• ยุคมุโระมาจิ(むろまちじだい)
• ยุคเซ็งโกคุหรือยุคสงครามกลางเมือง(せんごくじだい)
• ยุคยอย ยุคอิซิจิโมะโมะยะมะ(あづちももやまじだい)

• ยุคเอโดะ(えどじだい)
ยุคคามากุระ (鎌倉時代) ค.ศ.1185-ค.ศ.1333
• ค.ศ.1192 มินะโมะโตะ โยะริโตะโมะ หัวหนาตระกูล มินะโมะโตะ ไดสถาปนารัฐบาลทหาร
(幕府)หรือรัฐบาลโชกุนขึ้นที่เมืองคามากุระ
• เปนยุคที่ญี่ปุนเริ่มตนการปกครองระบบศักดินาโดย โยริโตโมะ แหงตระกูลมินาโมะโตะ
ไดรับการแตงตั้งใหเปนโชกุนคนแรก จัดตั้งรัฐบาลทหารมีศูนยกลางการปกครองอยูที่เมือง
คามากุระ สวนจักรพรรดิประทับที่เมืองเฮอัน
• จักรพรรดิไมมีอำนาจใดๆ เปนเพียงศูนยกลางความเชื่อและจิตใจ
• โครงสรางทางการเมืองแบงเปนสอง คือ รัฐบาลกลางของราชสำนักที่เกียวโตและรัฐบาล
ทหารที่คามากุระ
• สงเสริมความมัธยัสถอดออมของประชาชน
• แนวความคิดเรื่องของความกลาหาญและรักเกียรติยศ (武士道)

มินาโมโตะ โยริโตะโมะ
อำนาจเปลี่ยนมือไปอยูในตระกูล โฮโจ
• ตระกูล มินาโมะโตะ ครองตำแหนงโชกุน อยู 3 รุน อำนาจเปลี่ยนมือไปอยูในมือของ
คนจาก ตระกูลโฮโจ
• การรุกรานของ มองโกล ในนามราชวงศหยวนของจีน
• การระดมทรัพยากรสรางกำแพงหินปองกันการรุกรานจากมองโกลทำใหเกิดสภาวะ
ข้าวยากหมากแพง มีการรีดภาษีจากประชาชนเพิ่มมากขึ้น
----->> นำไปสูการเสื่อมอำนาจของตระกูลโฮโจ
การรุกรานของมองโกล
• ค.ศ. 1268 มีการอัญเชิญพระราชสาสนจากจักรพรรดิ
กุบไลข่าน แหงราชวงศหยวน (มองโกเลีย) มายังญี่ปุน
เรียกรองใหญี่ปุนสงบรรณาการใหแก่จีน

• ค.ศ. 1274 กองทหารโคไรแหงราชวงศหยวน ยกทัพ


มาตีทางตอนเหนือของคิวชู นักรบคิวชูสามารถตอตาน
การบุกไดอยางหวุดหวิด (เกิดพายุใหญที่เรียกวา “คามิ
คาเซะ” )

• ค.ศ. 1281 มองโกลไดยกทัพมาอีกครั้ง หวังจะปราบ


ญี่ปุนใหราบคาบ แตก็ไดเกิดพายุใหญอีกครั้ง ทำให
แผนการบุกญี่ปุนตองลมเหลว
จักรพรรดิ์ก่อการโค่นอำนาจตระกูลโฮโจ
• ค.ศ. ค.ศ. 1331 จักรพรรดิโกะ-ไดโง ทรงก่อการยึดอำนาจจากรัฐบาลโชกุนคะมะกุระ ทรงถูกเนรเทศไปยัง
เกาะโอะกิ (隠岐) โดยที่มีพระโอรสคือเจ้าชายโมะรินะงะ (護良親王) และคุซุโนะกิ มะซะชิเงะ(楠木正)
ยังคงทำสงครามเพื่อลมการปกครองของตระกูลโฮโจอันมีศูนยกลางอยูที่เมืองคะมะกุระตอไป เรียกวา
สงครามปเก็งโก (元弘の乱)
• ฝายซามุไรทั้งหลายไมพอใจการปกครองเผด็จการของ ตระกูลโฮโจ จึงมาเข้ากับฝายจักรพรรดิเรื่อยๆ
• ค.ศ. 1333 องค์จักรพรรดิเสด็จหลบหนีจากเกาะโอะกิ รัฐบาลโชกุนสง อะชิกะงะ ทะกะอุจิ (足利尊氏)
มาเพื่อตอสูกับทัพฝายพระจักรพรรดิ แตทวาทะกะอุจิไดแปรพักตรไปเข้ากับฝายจักรพรรดินำทัพเข้ายึด
เมืองเกียวโตได
• ฝาย นิตตะ โยะชิซะดะ (新田義貞) สามารถเข้ายึดเมืองคะมะกุระได เปนอวสานแหงตระกูลโฮโจและ
รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ
จุดเริ่มตนของสมัยราชวงศเหนือใต หรือ
なんぼくちょう

南北朝

• คศ 1333 จักรพรรดิกลับมามีอำนาจในการปกครองประเทศ จักรพรรดิโกะ-ไดโงทรงจัดตั้งการปกครองขึ้นที่


เมืองเกียวโตเรียกวา ชินเซ (新政) หรือการปกครองอันมีองค์พระจักรพรรดิเปนศูนยกลางขึ้นมาใหม เรียกวา
การฟนฟูเค็มมุ (Kemmu Restoration) ทำใหเหลาซามูไรไมพอใจที่อำนาจการปกครองญี่ปุนจะไปตกอยู
แก่ขุนนางและราชสำนักอีกครั้ง และยังคงตองการใหมีการปกครองของระบบโชกุนตอไป

• ค.ศ. 1336 อาชิกางะ ทากาอูจิ มีชัยชนะเหนือทัพของพระจักรพรรดิโก-ไดโงะ เข้ายึดเกียวโตไดสำเร็จ ตั้งพระ


จักรพรรดิโคเมียว ขึ้นเปนพระจักรพรรดิองค์ใหม สวนพระจักรพรรดิโก-ไดโงะ เสด็จหลบหนีไปยังเมืองโยชิโนะ

• ประเทศญี่ปุนจึงมีพระจักรพรรดิสองพระองค์ในเวลาเดียวกัน องค์ซึ่งประทับอยูที่เมืองเกียวโต เรียกวา พระ


ราชวงศฝายเหนือ และองค์ที่ประทับอยูที่เมืองโยชิโนะ เรียกวา พระราชวงศฝายใต
南北朝 สงครามระหวางราชวงค์ฝายเหนือกับฝายใต
なんぼくちょう

• อาชิกางะ ทากาอูจิ ซามูไรตระกูล อาชิคางะ ก้าวขึ้นครองตำแหนงโชกุน ยายกองบัญชาการ (บะคุฟุ)


ไปยัง มุโระมะชิ ซึ่งรัฐบาลโชกุน ถวายการสนับสนุนแด ราชวงศฝายเหนือ
• โชกุนอาชิกางะ ทากาอูจิ และนองชายคือ อาชิกางะ ทาดาโยชิ ปกครองประเทศญี่ปุนรวมกัน
จนกระทั่งเกิดความขัดแยงระหวางสองพี่นอง
• ในค.ศ. 1349 ทาดาโยชิถูกขับออกจากรัฐบาลโชกุนและแปรพักตรไปเข้ากับพระราชวงศฝายใต เกิดเปน
สงครามปคันโน
• ทาดาโยชิ ยกทัพของพระราชวงศฝายใตเข้าโจมตีเมืองเกียวโต สองพี่นองเจรจาทำสัญญาสงบศึก ทา
ดาโยชิเดินทางไปจัดตั้งรัฐบาลของตนเองที่เมืองคามากูระ แตกลับถูก ทากาอูจิ พี่ชายวางยาพิษ
สังหารในที่สุด
สงครามตอเนื่องระหวางราชวงค์ฝายเหนือกับฝายใต
• พระราชวงศฝายใต ซึ่งมีผูนำทางทหารคือ คูซูโนกิ มาซาโนริ (楠木正儀; Kusunoki Masanori) ยกทัพเข้า
บุกยึดเมืองเกียวโตไดสำเร็จใน ค.ศ. 1353 ค.ศ. 1355 และ ค.ศ. 1362 แตฝายรัฐบาลโชกุนสามารถยึด
นครเกียวโตกลับมาไดทุกครั้ง

• ค.ศ. 1358 โชกุนทากาอุจิ ถึงแก่อสัญกรรม อาชิกางะ โยชิอากิระ (足利 義詮; Ashikaga Yoshiakira)
บุตรชายขึ้นดำรงตำแหนงโชกุนสืบตอแทน

• ค.ศ. 1368 โชกุนโยชิอากิระ ลมปวยและถึงแก่อสัญกรรมอยางกระทันหัน อาชิกางะ โยชิมิตสึ (足利義満;


Ashikaga Yoshimitsu) บุตรชายของโยชิอากิระซึ่งมีอายุเพียงเก้าปตองขึ้นดำรงตำแหนงเปนโชกุนคนตอมา

• ค.ศ. 1392 โชกุนโยชิมิตสึจัดใหมีการเจรจาข้อตกลงระหวางราชวงศฝายเหนือและฝายใต โดยพระราชวงศ


ฝายใตยินยอมมอบเครื่องราชกกุฎภัณฑสามอยาง (Three Sacred Treasures) อันเปนสัญลักษณของราช
สมบัติญี่ปุนใหแก่พระราชวงศฝายเหนือ เทากับเปนการยอมรับวาพระจักรพรรดิที่เมืองเกียวโตนั้นเปนพระ
จักรพรรดิแหงญี่ปุนแตเพียงพระองค์เดียว เปนการยุติสมัยราชวงศเหนือใต
สมัยมุโรมาจิ
รัฐบาลโชกุน “อาชิคางะ โยชิมิส”ึ
ตระกูลอาชิคางะ สราง “คินคาคุจ”ิ

อาชิคางะ โยชิมิสึ
อิคคิวซัง
จากยุค คามากุระ

เปลี่ยนสูยุค เอะโดะ
• อาชิคางะ ลดบทบาทขององค์จักรพรรดิไมใหมีอำนาจอะไรอีก
• อาชิคางะ ครอบครองโชกุนตอมาอีกรวม 2 ศตวรรษ (กษัตริยยังคงมีอยูเคียงคู่กันแต
ไรซึ่งอำนาจที่แทจริง)

จุดเริ่มตนยุคเซนโกคุ(戦国時代)
การปกครองของโชกุนอำนาจของรัฐบาลโชกุนตระกูล อะชิคางะ เริ่มออนแอลง นักรบและ
จ้าวผูครองที่ดินที่ ในทองถิ่นตางเริ่มตอสูกันเพื่อขยายอาณาเขตและเพิ่มพูนอำนาจ ขณะที่ โชกุนและคน
ในบะคุฟุตางใช้ชีวิตอยางฟุงเฟอ และใช้ทรัพยสินเงินทองไปกับสิ่งของหรูหราและพิธีชงชาอันฟุมเฟอย
ไมสนใจความเปนไปภายนอก ซึ่งความวุนวายกำลังเริ่มตั้งเค้า
วรรณกรรมยุคคามากุระ-มุโระมาจิ
• วัฒนธรรมชาววังเสื่อมลงเกิดวัฒนธรรมแหงชนชั้นนักรบขึ้นแทน เปนวรรณคดีที่ให
ความรูสึกหาวหาญจริงจังแบบนักรบ
• การรบราฆ่าฟนก่อใหเกิดความรุงเรืองและตกอับ ทำใหเห็นสัจธรรมของความไมเที่ยง
แท ความเปนอนิจจังของชีวิต ผูคนหันเข้าหาศาสนามากขึ้น นักเขียนเดนๆ เปนพวก
นักบวชที่หนีความวุนวายไปอยูตามปาเขา
• ขุนนางที่ถูกนักรบแยงชิงอำนาจ ตางหวนนึกถึงสมัยที่ตนมีอำนาจรุงเรือง เกิดเปน
วรรณกรรมประเภทบันทึกเรื่องเลา
วรรณกรรมยุคคามากุระ-มุโระมาจิ
(1) วรรณคดีประเภทโคลงกลอน
• 新古今和歌集(しんこきんわかしゅ)
• 小倉百人一首(おくらひゃくにんいっしゅ)

(2) วรรณกรรมประเภทนิยายสงคราม (軍記物語)


• 平家物語(へいけものがたり)
• 太平記(たいへいき)
• 義経記(ぎけいき)
• 保元物語(ほうげんものがたり)
วรรณกรรมยุคคามากุระ-มุโระมาจิ
(3) วรรณกรรมประเภทนิยายเรื่องเลาสืบตอกันมา (説話)
• 宇治拾遺物語(うじしゅういものがたり)
• 御伽草子(おとぎそうし)

(4) วรรณกรรมประเภทความเรียง 「随筆」(ずいひつ)


• 方丈記(ほうじょうき)
• 徒然草(つれづれくさ)

(5) วรรณคดีการละคร
• ละครโน(能)
• เคียวเง็น(狂言)
(1) วรรณคดีประเภทโคลงกลอน
新古今和歌集(しんこきんわかしゅう)
ご と ば いん
• จักรพรรดิโกะโตะบะ (後鳥羽院)พระราชโองการใหกวี 5 คนทำการเลือกและ
รวบรวมขึ้นมา ใช้เวลาในการรวบรวม 4 ป
• มีทั้งหมด 20 เลม มีบทกลอนประมาณ 2000 บท สวนใหญเปนกลอนสั้น (短歌)
• กวีที่แตงมักเปนคนใกลชิดของจักรพรรดิโกะโตะบะ บทกลอนของกวีมักมีความหมาย
ในเชิงสัญลักษณ อานแลวก่อใหเกิดภาพในจินตนาการราวกับไดเห็นภาพวาด
• เทคนิคการประพันธที่พบบอย ไดแก่ 掛詞、縁語、体言止め
กวี 5 คน ผูทำการคัดเลือกและรวบรวม
ふじわらのさだいえ

•藤原定家
みなもとみしとも
•源道具
ふじわらいえたか

•藤原家隆
ふじわらのありいえ

•藤原有家
ふじわらまさすね

•藤原雅経
เทคนิคการประพันธกลอนใน 新古今和歌集
• 縁語(えんご):คำที่เกี่ยวข้องสัมพันธทางความหมายอยางลึกซึ้งกับคำหลัก
เช่น 露(つゆ)・消える/雨・降る

• 掛詞(かけことば):การเลนคำ เช่น 秋・飽き、泣き・なき

• 体言止め(たいげんどめ):การจบกลอนดวยคำนามหรือสรรพนาม
แทนที่จะเปนคำกริยาหรือกลุมคำคุณศัพทแบบประโยคทั่วไป

• 本歌取り(ほんかどり):การนำกลอนที่มีอยูเดิมมาแตงใหม โดยยังคงเนื้อหา
เดิม เปลี่ยนเนื้อหาบางสวนซึ่งทำใหดึงดูดใจผูอาน
み の さくらがり ゆき ち はる あけ

またや見ん かたののみ野の 桜狩 花の雪散る 春の明ぼの


ふじわら としなり

藤原の俊成
新古今集 春下114

จะมีโอกาสไดเห็นอีกไหมนะ ภาพทิวทัศนอันงดงามในยามรุงสางของฤดูใบไม
ผลิ ขณะไปชมดอกซากูระที่กำลังรวงปลิวปรายเหมือนหิมะที่ทุงคะตะโนะ
• เกิดมโนภาพความงดงามของฤดูใบไมผลิ
• ใช้เทคนิค 体言止め ตัดจบกลอนดวยคำนาม คือ คำวา 春の明けぼの
(ยามรุงสางของฤดูใบไมผลิ)
• ใช้ 縁語(雪・散る)
พัฒนาการของกลอนในแตละยุค
万葉集 古今和歌集 新古今和歌集
20 เลม 20 เลม 20 เลม
4500 บท 1100 บท 2000 บท
短歌、長歌、旋頭歌 短歌 短歌
มาจากทุกชนชั้น ชนชั้นสูง คัดเลือกและรวบรวมขึ้นโดยคน
ใกลชิดขององค์จักรพรรดิ
ตรงไปตรงมา เรียบง่าย ไม ละเอียดออน งดงาม ใช้เทคนิคและ บทกลอนมักมีความหมายในเชิง
แตงแตม แสดงออกแบบผูชาย ไหวพริบในการแตงแบบซับซ้อนทรง สัญลักษณ อานแลวก่อใหเกิดภาพใน
ภูมิ แสดงออกแบบผูหญิง จินตนาการราวกับไดเห็นภาพวาด
นารา เฮอัน คามากุระ
(1) วรรณคดีประเภทโคลงกลอน

小倉百人一首(おくらひゃくにんいっしゅ)
• รวบรวมขึ้นในช่วงตนสมัยตนคามากุระราวป 1235 โดย 藤原定家(ふじわらのさだいえ)
หรือเรียกสั้นๆ วา 定家(ていか)
• 為家(ためいえ)บุตรชายของ 藤原定家(ふじわらのさだいえ) ตองการตกแตงประตู
บานเลื่อน จึงขอใหพอช่วยคัดเลือกบทกลอนญี่ปุนเพื่อใช้เขียนลงบนบานประตูเลื่อนนั้น
• คัดเลือกบทกลอนของกวีที่มีชื่อเสียง 100 คน โดยเอามาคนละบท กวีที่แตงเปนชาย 79 คน
หญิง 21 คน ในจำนวนกวีที่เปนชายมีที่เปนพระอยู 13 คนบท กวีเหลานี้มีชีวิตอยูตั้งแตสมัย
ศตวรรษที่ 7 จนถึงตนศตวรรษที่ 13
• กลอนใน 百人一首 เปนบทกลอนประเภท ทังกะ (短歌)กลาวคือ บทหนึ่งจะมี 5 วรรค จำนวนพยางค์
ในแตละวรรคคือ 5 7 5 7 7 รวมเปน 31 พยางค์
• 百人一首ไดรับการยกยองใหเปนคู่มือขั้นตนในการแตงบทกลอนทังกะ ของญี่ปุน และยังเปนที่รูจักกัน
แพรหลายเนื่องจากบทกลอนใน 百人一首 ไดปรากฏอยูบน ไพคะรุตะ(歌留多) ของญี่ปุนดวย
แบงแยกประเภทหมวดของกลอนออกได ดังนี้
• หมวดความรัก มี 43 บท
• หมวดเบ็ดเตล็ด มี 20 บท
• หมวดฤดูใบไมรวง มี 14 บท
• หมวดฤดูใบไมผลิ มี 8 บท
• หมวดฤดูหนาว มี 6 บท
• หมวดฤดูรอน มี 4 บท
• หมวดการเดินทาง มี 4 บท
• หมวดการพลัดพราก มี 1 บท

*หมวดความรัก มีปรากฏอยูมากที่สุด
ตัวอยางกลอนใน 小倉百人一首
ผูแตง : จักรพรรดิเท็นจิ (天智天皇) เพศ ชาย
แหลงที่มา : กลอนบทที่ 302 ในหนังสือรวมกลอนโกะเซ็งวะกะฌู
(後撰和歌集) หมวดฤดูใบไมรวง

あきのたの かりおのいおの たまをあらみ


わがころもでは つゆにぬれつつ

กระทอมริมน้ำในฤดูใบไมรวงมุงหลังคาดวยใบจากอยางหยาบๆ ชายแขน
เสื้อของฉันเปยกปอนไปดวยน้ำค้าง

เปนการบรรยายภาพในช่วงปลายฤดูใบไมรวงซึ่งตรงกับฤดูเก็บเกี่ยว
ใหอารมณความงามแบบเงียบเหงาเศราสรอยของฤดูใบไมรวง
กลอนบทที่ 3
あしびきの 山鳥の尾の しだり尾の
ながながし夜を ひとりかも寝む
柿本人麻呂
จากกลอนบทที่ 778 ในหนังสือรวมกลอน ฌูอิวะกะฌู 拾遺和歌集 หมวดความรัก

ฉันจะตองนอนคนเดียวในค่ำคืนที่ยาวนาน
ดุจดั่งความยาวของหางนกปาที่หอยยอยลงมากระนั้นหรือ
Kakinomoto no Hitomaro
あしびきの 山鳥の尾の しだり尾の
ながながし夜を ひとりかも寝む
柿本人麻呂

• กลอนบทนี้แสดงถึงความโศกเศราอางวางที่ไมอาจจะพบกับคนรักได ตองนอนอยูคนเดียวในค่ำคืน
• นกปา สื่ออารมณอางวางของกวีที่ตองนอนคนเดียวในค่ำคืนอันยาวนานของฤดู
• ธรรมชาติของ นกปา(山鳥)เพศผูและเพศเมียจะอยูรวมกันในตอนกลางวัน แตพอตกกลางคืนจะแยกกันนอนอยูคน
ละที่โดยจะบินแยกไปอยูคนละหุบเขาจึงมักใช้เปรียบกับสามีภรรยาหรือคู่รักที่ตองแยกกันอยูหรือการนอนคนเดียว
(2) วรรณกรรมประเภทนิยายสงคราม(軍記物
語)
(2.1) 平家物語(へいけものがた
り)
• เปนวรรณกรรมประเภทนิยายสงครามที่มีชื่อเสียงมากที่สุด ไมทราบผูแตง บางตำราไดกลาววา
ถูกแตงโดยพระตาบอดที่ทองเที่ยวไปยังที่ตาง ๆ ขณะที่เลนบิวะ (เครื่องดนตรีชนิดหนึ่งคลาย ๆ
น้ำเตา) ไปดวย
• เนื้อเรื่องบรรยายถึงการสูรบของสองตระกูล คือ ตระกูล 源(みなもと)และ ตระกูล 平(たいら)
สงครามจบลงดวยความพายแพของตระกูลไทระ
• สะทอนใหเห็นถึงความอนิจจังของชีวิตจากการรุงเรืองและลมสลายของตระกูลไทระ รวมถึง
บรรยายถึงความกลาหาญและการตายอยางสมศักดิ์ศรีของเหลานักรบทั้งสองตระกูล
平家物語
• เปนนิยายอิงประวัติศาสตรที่มีชื่อเสียงที่สุด
• มี 13 ภาคใหญ และ มีภาคยอยๆ ภาคแตละภาคใหญ
• สันนิษฐานวาถูกแตงในกลางศตวรรษที่ 13
• ตัวละครแทบทุกตัว มีตัวตนอยูจริงในประวัติศาสตร
• เนื้อหาสะทอนใหเห็นถึงกฎธรรมชาติตามคำสอนของพระพุทธศาสนา เช่น กฎแหงกรรม
ความเปนอนิจจัง ทำดีไดดี ทำชั่วไดชั่ว การออกบวชและชาติภพ เปนตน
• ภาษาการเขียนเปนวรรณกรรมรอยแก้ว แตสละสลวยมีจังหวะจะโคนทำใหรูสึกเหมือนอาน
วรรณกรรมรอยกรอง
โครงสรางโดยรวมของ
平家物語
• บทที่ 1-5 : อธิบายถึงการมีอำนาจของตระกูล ไทระ และเปนจุดเริ่มตนของการลุกฮือขึ้น
ตอตานตระกูลไทระโดยตระกูล มินาโมะโตะ ที่สนับสนุนจักรพรรดิ 後白河天皇(ごしらか
わてんのう) โดยตัวเอกในตอนนี้คือ 平清盛(たいらの きよもり)และลูกชายของเขา
平 重盛(たいらの しげもり)

• บทที่ 6-8 : เกิดการตอตานตระกูลไทระทั่วทั้งประเทศ ตระกูลมินาโมะโตะ ทำใหตระกูล ไทระ


หนีไปตั้งหลัก ตัวตั้งตัวตีที่สำคัญคือ 源義高(みなもとの よしたか)ที่นำไปสูการโจมตีและ
การแตงตั้งตัวเองเปนองครักษของ 後白河天皇 และตั้งรัฐบาลของเขาขึ้นมา
โครงสรางโดยรวมของ
平家物語
• บทที่ 9-12 : อธิบายถึงการควบคุม 平 義隆(たいら よしたか) ของ 源 頼朝(みなもと の よりと
も) และการลมสลายของตระกูลไทระ สถานทีส่ ำคัญในการตอสูเ ช่น 一ノ谷の戦い(いちのたにの
たたかい)、屋島の戦い(やしまのたたかい)และ 壇ノ浦 ตัวตั้งตัวตีที่สำคัญคือ 源義経 (みなもと
よしつね) ที่ทำใหชนะศึกตางๆไดแตเขาก็ถูก 源 頼朝(みなもと の よりとも)ตามลาและตายใน
ที่สุด

• บทที่ 13 : อธิบายถึง 後白河天皇 และการตายของ 建礼門院(けんれいもんいん)ลูกสาวของ

平 清盛(たいら の きよもり) และแมของจักรพรรดิที่ตกอยูในการควบคุมของตระกูลไทระองค์


สุดทาย 安徳天皇(あんとくてんのう)
การตอสูระหวางตระกูล ไทระ กับ มินาโมะโตะ
หลังโค่นตระกูลฟูจิวาระ ไทระ ไดรับการสนับสนุนมากกวา
• ตระกูลไทระ กับ ตระกูลมินาโมโตะ ช่วยกันโค้นลมตระกูล ฟุจิวาระที่มีอำนาจในราชสำนักในตอนนี้แลว
ดัน องษจักรพรรดิโกะ-ชิระงะวะ ขึ้นมาปกครอง ทำใหพระภิกษุ ชินเซ มีอำนาจตามไปดวย พระชินเซ
โปรดปรานและสนับสนุน ไทระ โนะ คิโยะโมะริ (平清盛)

มินาโมะโตะรวมมือกับตระกูลฟูจิวาระเข้ายึดอำนาจ
• จากปญญาและวิสัยทัศนของ คิโยะโมะริ ทำใหเขามียศสูงขึ้นๆ ไปอีก ในขณะที่
ตระกูลมินาโมโตะ นำดวย มินะโมะโตะ โนะ โยะชิโตะโมะ (源義朝) เกิดความ
คัดแค้นใจที่ไมไดตำแหนงที่ควรไดกับการกระทำ จึงวางแผนกับ ฟุจิวะระ โนะ
โนะบุโยะริ เข้ายึดพระราชวัง แลว สังหาร ภิกษุชินเซ จากนั้นเข้าจับกุมพระ
จักรพรรดิ โกะ ชิรางาวะ
平清盛
หัวหนาตระกูลไทระ แกลงยอมจำนนแลววางแผน
ใหตระกูลมินาโมะโตะยกทัพมาที่ โระกุฮาระ
• ไทระ โนะ คิโยะโมริ ซึ่งออกเดินทางไป สักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกเมืองไดยินข่าวจึงแสรงทำเปนยอมจำนน
ตอการยึดอำนาจของ ฟุจิวะระ โนะ โนะบุโยะริ และ มินาโมะโตะ โยะชิโตะโมะ ในขณะเดียวกันได
จัดการใหจักรพรรดิทั้งสองพระองค์หลบหนีออกจากที่กุมขังออกมาไดสำเร็จ แลวจึงสงบุตรชายคนโตคือ ไท
ระ โนะ ชิเงะโมะริ ยกทัพเข้าโจมตีฝายตระกูลมินะโมะโตะที่พระราชวัง

• จากนั้นจึงลาถอยออกมาหลอกใหทัพ มินาโมะโตะ ติดตามมาจนถึง โระกุฮะระ เปนที่อยูของตระกูลไทระ


แลว คิโยะโมะริ จึงนำทัพเข้าโจมตีจนทัพฝาย มินาโมะโตะ พายแพไปแลวจึงทำการสังหาร มินาโมโตะ
โยชิโตโมะ ยกตระกูล
ตระกูลมินาโมโตะ พายแพแลวถูกสังหารยกตระกูล
• พวก มินาโมโตะ ที่เหลือถูกเนรเทศไปที่ไกลจากเมืองหลวง มินาโมโตะ โยชิโตโมะ หัวหนาตระกูล ถูกสังหาร

• ภรรยาพาลูกๆ (โยะริโตะโมะ/โยชิสึเนะ/โยะริโนะริ) ไปสวามิภักดิ์และยอมเปนภรรยานอยของหัวหนาตระกูล ไท


ระ (ไทระ คิโยะโมริ) เพื่อไมใหลูกๆ ถูกฆ่า

• โยะริโตะโมะ กับ โยะริโนะริ พี่ชายตางแมถูกเนรเทศไปตางเมือง สวน โยชิสึเนะ ในขณะนั้นยังเล็กมากไดอยูกับแม


และถูกสงไปอยูวัดจนโตเปนหนุมและถูกสั่งใหบวชในเวลาตอมา

• เมื่อถูกสั่งใหบวชเขาเลยหนีออกจากวัดและไดพบกับ มุซะชิโบ เบ็งเก (武蔵坊弁慶) พระนักรบ ซึ่งตอมาได


กลายเปนทั้งเพื่อนและบาวรับใช้คู่ใจที่อยูข้างกาย
โยะชิสึเนะตามหาพี่ชายและเข้ารวมทัพ
• ในค.ศ. 1180 โยะชิสึเนะ ไดทราบข่าววาพี่ชายตางมารดาของตน คือ โยะริโตะโมะ ไดทำการ
ตอตานการปกครองของ ตระกูลไทระ โดยมีฐานที่มั่นอยูที่เมือง คะมะกุระ จังหวัดคะนะงะวะใน
ปจจุบัน โยะชิสึเนะ จึงเดินทางจากเมืองฮิระอิซุมิพรอมกับเบ็งเกมาพบกับ โยะริโตะโมะ
げんぺいかっせん

• โยะริโตะโมะ รับ โยะชิสึเนะ เข้ามาเปนหนึ่งในขุนพลตระกูลมินะโมะโตะในการทำสงครามกับ


ตระกูลไทระ ซึ่งมีผูนำ คือ ไทระ โนะ มุเนะโมะริ (平宗盛)

ค.ศ. 1181ไทระ คิโยะโมะริ ไดเสียชีวิตดวยอายุ 63 ป เนื่องจาก ไทระ ชิเงโมริ บุตรชายคนโตไดเสียชีวิตไปก่อนเมื่อค.ศ. 1179 และไทระ โมะโตะโมริ บุตรชายคนที่สอง
เสียชีวิตเมื่อค.ศ. 1162 ไทระ มุเนะโมริ บุตรคนที่ 3 จึงไดขึ้นเปนผูนำตระกูลไทระแทนที่บิดา
ยึดเฮอันจาก โยะชินะกะ ลูกพี่ลูกนอง
• ในขณะเดียวกันทางฝงตะวันตก มินาโมะโตะ โนะ โยะชินะกะ (源義仲) ผูเปนลูกพี่ลูกนอง ไมยอมรับ
อำนาจของ โยะริโตะโมะ และตองการที่จะสรางเกียรติยศโดยการโค่นลมตระกูลไทระดวยตนเอง

• ค.ศ. 1183 โยะชินะกะ สามารถเข้ายึดนครเฮอังเกียวได ทำให มุเนะโมะริ ตองพาสมาชิกตระกูลไทระ


อพยพไปหนีไปทางใต

• โยะริโตะโมะ สง โยะชิสึเนะ และ มินะโมะโตะ โนะ โนะริโยะริ (源範頼) พี่ชายตางมารดา ยกทัพไป
ทางตะวันตกและสามารถยึดนครเฮอันเกียวจาก โยะชินะกะ ได

• โยะชินะกะ หลบหนีแตถูก โยะชิสึเนะและโนะริโยะริ ติดตามจนตอสูกันที่เมืองโอสึ ใน ค.ศ. 1184 โยะชินะ


กะถูกสังหารในที่สุด
一ノ谷の戦い

• ป ค.ศ. 1184 โยะชิสึเนะ และ โนะริโยะริ ยกทัพมาเอาชนะทัพของตระกูลไทระไดในยุทธการ


อิชิโนะตะนิ (一ノ谷の戦い) ในบริเวณเมืองโกเบ จังหวัดเฮียวโงะในปจจุบัน ไทระ โนะ
ทะดะโนะริ (平忠度) ถูกสังหารในที่รบ และไทระ โนะ ชิเงะฮิระ (平重衡) ถูกจับกุมตัวได
壇ノ浦の戦い

• ป ค.ศ. 1185 โยะชิสึเนะ นำทัพเข้าลอมเมือง ยะชิมะ (屋島) จนสามารถตีเมือง ยะชิมะ


แตกไดจน มุเนะโมะริ ตองพาสมาชิกตระกูลไทระลงเรืออพยพไปทางตะวันตก โยะชิสึเนะ
ไดยกทัพเรือออกติดตามจนปะทะกับทัพเรือของตระกูลไทระที่ช่องแคบคัมมง ในยุทธนาวี
ดันโนะอุระ (壇ノ浦の戦い)จนมีชัยชนะเหนือตระกูลไทระ
壇ノ浦の戦い
• สมาชิกตระกูลไทระเกือบทั้งหมดจึงกระโดดลงทะเล
เสียชีวิตเพื่อหนีความพายแพ นางนิอิ-โนะ-อะมะ
(二位尼) หรือไทระ โนะ โทะกิโกะ ภรรยาเอกของ
คิโยะโมะริ ไดอุมจักรพรรดิอันโตะกุ พระชนมายุ
เพียงเจ็ดพรรษากระโดดลงทะเลสวรรคต
(2.2) 太平記(たいへいき)

• นิยายสงครามเลาถึงสงครามระหวางฝายเหนือและฝายใตในสมัย 南北朝(なんぼくちょう)
• ภาษาในการเขียนใช้อักษรจีน โดยมีอักษรญี่ปุนแทรกตรงที่เปนคำช่วยหรือผันทายคำกริยา ที่
เรียกวา 和漢混交文(わかんこんこうぶん)
• เปนวรรณกรรมรอยแก้ว แตมีรอยกรองแทรกในสวนที่บรรยายถึงทิวทัศนและสภาพการ
เดินทาง
• มักพูดถึงแตการตอสูและวีรกรรมของนักรบอยางละเอียดแตไมไดใหความรูสึกสะเทือนอารมณ
เหมือน 平家物語
เนื้อเรื่องใน 太平記(たいへいき)
• เนื้อหาเริ่มตั้งแตจักรพรรดิ 後醍醐天皇(ごだいごてんのう)ลมลางตระกูลโฮโจ (北条)ซึ่ง
นับเปนการสิ้นสุดสมัยคามากุระแลวก่อตั้งรัฐบาลขึ้นใหมที่เกียวโต แตก็ตองเลิกลมไปใน
ช่วงเวลาไมกี่ป

• การสูรบระหวาง 新田義貞(にったよしさだ)และ 足利尊氏(あしかがたかうじ)การแบงแยก


เปนฝายเหนือของ และ 足利尊氏(あしかがたかうじ)และฝายใตของจักรพรรดิ 後醍醐天皇
(ごだいごてんのう) และการสู  ร บของทั ้ ง สองฝ า ย จบลงที ่ ช ั ย ชนะเป น ของฝ า ยเหนื อ และ
รวบรวมฝายใตไดทั้งหมดในสมัยของ 足利義満(あしかが よしみつ)
(2.3)義経記(ぎけいき)
• ไมทราบผูแตง สันนิษฐานวาแตงขึ้นราวตนสมัยมุโระมาจิ

• เนื้อเรื่องกลาวถึงชะตากรรมอันแสนเศราของตัวเอก คือ 源義経(みなもとよしつね)นองชายของ 源


頼朝(みなもとよりもと) ซึ่งเปนนักรบที่เคยรุงโรจนที่ไดช่วยเหลือพี่ช่ายทำศึกกับตระกูลไทระจนไดรับ
ชัยชนะ แตถูกใสรายและถูกไลลาเอาชีวิตและประสบกับความเสื่อมลาภยศในภายหลัง

• กลาวถึงความรัก ความภักดี การพลัดพรากตายจาก ใหอารมณสะเทือนใจ เปนผลงานจัดอยูใน


ประเภท 判官物(ほうがんもの) หมายถึง นิยายที่พรรณนาถึงชะตากรรมอันเลวรายของตัวเอกดวย
อารมณสะเทือนใจ
(2.4) 保元物語(ほうげんものがたり)
• นิยายสงครามเลมแรกในสมัยคามากุระ มี 3 เลม ไมทราบผูแตง
• เนื้อเรื่ องเกี ่ยวกับ สงครามโฮเง็ น (保元の乱) (การแย งอำนาจระหวา งอดี ต
จั ก รพรรดิ ส ึ โ ตะกุ (崇徳天皇) และจั ก รพรรดิ โกะชิ ร ะกะวะ (後白河天皇)
ที่จบลงดวยชัยชนะของจักรพรรดิ โกะชิระกะวะ)
(3) วรรณกรรมประเภทนิยายเรื่องเลาสืบตอกันมา (説話)
う じ しゅう い もの がたり
3.1 宇治拾遺物語
• ชื่อเรื่อง 宇治=ชื่อเมือง 、拾遺=การรวบรวมผสมปนเป
• ประกอบดวยนิทานเรื่องเลา 197 เรื่อง ในจำนวนนี้มีกวา 80 เรื่องที่ซ้ำกันกับ 今昔物語
(こんじゃくものがたり)
• เนื้อเรื่องมีทั้งนิทานพุทธศาสนา เรื่องขำขัน เทพนิยายแบบเก่าๆ มีลักษณะเปนแบบ
พื้นบานจึงเข้าถึงคนทั่วไปไดง่าย
• ผลงานเลมนี้ไดรับการตีพิมพหลายครั้งในสมัยเอะโดะ
• นิทานที่รูจักกันดี คือ こぶ取り爺さん และ 雀報恩の事(すずめほうおんのこと)

http://www.koten.net/uji/
こぶ取り爺さん

https://www.youtube.com/watch?v=WI4bVPIoPOY
3.2 御伽草子(おとぎそうし)
คือ นิทานเรื่องเลาในรูปแบบนิยายขนาดสั้น เนื้อหาเข้าใจง่าย แมแต
ชาวบานที่ดอยการศึกษาก็เข้าใจได มีหลายประเภท เช่น
• 鉢かづき ลูกเลี้ยงที่ถูกแมเลี้ยงรังแก แตสุดทายไดแตงงานกับชายคน
รักและมีชีวิตที่เปนสุข
• 三人法師(さんにんほうし) พระสามรูปเลาถึงอดีตที่ทำใหตน
ออกบวช
• 一寸法師(いっすんほうし) เรื่องราวของชายหนุมตัวจิ๋วที่ได
ของวิเศษจากยักษและกลายเปนชายหนุมรูปงาม
• 浦島太郎(うらしまたろう) เรื่องราวของชายหนุมใจดีช่วยเตา
ทะเลและเตาทะเลตอบแทนบุญคุณโดยพาไปปราสาทใตทะเล
浦島太郎

一寸法師

https://www.youtube.com/watch?v=dJ-v-pQsaX0
https://www.youtube.com/watch?v=IKgd2d8CRy0
(4) วรรณกรรมประเภทความเรียง 「随筆」(ずいひつ)
วรรณกรรมประเภทความเรียง 「随筆」(ずいひつ)ที่สำคัญในยุคนี้เขียนขึ้นโดย
นักบวชที่หนีความวุนวายจากเรื่องทางโลกไปอยูในปา ที่สำคัญไดแก่

4.1 方丈記(ほうじょうき)
• เขียนโดย 鴨長明(かものちょうめい)กวีที่เชี่ยวชาญดานกลอนญี่ปุนซึ่งไดออกบวช
ไปอยูในอาศรมกลางปาที่มีขนาด 4 เสื่อครึ่ง ซึ่งขนาดกวางยาวนี้เรียกวา 方丈 โดย
ผลงานความเรียงเรื่องนี้ถูกเขียนขึ้นที่อาศรมแหงนี้
• กลาวถึงความไมเที่ยงแทของชีวิตและความเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคม ครึ่งหลัง
บรรยายถึงความสงบสุข การออกบวชที่ถอยหางความวุนวายในชีวิต โดยมีการสำรวจ
ตัวเอง ไมไดมองดานเดียว
เนื้อหาใน 方丈記(ほうじょうき)
• ครึ่งแรก เขียนเกี่ยวกับเหตุการณไฟไหมในเมืองหลวง ภัยธรรมชาติและการยายเมืองหลวง ภัย
พิบัติและเหตุการณสำคัญในเมืองหลวงในช่วงป ค.ศ. 1177-1185 (ไฟไหมครั้งใหญที่เกียวโต พายุ
หมุน การยายเมืองหลวง ความอดอยากแหงแลว โรคระบาด แผนดินไหวครั้งใหญ)
• ครึ่งหลังบรรยายถึงความสงบสุขของชีวิต การบวชที่ถอยหางจากเรื่องวุนวายทางโลกและความรูสึก
ดีที่ไดออกบวช
• ชี้ใหเห็นถึงชีวิตในกระทอมที่ตัดขาดจากโลกภายนอกวาสงบสุขเพียงใด
• ไดรับการยกยองใหเปน 1 ใน 3 วรรณกรรมประเภทความเรียงดีเดนรวมกับ มาคุระโซชิ และ
ทสึเระทสึเระงุสะ
つれ づれ くさ

4.2 徒然草

• 徒然=เบื่อหนาย เปนผลงานที่ผุดขึ้นมาในใจของ
ผูเขียนในขณะที่กำลังเบื่อหนายอางวาง (ที่เกิดจาก
สภาพแวดลอมที่ไมมีการเปลี่ยนแปลง)
• เขียนโดยพระ ชื่อ 兼好(けんこう)ซึ่งครอบครัว
เปนผูประกอบพิธีบวงสรวงเทพของลัทธิชินโต แต
พระเค็งโค กลับเลือกบวชในรมเงาศาสนาพุทธ
เนื้อหาใน 徒然草(つれづれくさ)
• เนื้อหามี 243 ตอน เปนการมองชีวิตและธรรมชาติ เนื้อหาไมเฉพาะแค่เรื่องศาสนา แตยังวิจารณ
เกี่ยวกับความรัก เรื่องเลาบุคคล เรื่องตลก เปนตน
• กลาวถึงปรัชญาของพุทธศาสนาดานอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา และคติเพื่อการมีชีวิตที่ดีงาม รวมทั้งเห็น
อกเห็นใจในการดำรงชีวิตของนักรบที่ตองทนทุกข์ทรมานภายใตความจงรักภักดีตามหนาที่ ในขณะ
ที่ชนชั้นเจ้านายมีชีวิตอยางสุขสบาย
• ถือเปนผลงานที่ผสมผสานความงามในวรรณคดีแบบเฮอันและความเปนอนิจจังของคามากุระไดอยาง
กลมกลืน
• ใช้รูปแบบการเขียนแบบเก่าที่ใช้ศัพทสูงและใหความรูสึกสลวยงดงาม วิจารณความงามของธรรมชาติ
โดยชี้ใหเห็นอีกดานหนึ่งซึ่งตรงข้ามกับคนทั่วไปคิด โดยชี้ใหเห็นถึงความงามในความเปนอนิจจังของ
ธรรมชาติ
• มีลักษณะงานเขียนคลายมาคุระโนะโซชิ แตแฝงดวยอารมณเศราหมอง ตางจาก มาคุระโนะโซชิ มีแต
ความสดชื่นรื่นเริง
花はさかりに、月はくまなきをのみ見るものかは。雨に向ひ
て月を恋ひ、たれこめて春の行方知らぬも、なほあはれに情
けふかし。吹きぬべきほどの梢、散りしをれたる庭などこそ
見所多けれ。

はなはさかりに、つきはくまなきをのみ、みるものかは。あめにむ
かいてつきをこい、たれこめてはるのゆくえしらぬも、なお、あわ
れになさけふかし。さきぬべきほどのこずえ、ちりしおれたるにわ
などこそ、みどころおおけれ。

“ซากุระอยูที่ความบานสะพรั่ง และดวงจันทรอยูที่ความแจ่มกระจ่างเทานั้นหรือ การชื่มชมดวง


จันทรบนทองฟายามเมฆฝน หรือการหมกตัวอยูในหองซึ่งบดบังดวยมานไมไผโดยมิไดตระหนัก
ถึงฤดูใบไมผลิทีเคลื่อนไปก็เปนสิ่งที่นาจะประทับใจยิ่ง กิ่งไมแหงกรานซึ่งกำลังผลิดอกอีกทั้งสวน
ซึ่งถูกแตงแตมดวยสีสันแหงดอกไมที่รวงโรยนี่สิเปนสิ่งที่นาชม”
(5) วรรณคดีการละคร
5.1 ละครโน(能)
เกิดจากการผสมผสานศิลปะหลายแบบที่มีมาก่อนหนานี้เข้าดวยกัน
• พิธีกรรมรายรำเพื่อบวงสรวงเทพเจ้าในสมัยโบราณ
• ศิลปะ 散楽(さんがく) จากจีนเข้ามาญี่ปุนในสมัยนารา ซึ่งญี่ปุนนำไปใช้รายรำใน
พิธีบวงสรวงเทพเจ้า
• พอเข้าสูสมัยเฮอัน สวนที่เปนบทพูดตลกขบขันใน 散楽(さんがく)ไดพัฒนาไปเปน
การแสดง 猿楽(さるがく)สวนที่เปนการรายรำไดพัฒนาเปน 田楽(でんがく)
• การแสดงเหลานี้ไดรับการพัฒนาจนเกิดอาชีพนักแสดงและพัฒนาจนเกิดเปนละคร
โน (能)ในช่วงศตวรรษที่ 14-15

**散楽=การแสดงหลายอยางรวมกัน เช่น การรองรำ,กายกรรม,ดนตรี,มายากล,ละครสัตว ฯ


วิวัฒนาการของละครโน
• สมัยก่อน โน คือการรองเพลงสรรเสริญ เยินยออิทธิฤทธิ์และความดีของพระเจ้า หรือ
กลาวถึงความเจริญรุงเรืองของวัดและประวัติที่ดีงามในการสรางวัด รวมไปถึงการ
พยากรณที่มีอิทธิพลตอจิตใจของชาวญี่ปุน ซึ่งอาจกลาวไดวาเริ่มเมื่อราว 600 ปที่แลว
โดย คันอะมิ และ เสะอะมิ สองพอลูกที่เปนนักแสดงซะรุงะคุ

• เมื่อเข้าศตวรรษที่ 14-15 การแสดงเหลานี้ก็แพรหลายจนเกิดเปนอาชีพนักแสดงขึ้นมา


เกิดการแข่งขันแยงชิงคนดูกัน ทำใหศิลปะการแสดงพัฒนาจนเกิดละครโน ซึ่งเปนละคร
ที่เนนบทพูดรายรำและบทรอง ซึ่งเปนที่นิยมในชนชั้นสูง เช่น ซามูไรหรือพวกนักรบ
• ผูที่มีบทบาทสำคัญในการใหกำเนิดละครโน คือ 観阿弥(かんあみ) และผูที่ทำใหละครโน
เฟองฟูขึ้นคือบุตรชายของเขา 世阿弥(ぜあみ)
• ผูไดรับการขนานนามใหเปนบิดาแหงละครโน ไดแก่ 世阿弥 ที่ไดแตงบทละครโนและ
สรางสรรค์ศิลปะการรองและการรายรำใหงดงามขึ้น บทละครที่แตงมีทั้งหมดราวพันกวาบท
ในสมัยมุโระมาจิและเพิ่มขึ้นเปนสองเทาในสมัยเอะโดะ และยังเปนผูแตงทฤษฏีการละครและ
ตำราละครโนไวหลายเลม
ลักษณะเดนของละครโน
1) นักแสดงทั้งหมดเปนผูชาย แรกเริ่มใช้ผูหญิงแสดงแตเพราะเกิดปญหาการขายบริการขึ้น จึง
เปลี่ยนมาเปนผูชายทั้งหมด ตอมาก็ยังมีปญหารักรวมเพศ จึงกำหนดใหเปนชายอายุมาก (โตเต็ม
วัย) เทานั้นที่จะแสดงได
2) ใสหนากากในการแสดง
3) การเปลงเสียงรองออกมาในระดับเดียวทำใหเสียงแปลกเฉพาะตัว
4) มีการรายรำที่เชื่องช้าตามหลักลัทธิเซน เพราะเชื่อวาจะทำใหจิตใจสงบสุข
เครื่องดนตรีประกอบการแสดงละครโน
ชุดแตงกายละครโน 能装束(のうしょうぞく)

• ประกอบดวยเสื้อผามากมายหลายประเภท ทั้งเสื้อชั้นใน เสื้อชั้นนอก และเสื้อคลุมแบบตางๆ


เสื้อผาเหลานี้มีสวนสำคัญตอการแสดงละครอยางมาก เนื่องจากรูปแบบและของเสื้อผาจะช่วยบง
บอกถึงฐานะ อารมณ และบุคลิกของตัวละครไดเปนอยางดี ในการแสดงแตละครั้ง ผูแสดงอาจ
ตองเปลี่ยนเสื้อผาหลายชุด โดยทำการเปลี่ยนตอหนาผูชมขณะอยูบนเวทีแสดง
ตัวอยางสีที่บอกสถานะของตัวละคร
• สีขาว หมายถึง ชนชั้นสูง
• สีแดง หมายถึง หญิงสาว
• สีฟาออน หมายถึง อารมณที่หุนหันพลันแลน
• สีน้ำเงินเข้ม หมายถึง คนที่มีความเห็นอกเห็นใจผูอื่น
• สีเขียวออน หมายถึง ข้าทาส, บริวาร
• สีน้ำตาล หมายถึง คนรับใช้ หรือชาวไรชาวนา
ตัวละคร ผูรับใช้
ตัวละครเอก 友 (To mo)
ออกมาแสดงบทบาทเปนครั้งคราว เปนสวนมากโตโมะคือ
仕手 (Shi te) ตัวละครที่แสดงเปนคนใช้ เช่น เปนผูถือดาบตามหลังตัวละครเอก
เปนทั้งนักรองและนักเตน หรือรายรำ ตอมาละครโนไดเพิ่มบทบาทใหโตโมะมีความสำคัญเกือบเทาซุเระ

ตัวรอง ตัวติดตาม
連れ (Tsu re)
脇 (Wa ki)
คือตัวติดตาม ซึ่งเราจะเรียกชื่อของซุเระตามตัวละครที่เขา
เปนผูสรางสถานการณ เพื่อใหชิเตะ มี
ออกไปแสดงรวมกัน เช่น หากออกไปพรอม ชิเตะ จะเรียกวา ชิเตะซุ
โอกาสหรือฉวยโอกาสรองเพลงและรายรำ
เระ และถาออกไปพรอม วากิก็จะเรียกวา วากิซุเระ
地謡 นักรองประสานเสียง
じうたい

มี 8-10 คน รวมทั้งหัวหนา มีสวนรวมในละคร 2 อยาง คือ


รองเพลงแทนชิเตะ โดยเฉพาะอยางยิ่งในกรณีที่มีการรายรำรวม
ดวย หรือเปนผูบรรยายความรูสึกของตัวละคร หรือพูดกับนักแสดง
(ทั้ง 2 ประการทำโดยการรองเพลง) ทั้งนี้ โดยไมแสดงตัวตน
ลำดับของเครื่องดนตรี
能舞台(Nou bu tai)

• เวทีเฉพาะสำหรับแสดงละครโนซึ่งทำมาจากไม มีระเบียงทางเดินดานหลังใช้สำหรับเดิน
ออกมาเรียกวา 橋掛(はしがかり) โดยฉากข้างหลังจะเปนตนสนเทานั้น
能舞台(Nou bu tai)
ประเภทของละครโน (แบงตามลำดับการดำเนินเรื่อง)
• 夢幻能(むげんのう)
หรือ บทละคร “ในฝน” เปนประเภทที่ตัวละครที่เปนวิญญาณคนตายออกมาเลาเรื่องราวชีวิต
ในอดีตใหอีกตัวฟง ระหวางที่เลาเรื่องก็จะรายรำไปดวยโดยบอกวาคนรักของตนเคยรายรำแบบนี้มา
ก่อน หรือเลาวามีคนเคยรายรำแบบนี้ ซึ่งเปนการผสมผสานอดีตกับปจจุบันเข้าดวยกัน พอเลาจบก็จะ
หายตัวไป ตัวละครที่ฟงเรื่องราวอยูก็จะตื่นจากความฝน
• ตัวละครเอกเปนชาย มักเปนวิญญาณของนักรบ
• ตัวละครเอกเปนหญิง มักเปนวิญญาณของหญิงที่มีความทุกข์ทรมาน ยึดติดเรื่องราวใน
อดีต(สะทอนทรรศนะความเชื่อเกี่ยวกับความตาย การฆ่าตัวตาย ความเชื่อเกี่ยวกับ
ศาสนาของคนยุคมุโระมะจิ)

• 現在能(げんざいのう)
เปนประเภทที่มีการดำเนินเรื่องไปตามปรกติ ไมมีการเลายอนอดีต
ประเภทของละครโน (แบงตามเนื้อหา)
1) 脇能物 (わきのうもの) เปนประเภทที่มีเทพออกมาอวยพรใหประเภทรมเย็นเปนสุข หรืออวยพรคน
ดูใหมีความสุข
2) 修羅物 (しゅらもの) เปนประเภทที่วิญญาณของนักรบที่ตายในสมัยสงคราม เช่น สงครามเก็มเป
ออกมาเลาความทุกข์ของตนและขอใหช่วยทำบุญให
3) 鬘物 (かつらもの) ตัวละครเอกเปนหญิงงามหรือนางพรายออกมาเลาเรื่องราวของตัวเอง

4) 雑物 (ざつもの) ประเภทที่ตัวละครเอกไมจัดอยูในกรณีข้างตน

5) 切能物 (きりのうもの) เปนเรื่องราวเกี่ยวกับยักษ สัตวประหลาด หรือตัวเอกที่ไมใช่มนุษย


5.2 เคียวเง็น(狂言)
• ละครที่เนนบทพูดและทาทีที่ตลกขบขัน ไมสวมหนากาก ภาษาที่ใช้เปนภาษา
ชาวบาน ไมใช้สัญลักษณ
• ละครชวนหัวซึ่งนำชีวิตความเปนอยูของชาวบานมาผูกเปนเรื่องราวขึ้นมา ดำเนิน
เรื่องดวยการพูดคุย ไมใช้ศิลปะการรายรำและไมใช้เครื่องดนตรีแบบละครโน
• เลนคั่นในช่วงที่ละครโนพักฉาก
• เคียวเง็นแบงประเภทตามตัวละครในเรื่อง เช่น 大名狂言(だいみょう)、むこ・女狂言、
山伏狂言(やまぶし)
ความแตกตางระหวาง โน และ เคียวเง็น
โน เคียวเง็น
เนื้อหา โศกนาฏกรรม สุขนาฏกรรม

แหลงที่มา วรรณกรรมโบราณ ตำนานพื้นบานหรือเรื่องแตงใหม

ความงาม 幽玄(ゆうげん) をかし

การแสดง เนนการรองและการรายรำ เนนบทพูดและทาทีการแสดง

ภาษา ภาษาเขียนงดงามไพเราะ ภาษาพูดแบบชาวบาน

ลักษณะอื่นๆ ศิลปะแบบชนชั้นสูง จริงจัง แบบชาวบาน ง่ายๆ เบาๆ

*幽玄(ゆうげん)ความงามแบบประณีตสูงสง
*をかし ใหอารมณราเริงแจ่มใส
THANK YOU
By;
Ittiphol Buayoi
School of Liberal Arts
University of Phayao

84

You might also like