Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 117

วรรณคดียุคเอะโดะ

ค.ศ.1603 – ค.ศ.1868
江戸時代の文学

บรรยายโดย
อาจารย์อิทธิพล บัวย้อย
รายวิชา 143341 วรรณคดีญี่ปุ่นเบื้องต้น
สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
จากยุค มุโระมะจิ
1. ยุคสมัยช่วงปี 1336-1573 ที่ญี่ปุ่นเรียกว่าเป็น ยุคมุโรมาจิ เป็นสมัยที่
บ้านเมืองถูกปกครองโดยรัฐบาล โชกุนอาชิกางะ 2. ช่วงปลายๆ ยุคการปกครองของรัฐบาลโชกุนได้เสื่อมอานาจลง ทาให้บรรดาแคว้นต่างๆพากัน
ตั้งตัวเป็นใหญ่ บ้านเมืองเลยตกอยู่ภายใต้ภาวะสงคราม ช่วงยุคนั้นจึงเรียกว่า ยุคเซงโงกุ โดย
กินเวลาในช่วงท้ายของยุคมุโรมาจิ คือช่วงปี 1467-1573
3. หนึ่งในบรรดาแคว้นเหล่านั้นก็คือแคว้นโอวาริ 尾張国 บริเวณเมืองนาโงยะ
ในปัจจุบัน ปกครองโดย โอดะ โนบุนางะ
4. โนบุนางะ ได้ใช้ความสามารถในการปราบแคว้นอื่นๆ เพื่อสร้างฐานอานาจที่มั่นคง และใน
ปี 1568 ก็ได้บุกเข้าสู่เมืองหลวงเกียวโตซึ่งเป็นศูนย์กลางที่โชกุนปกครองอยู่และเข้ายึดอานาจ
การปกครองจากโชกุน

6. หลังจากนั้นในปี 1576 โนบุนางะได้สั่งให้สร้างปราสาทอาซึจิขึ้น


5. โนบุนางะได้ถอดโชกุนคนเก่าออกแล้วแต่งตั้งให้ อาชิกางะ โยชิเทรุ
足利義昭 เป็น โชกุนคนต่อไปในฐานะหุ่นเชิดของตัวเอง แต่โยชิเทรุ
ปราสาทเสร็จสมบูรณ์ในปี 1579 โนบุนางะก็ได้ย้ายมาอยู่ ยุคนั้น
ก็พยายามขัดขืนอยู่ตลอด จนสุดท้ายในปี 1573 โนบุนางะจึงบังคับให้ จึงเรียกว่า ยุคอาซึจิ 安土時代

เปลี่ยนสู่ยุค เอะโดะ
โยชิเทรุลงจากตาแหน่ง และไล่ออกจากเกียวโต ถือเป็นจุดสิ้นสุดของ
ยุคมุโรมาจิและยุคเซงโงกุ
จุดเริ่มต้นยุคเซนโกคุ(戦国時代)
• โชกุนและคนใน บะคุฟุ ต่างใช้ชีวิตอย่างฟุ้งเฟ้อ และใช้ทรัพย์สินเงินทองไปกับ
สิ่งของหรูหราและพิธีชงชาอันฟุ่มเฟือย ไม่สนใจความเป็นไปภายนอก
• อานาจของรัฐบาลโชกุนตระกูล อะชิคางะ เริ่มอ่อนแอลง
• บรรดาไดเมี ย วทั้ ง หลายที่ ป กครองหั ว เมื อ งต่ า ง ๆ พากั น กระด้ า งกระเดื่ อ ง
ประกาศตั้งตนเป็นอิสระ ไม่ขึ้นกับการปกครองของโชกุน
ยุคสงครามกลางเมือง “戦国時代”
• นักรบและจ้าวผู้ครองที่ดินที่ในท้องถิ่นต่อสู้กัน
เพื่อขยายอาณาเขตและเพิ่มพูนอานาจ
• สงครามกลางกรุงแย่งชิงอานาจ สังหารโชกุน
• แคว้นต่างๆ ทั่วญี่ปุ่น ก่อสงครามแย่งชิงอานาจ
ยุคสงครามกลางเมือง
ค.ศ. 1477-1615(戦国時代)
• สงครามลุกลามไปทั่วญี่ปุ่น ไดเมียวตามแคว้นต่างๆ ตั้งตน
เป็นอิสระ
• สงครามสร้างความเสียหายแก่เมืองเกียวโตอย่างร้ายแรง
เกินกว่าจะฟื้นฟู
• ในช่วงมืดของญี่ปุ่นได้มีขุนพลนักรบผู้หนึ่งเป็นผู้พลิกผัน
โฉมหน้าประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่ น โอะดะ โน ะบุน ะงะ
(織田信長) ก้าวขึ้นมามีอานาจเหนือสุด เป็นผู้คุมประเทศ
ญี่ปุ่นที่อยู่ในช่วงระหว่างสงคราม
สมัยอาสึจิโมโมยามะ
安土桃山時代(あづちももやま)

• หลังสิ้นตระกูลอาชิคางะ “โอดะ โนบุนางะ”


ขึ้นมามีอานาจสูงสุดในญี่ปุ่น
• ปี 1576 โนบุนางะได้สั่งให้สร้างปราสาทอาซึจิ
ขึ้น ปราสาทเสร็จสมบูรณ์ในปี 1579 โนบุนางะ
ก็ได้ย้ายมาอยู่ ยุคนั้นจึงเรียกว่า ยุคอาซึจิ (安
土時代)
安土城(あづちじょう)
โอดะ โนะบุนะงะ : ฉันจะฆ่ามันให้หมด
• ปราบปรามและรวบรวมแคว้นต่างๆ
• อาวุธจากตะวันตก “ปืนคาบดาบศิลา” ซึ่งมีราคาถูกกว่าดาบซามูไร เหมาะกับ
ทหารในกองทัพของโอดะ ที่มาจากชนชั้นชาวนาแห่งโอวาริ ที่มีจิตใจเข้มแข็ง
และห้าวหาญแต่ไม่ชานาญอาวุธดาบ

• รบชนะ อิมะงะวะ โยะชิโตะโมะ ไดเมียวจากตระกูล อิมะงะวะ แห่งแคว้นมิกะ


ด้วยกาลังพลที่น้อยกว่า (25000 : 2000) ทาให้มีชื่อเสียง ได้รับการยกย่องเป็น
วีรบุรุษ มีคนเข้ามาสวามิภกั ดิ์มากยิ่งขึ้น
• ทาสัญญาผูกมิตรกับ โทกุกะวะ อิเอะยะสุ ศัตรูที่เคยทางานกับ อิมะงะวะ (จุด
เปลี่ยนของอานาจ)
เกลียดชังศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ได้รับการสนับสนุนมากขึ้น
• พระและศาสนาพุทธเป็นอุปสรรคในการรวมชาติ
• นโยบาย “เผาและฆ่า” ใช้ทหาร 30,000 คนล้อมภูเขาฮิเออิ (ศูนย์กลาง
ศาสนาพุ ท ธในเวลานั้ น ) เผาวั ด ซากาโมโตะ สั ง หารพระสงฆ์ อ ย่ า ง
ดุเดือด บุกขึ้นไปยังที่มั่นบนยอดเขา สังหารพระสงฆ์ไม่เว้นแม้กระทั่งเด็ก
และผู้หญิง
• ปราบปรามกองกาลังพระสงฆ์แห่งสานักต่าง ๆ กบฎ “อิกโก อิกกิ” (การ
รวมตัวกันของชาวบ้านกับพระสงฆ์เพื่อต่อต้านการปกครองของชนชั้นซามูไร) บน
เทือกเขา อิชิยะมะ ภายหลังจากที่พยายามเข้าตีมาหลายครั้ง
• ปราบพวก “โซเฮ” หรือ พระนักรบ ซึ่งเป็นกองกาลังทหารที่สาคัญใน
ภูมิภาคคันไซมาแต่ยุคเฮอัน มีฐานที่มั่นอยู่ที่วัด เองยะกุ บนเขา ฮิเอะอิ
• สร้างกาแพงล้อมรอบชาวพุทธที่ตั้งมั่นแข็งแรงในทางเกาะฮอนชู แล้วให้
จุดไฟเผาทาลาย 20000 ชีวิตในนั้น ใครมาช่วยก็ถูกปราบจนหมดสิ้น
• ปืนถูกนามาใช้รบกันทั่วไปในทุกกองทัพ การรบบนหลังม้าถือเป็นการรบที่ล้าสมัย
• ปราบปรามศัตรู เป้าหมายคือ รวมชาติญี่ปุ่นขึ้นมาใหม่
• หลังจากวางรากฐานอานาจที่เกียวโตทางภาคตะวันออกมั่นคงแล้ว หันความสนใจ
ขยายฐานอานาจไปทางตะวันตก
• ค.ศ.1578 สามารถเข้าครอบครองญี่ปุ่นตะวันตกได้
• วางรากฐานการค้าและเศรษฐกิจ (ไม่ทาลายเมืองซาไก)
• โอะดะ โนะบุนะงะ ถูกลอบสังหาร ขาดผู้ปกครอง บ้านเมืองวุ่นวาย

โอะดะ โนะบุน ะงะ ลงโทษ อะเคะจิ มิส ึฮิเดะ ต่อหน้าคณะขุนศึก การลอบสังหาร โอะดะ โนะบุนะงะที่ วัดฮนโนจิ(本能寺),
ภาพอุกิโยะสมัยเมจิ ภาพพิมพ์ในสมัยเมจิ
จากยุคอะซึจิ

โทโยโตมิ ฮิเดโยชิ ผู้ดาเนินการรวมประเทศจนสาเร็จ พัฒนาสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ตลอดจนวัฒนธรรมโมโมยามะ

2.โทโยโตมิ ฮิเดโยชิ 豊臣秀吉 ทหารคนสนิท ได้ล้างแค้นให้กับโนบุนางะโดยการกาจัด


1. โนบุนางะ ถูก อาเกจิ มิตสึฮิเดะ 明智光秀 ซึ่งเป็นทหารคนสนิทหักหลังและ มิตสึฮิเดะลงได้สาเร็จ ในปี ค.ศ.1582 แต่งตั้งตัวเองเป็นโชกุนคนใหม่ รวมประเทศญี่ปุ่นสาเร็จ
เสียชีวิตลงในปี 1582 ปราสาทอาซึจิก็ได้ถูกไฟไหม้จากภัยสงคราม จึงเป็นการ ในปี ค.ศ. 1590
ปิดฉากปราสาทที่ยิ่งใหญ่นี้ลงทั้งที่เพิ่งสร้างเสร็จและใช้งานเพียง 3 ปีเท่านั้น

4.โดยรวมแล้วช่วงยุค 1573 -1603 จึงถูกเรียกว่า


ยุคอาซึจิโมโมยามะ (安土桃山時代) ที่มาของ
伏見城 ชื่อยุคก็มาจากชื่อปราสาททั้งสองแห่ง
3.“โทโยโทมิ ฮิเดโยชิ” สร้างปราสาทฟุชิมิ 伏見城 ขึ้นที่เกียวโต ซึ่งต่อมา
ในยุ ค เอโดะปราสาทนี้ ก็ ถู ก ทิ้ ง ร้ า งและเปลี่ ยนชื่ อเป็ นโมโมยามะ 桃山
ดังนั้นในสมัยหลังยุคที่ ฮิเดโยชิปกครองอยู่นี้จึงถูกเรียกว่า
ยุคโมโมยามะ 桃山時代 เปลี่ยนสู่ยุคโมโมยามะ
โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ :
ฉันะสอนให้มันร้องให้ได้
• ร่วมรบกับ โอดะ โนะบุนะงะ ทาศึกต่างๆ มากมาย
• ภายหลัง โนบุนะงะ เสียชีวิตได้อ้างตัวเป็นผู้คุ้มครอง
ตระกูล โอดะ
• แต่งตั้ง โอดะ ฮิเดะโนบุ บุตรชายอายุห้าขวบของ โนบุ
ทะดะ ที่เสียชีวิตเป็นหัวหน้าตระกูลคนใหม่ ทั้งที่ยังมีคน
ในตระกูลโอดะคนอื่นที่สามารถสืบทอดได้
• การกระทาของ ฮิเดะโยชิ ทาให้ขุนพลต่างๆ ในตระกูล
โอดะ เกิดการต่อต้าน แต่ไม่อาจต้านทานกาลังของ ฮิ
เดะโยชิได้
• เจรจาคืนดีกับ อิเอะยาสึ (แม่ทัพคู่แข่งที่ย้ายไปทาง
แคว้นตะวันออก) มอบความรับผิดชอบให้ปกครองแคว้น
ตะวันออก
• แม้จะมาจากครอบครัวชาวนาแต่ไม่ได้แสดงออกถึง
ความเห็นใจหรือยกฐานะของชาวนาให้มีชั้นที่สูงขึ้นใน
สังคม
• กีดกันและกาจัดสิทธิรวมถึงบทบาทของแต่ละชนชั้น
ไว้เอาไว้
• ออกกฎหมาย มุ่งกาจัดการขึ้นสู่อานาจของชนชั้น
สามัญดังที่เคยเป็นมาในอดีต (โดยเฉพาะชาวนา)
• นโยบาย “ล่า ดาบ” รวบรวมอาวุ ธจากชาวนา โดย
อ้างว่าจะนาไปรวมหล่อเป็นพระพุทธรูปขนาดใหญ่
• สนับสนุนให้ไดเมียวออกกฎหมายในแค้วนของตนเอง
เช่ น ห้ า มชาวนาละทิ้ ง ที่ น าหรื อ ถิ่ น ฐาน มิ เ ช่ น นั้ น
ตนเองและญาติจะต้องถูกลงโทษ
• เกิดระบบชนชั้นที่ชัดเจนขึ้นมาก
• สนั บ สนุ น การต่ อ เรื อ แต่ ง เรื อ สิ น ค้ า ขยายการค้ า
ออกไปแข่งขันกับชาติอื่นๆ
• ศิลปะโมโมยามะ ที่เน้นใช้สีสด ฉากหลังเป็นใบไม้สี
ทอง ได้ มี ชื่ อ เสี ย งแทนศิ ล ปะสมั ย อาชิ ก างะ ที่ มี
ลักษณะเคร่งเครียดเรียบง่าย
• ปราสาทที่ มี ลั ก ษณะเคร่ ง ขรึ ม หายไป ปราสาทถู ก
ประดับด้วยแผ่นไม้ลายฉลุ ใบไม้สีทอง ของใช้ต่างๆ
ล้วนทาด้วยทองคา
• ต้องการได้รับการแต่งตั้งเป็นโชกุน แต่มิอาจบรรลุได้
โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ : ฉันะสอนให้มันร้องให้ได้
• ช่วงแรกยังคงต่อต้านศาสนาพุทธ สนับสนุนศาสนาคริสต์
เช่นเดียวกับ โนบุนางะ
• ภายหลังตระหนักถึงความสาคัญของโปรตุเกสและอิทธิพล
ของนักบวชในศาสนาคริสต์ที่มีมากขึ้น
• ออกกฎหมายขับไล่มิชชันนารี แต่ไม่ได้บังคับจริงจัง (เกรง
จะกระทบกับการค้ากับตะวันตก)
• ปี 1592 นากาลังคน 150000 คนไปโจมตีเกาหลี แต่พ่ายแพ้
ศาสนาคริสต์เริ่มแผ่ขยายอีกครั้งจากการที่ ฮิเดะโยชิ มัวแต่
จัดทัพทาสงคราม
• เหตุการณ์เรือสินค้าสเปนอับปางที่เกาะชิโกกุสเปนคุกคาม
ญี่ปุ่น
• ฮิเดะโยชิ สั่งตรึงไม้กางเขนบาทหลวงฟรันซิท 6 คนพร้อม
นักบวชญี่ปุน 17 คน
• ฮิเดะโยชิ เสียชีวิตในปี 1598 แผ่นดินญี่ปุ่นลุกเป็นไฟอีกครั้ง
ไดเมียวต่างตั้งตนเป็นอิสระ
第1代将軍
とく がわ いえ やす

徳川 家康
ฉันจะเฝ้ารอคอยให้มันร้อง

• ฮิเดะโยชิ เสียชีวิตในปี 1598 อิเอะยะสึ แม่ทัพคนสาคัญ ขึ้นมามี


อานาจเต็มตัว
せ き はら たたかい
• เกิดสงครามกลางทุ่ง 関ヶ原の戦い เพื่อชิ ง อานาจการปกครอง
ระหว่างฝ่ายที่จงรักภักดีต่อ ฮิเดะโยริ (ลูกชายของฮิเดะโยชิ) กับ
อิเอะยะสึ
• ฮิเดะโยริ เสียชีวิต อิเอะยะสึ สถาปนาตนเองเป็นโชกุนและย้าย
ศูนย์กลางการปกครองไปที่ เอโดะ โดยที่จักรพรรดิยังคงอยู่เกียว
โตเช่นเดิม
ภาพลบต่อศาสนาคริสต์ในญี่ปุ่น
• อิเอะยะสึ สนิทสนมกับกัปตันเรือชาวอังกฤษ ชื่อ วิล อดัมส์ แต่งตั้ง วิล อดัมส์
เป็นที่ปรึกษา และได้รับความรู้เกี่ยวกับสงครามศาสนาโดยมีสาเหตุมาจาก
พวกซูอิต (ชาวคริสต์)
• อิเอะยะสึ เกิดความรู้สึกภาพลบต่อชนกลุ่มน้อยชาวคริสต์ในญี่ปุ่น
• ชาวคริสต์ในญี่ปุ่นมีมากขึ้นถึง 300000 คน และรวมกลุ่มกันอย่างมั่นคง
• เหตุการณ์ชาวคริสต์ 30000 คน มารวมตัวกันราลึกการสังหารนักบวชในสมัย
ฮิเดะโยชิ
• อิเอะยาสึ สั่งให้ขับไล่ชาวคริสต์ออกนอกประเทศและสั่งให้คนญี่ปุ่นที่นับถือ
คริสต์เปลี่ยนศาสนา
• การไล่ล่าและตัดหัวชาวคริสเตียนมีอยู่สม่าเสมอ
• ปี 1605 อิเอะยะสึ สละตาแหน่งโชกุนให้ อิเอะทะดะ บุตรชายโดยที่อานาจ
แท้จริงยังอยู่ที่ อิเอะยะสึ
第2代将軍 : 徳川秀忠

ฮิเดะทะดะ : นโยบายแข็งกร้างต่อต่างชาติ
• อิเอะยะสึ เปลี่ยนมาดารงตาแหน่งโชกุนผู้สละตาแหน่ง
(โอโงโช) และย้ า ยมาพ านั ก ที่ ป ราสาทซั ม ปุ ท าให้
สามารถจัดการกับการค้าขายกับชาวตะวันตกได้
• อิเอะยะสึ เสียชีวิตในปี 1616 บุตรชาย ฮิเดะทะดะ ได้
เข้ า รั บ ต าแหน่ ง โชกุ น มี น โยบายแข็ ง กร้ า วต่ อ
ชาวต่างชาติมากกว่าบิดาของเขา
• ปราบปรามชาวคริส เตียน มีการจั บกุมและตัดศีรษะ
ชาวคริสต์อยู่เสมอ
第3代将軍: 徳川家光

: สมัยแห่งการทาลายล้างชาวคริสต์อย่างบ้าคลั่ง
とく がわ いえ みつ

徳川家光

• ปี 1623 ฮิเดะทะดะ ลาออกตาแหน่งโชกุน แต่งตั้งให้ อิเอะมิสึ บุตรชายสืบทอดต่อ


• อิเอะมิสึ สานต่อนโยบายกีดกันชาวต่างชาติอย่างเข้มงวด
• ชาวญี่ปุ่นทั่วไปรู้สึกรังเกียจและดูถูกเหยียดหยามพวกคริสต์จากตะวันตก (จากข่าวคราวการฆ่ากันใน
สงครามศาสนาในยุโรป)
• สมัยแห่งการทาลายล้างชาวคริสต์อย่าบ้าคลั่ง
• ปี 1633 ออกกฤษฎีกาขับไล่คนต่างชาติ พุ่งเป้าตัดการติดต่อระหว่างญี่ปุ่นกับโลกภายนอก
การปราบปรามชาวคริสต์ระลอกใหญ่
• ในปี ค.ศ. 1629 มีการปราบปรามชาวคริสต์ระลอกใหญ่อีกครั้งที่นางาซากิ รัฐบาลทหารได้กับ
ให้ชาวเมืองทาการเหยียบย่ารูปของพระเยซู เพื่อพิสูจน์ว่าตนไม่ได้เป็นคริสเตียน
• ปี 1637 เกิดการรวมตัวของชาวคริสต์ที่นางาซากิ โชกุนส่งกองทหารปราบปรามและเข่นฆ่า
อย่างทารุน และเนรเทศพ่อค้าชาวโปรตุเกสออกไป
• ปิดออกการเข้าออกของต่างชาติอย่างเด็ดขาด ยกเว้นกลุ่มพ่อค้าชาวเนเธอร์แลนด์กลุ่มเล็กๆ
ที่เกาะเดะจิมะ นางาซากิ
ปิดประเทศยาวนาน 250 ปี
• โชกุน อิเอะมิสึ ได้รับอิทธิพลจากที่ปรึกษาที่เป็นปราชญ์ขงจื๊อ
ให้ดาเนินนโยบายปิดประเทศ หรือ 海禁 ต่อมาเรียกว่า 鎖国 โดย
ยกเลิกการค้าขายของเรือตราแดง เลิกการค้ากับชาวโปรตุเกส
อนุญาตให้มีการค้าขายกับชาวจีนและฮอลันดาที่เมืองนางาซากิ
เท่านั้น
• ในปี ค.ศ. 1639 เพื่อรักษาเสถียรภาพทางสั งคมที่ตนเองสร้า ง
ขึ้นโชกุน อิเอะมิสึ ห้ามชาวต่างชาติทุกคนเข้ามาประเทศญี่ปุ่น
รวมทั้งการห้ามชาวญี่ปุ่นออกนอกประเทศระวางโทษถึงประหาร
• ปิดประเทศยาวนาน 250 ปี
รายนามโชกุน 徳川
ที่ ชือ่ ช่วงเวลาดารงตาแหน่ง ระยะเวลา
1 徳川家康(とくがわ いえやす) 1603年2月12日~1605年4月16日 2年 2か月
2 徳川秀忠(とくがわ ひでただ) 1605年4月16日~1623年7月27日 18年 3か月
3 徳川家光(とくがわ いえみつ) 1623年7月27日~1651年4月20日 27年 9か月
4 徳川家綱(とくがわ いえつな) 1651年8月18日~1680年5月8日 28年 9か月
5 徳川綱吉(とくがわ つなよし) 1680年8月23日~1709年1月10日 28年 5か月
6 徳川家宣(とくがわ いえのぶ) 1709年5月1日~1712年10月14日 3年 5か月
7 徳川家継(とくがわ いえつぐ) 1713年4月2日~1716年4月30日 3年 1か月
8 徳川吉宗(とくがわ よしむね) 1716年8月13日~1745年9月25日 29年 1か月
9 徳川家重(とくがわ いえしげ) 1745年11月2日~1760年5月13日 14年 6か月
10 徳川家治(とくがわ いえはる) 1760年5月13日~1786年9月8日 26年 4か月
11 徳川家斉(とくがわ いえなり) 1787年4月15日~1837年4月2日 50年
12 徳川家慶(とくがわ いえよし) 1837年4月2日~1853年6月22日 16年 2か月
13 徳川家定(とくがわ いえさだ) 1853年11月23日~1858年7月6日 4年 8か月
14 徳川家茂(とくがわ いえもち) 1858年10月25日~1866年7月20日 7年 9か月
15 徳川慶喜(とくがわ よしのぶ) 1867年1月10日~1868年1月3日 1年 โทกุงะวะ โยชิโนบุ
โชกุนคนสุดท้ายตระกูล โทกุงะวะ
สภาพสังคมในสมัยโทกุงะวะ
• ช่วงแห่งความรุ่งเรืองของสังคมญี่ปุ่น โชกุนสนับสนุนการค้าภายในอย่างจริงจัง
บ้านเมืองสงบสุข มั่นคง ปลอดภัย ในเมืองเต็มไปด้วยซามูไรที่มีเงินเดือน
• สังคมญี่ปุ่นแบ่งออกเป็นสี่ชนชั้นอย่างชัดเจน
นักรบ 武士(ぶし) ประมาณ 5%
พ่อค้า 商人(しょうにん)
ช่างฝีมือ 職人(しょくにん)
ชาวนา 農民(のうみん)ประมาณ 80%
• เกิดสังคมในรูปแบบชนชั้นกลางขึ้นมา (ซามูไรและพ่อค้าส่วนใหญ่มีชีวิตอยู่ใน
เมือง)
• เกิดกลุ่มสาคัญกลุ่มใหม่ขึ้น “พ่อค้า” โดยเฉพาะพ่อค้าข้าวเป็นพ่อค้าหลักที่มี
ความสาคัญมาก
• ซามูไรว่างเว้นจากการรบ พัฒนาตัวเองจนกลายและรับเอารสนิยมชั้นสูงมาอย่าง
เต็มที่ หันเข้าหาการศึกษา โดยเฉพาะการเรียนรู้วรรณคดีและศิลปะ
• ซามูไรที่เก่งการรบไม่มีความหมาย ไดเมียวใช้งานให้ซามูไรทางานด้านบริหาร
ภาวะว่างเว้นสงครามทาให้สังคมหันเข้าหาความรู้ใหม่ๆ เช่น แพทย์ ดาราศาสตร์
คณิตศาสตร์ ประวัติศาสตร์ฯ
• ขุนนางเป็นหนี้กับพวกพ่อค้า หันมาขูดรีดชาวนา
• ชาวนายังคงเป็นกลุ่มที่คุณภาพชีวิตไม่ดีขึ้น ทานาโดยอาศัยที่ดินส่วนแบ่งจากได
เมียว และต้องเสียภาษีหนักขึ้นเรื่อยๆ
ศิลปะและวรรณคดี
• ศิลปะและวรรณคดี ดาเนินตามแทน
คนชั้นกลางอย่างชัดเจน
• สิ่งที่ได้รับความนิยม คือ หญิงเกอิชา
และ โสเภณี
• เกิดวรรณกรรมประโลมโลก เป็นยุค
ของวัฒนธรรมของราษฎรสามัญชน
เจริญจนถึงขีดสุด
วัฒนธรรมยุคเอะโดะ
•ละครหุ่น
•ละครคาบุกิ
•ภาพอุคิโยะ
• สร้างวัฒนธรรมใหม่ของญี่ปุ่นๆ

อุคโิ ยเอะ

คาบุกิ
江戸時代の文学作品
การเปลี่ยนแปลงจากยุคแห่งนักรบไปสู่ยคุ แห่งชาวเมือง
江戸時代の文学作品
วรรณคดียุคเอะโดะ
(1) วรรณคดีประเภทนวนิยาย (小説)
仮名草子(かなぞうし)
浮世草子(うきよぞうし)
読本(よみほん)
洒落本(しゃれぼん)
草双紙(くさそうし)

(2) วรรณกรรมประเภทบทกลอน
俳諧(はいかい)
川柳(せんりゅう)
狂歌(きょうか)

(3) การศึกษาวรรณคดีเก่าแก่ของชาติ
(4) วรรณกรรมประเภทละคร
ละคร 浄瑠璃(じょうるり)
ละคร 歌舞伎(かぶき)
ละครหุ่น 文楽(ぶんらく)
( 1 ) วรรณคดีประเภทนวนิยาย(小説)
か な ぞう し

仮名草子
• พัฒนามาจาก お伽草子(おとぎそうし)หรือ นิทานเรื่อง
เล่าขนาดสั้นที่นิยมในสมัยมุโระมะจิ
• เขี ย นด้ ว ยอั ก ษรคะนะค่ อ นข้ า งเยอะเพื่ อ เน้ น กลุ่ ม ผู้ อ่ า น
ระดับกลางและล่าง ผู้แต่งมีทั้งซามูไร นักวิชาการ พระ
• นอกจากเน้ น ที่ อ่ า นเพื่ อ ความเพลิ ด เพลิ น แล้ ว ยั ง มี เ กี่ ย วกั บ
いそぼものがたり
หนังสือพวกสาระความรู้ คติธรรมคาสอน เช่น 伊曽保物語
เป็นหนังสือรวมนิทานที่แปลมาจากนิทานอีสป เป็นต้น
หนังสือรวมนิทานที่แปลมาจากนิทานอีสป
うき よ ぞう し

浮世草子
เรื่องของชีวิตมนุษย์ ความเป็นไปในโลก และเรื่องราวระหว่างชายหญิง
ที่เกิดขึ้นในโลกแห่งความเป็นจริงมากกว่าที่จะเป็นโลกแห่งจินตนาการที่นึกฝัน
เอาเอง ถ้าเรียกผลงานนั้นๆ ว่า “อุคิโยะ” หมายถึงนิยายสมัยใหม่ในยุคนั้น
นักเขียนนิยายแนว 『浮世草子』
いはらさいかく こうしょくいちだいおとこ
• ค.ศ.1682 井原西鶴 ได้เขียน 好色一代男 ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับหนุ่มเพลย์บอยที่
มีความสัมพันธ์กับทั้งหญิงและชาย ถือเป็นงานเขียนที่ไม่มีใครกล้าเขียนขึ้นใน
สมัยนั้น ตั้งแต่นั้นจึงเกิดงานเขียนประเภทนิยายรักใคร่ของชนชั้นพ่อค้าขึ้นมาที่
ได้รับความนิยมในแถวโตเกียว-โอซากา ซึ่งเรียกว่า 浮世草子
• ผู้เขียนเป็นชนชั้นพ่อค้า เริ่มแรกเป็นอาจารย์สอนกลอนไฮไก ต่อมาผันตัวเองมา
เป็นนักเขียนนิยายประเภทรักๆ ใคร่ๆ ของชนชั้นพ่อค้า
• นวนิยาย 浮世草子 สะท้อนชีวิตของพ่อค้าในสมัยเอะโดะได้อย่างเสมือนจริง

井原西鶴;Togo Hirayama (ชื่อตอนเกิด) หรือ Ihara Saikaku เกิดในปี ค.ศ. 1642 เกิดในครอบครัวที่เป็นชนชั้นพ่อค้า
ในโอซาก้า เริ่มแต่งกลอนไฮไกเมื่ออายุได้ 15 ปี และ เมื่ออายุ 20 ปี กลายเป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านกลอนไฮไก ภายใต้
นามปากกา Ihara Kakuei
ผลงานของ 井原西鶴
แบ่งเป็นประเภทได้ 3 ประเภท
• 好色物(こうしょくもの)นิยายสะท้อนความรักระหว่างหนุ่มสาวในแง่มุมที่
ลึกซึ้ง ผลงานดีเด่น เช่น 好色一代男 และ 好色五人女 สะท้อนชีวิตตัวเอกที่ลุ่ม
หลงมัวเมาในความรักจนเป็นผลเสียต่อตัวเอง

• 武家物(ぶけもの) นิยายสะท้อนชีวิตนักรบในแง่มุมต่างๆ เช่น 義理・人情


きり にんじょう

เรื่องราวเกี่ยวกับวินัยนักรบที่ขัดแย้งกับความรู้สึก

• 商人物(しょうにんもの) นิ ย ายสะท้ อ นชี วิ ต พ่ อ ค้ า ในแง่ มุ ม ต่ า งๆ เช่ น


ความละโมบเพื่อให้ได้มาซึ่งเงินทอง
1682年『好色一代男』
มี เ นื้ อ ห า เ กี่ ย ว กั บ ห นุ่ ม เ พ ล ย์ บ อ ย ที่ มี
ความสัมพันธ์กับทั้งหญิงและชาย ถือเป็นงาน
เขียนที่ไม่มีใครกล้าเขียนขึ้นในสมัยนั้น ตั้งแต่
นั้นจึงเกิดงานเขียนประเภทนิยายรักใคร่ของชน
ชั้นพ่อค้าขึ้นมาที่ได้รับความนิยมในแถวโตเกียว
โอซากา ซึ่งเรียกว่า 「浮世草子」 มีผู้อ่าน
มากขึ้นและขยายทั่วประเทศญี่ปุ่น
1984年
こう しょく に だい おとこ しょ えん お かがみ

好色二代男 諸艶大鏡

เนื้ อ หาบรรยายถึ ง พฤติ ก รรมอั น ไม่


สมควรของตั ว เอกที่ ไ ปแอบดู ผู้ อื่ น
อาบน้านับเป็นสิ่งแปลกใหม่ซึ่งไม่เคย
มีใครเขียนในวรรณกรรมมาก่อน ใช้
ภาษาโบราณปนกั บ ภาษาชาวบ้ า น
ให้ความรู้สึกแปลกใหม่ ท่วงทานอง
มีจังหวะจะโคน ซึ่งแสดงให้เห็นว่า
เขาเคยเป็นกวีด้านกลอนไฮไกมาก่อน
1685 年
こう しょく ご にん おんな

好色五人女
เขาเขียนเรื่องนี้จากสิ่งที่เขาได้พบ
เห็นจากการเดินทางไปในที่ต่างๆ
เกี่ยวกับโสเภณีผู้หญิง แบ่งเป็น 5
เรื่อง ซึ่งผู้หญิงเหล่านี้จะให้บริการ
กับคนมีเงิน พ่อค้า ซามูไร เป็น
เรื่องที่มีความซับซ้อน ความรู้สึก
ของอารมณ์รักของมนุษย์ สะท้อน
ให้เห็นถึงความมักมากในกามของ
ผู้ชาย เขาเขียนด้วยมีการใช้คาพูด
เป็นนัย ความรอบรู้ และฉลาด
หลักแหลม เป็นเรื่องที่ท้าทาย จึง
มีนักแปลสนใจในงานชิ้นนี้มาก
1686 年
『好色一代女』

• หญิงสาวในวัย 70 ได้
เล่ า เกี่ ย วกั บ ชี วิ ต ของ
ต น เ อ ง ที่ เ ป็ น ผู้ ห ญิ ง
โสเภณี ใ นวั ย สาวๆจาก
โสเภณี ชั้ น สู ง กลายมา
เป็นโสเภณีข้างถนน
• สะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ชี วิ ต
ของโสเภณีวัยสาวและ
ตอนช่ ว งท้ า ยของชี วิ ต
โสเภณีในวัยชรา
なん しょく お がかみ

1687 年 『男色大鑑』
• ความสัมพันธ์ระหว่าง นักรบและพระสงฆ์ และความสัมพันธ์รักร่วมเพศของนักแสดงคา
บุกิระหว่างผู้ใหญ่กับเด็กหนุ่ม ถือว่าเป็นความสัมพันธ์ที่ผิดจริยธรรม
• ซามูไรที่มีอายุ มีความสัมพันธ์กับซามูไรหนุ่ม ซึ่งเป็นประเพณีของซามูไร
• นักแสดงสาวคาบุกิที่เป็นโสเภณีกับขุนนางที่มีอายุ จัดเป็นความสัมพันธ์แบบโรแมนติก
に ほん えい たい ぐら

1688 年 : 『日本永代蔵』

เนื้อหาเกี่ยวกับการใช้ปัญญาของ
ซามูไรคนหนึ่งเรื่องการค้าขาย
ผลงานชิ้นนี้ได้รับการยกย่อง
1692 年 ว่าเป็นผลงานนวนิยายดีเด่น
せ けん むね ざん よう
ที่ ส ะท้ อ นชี วิ ต ของพ่ อ ค้ า ที่
『世間胸算用』 ประสบปัญหาด้านการเงินได้
อย่างเหมือนจริง
井原西鶴
• เสียชีวิตลงในปี 1693 ขณะอายุ 51 ปี
• เป็นหนึ่งในนักเขียนที่ได้รับความนิยม
มากในสมัยเอะโดะ
• ผ ล ง า น ข อ ง เ ข า ไ ม่ เ ค ย ไ ด้ รั บ ก า ร
พิ จ ารณาให้ เ ป็ น วรรณกรรมระดั บ สู ง
เพราะได้รับความนิยมในเฉพาะชนชั้น
พ่อค้า
• ผลงานของ 井原西鶴 มีความสาคัญใน
การพัฒนาวงการนิยายญี่ปุ่น
• อนุสรณ์สถานของ 井原西鶴 ตั้งอยู่ที่
โอซาก้า
よみ ほん

読本

• เดินเรื่องด้วยตัวหนังสือมากกว่าจะใช้ภาพ
• เรื่องที่นามาเขียนมีทั้งเรื่องเล่าเชิงนิทานซึ่งมีทั้งความ
สมจริงและอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ รวมถึงเรื่องลึกลับแปลก
ประหลาดต่างๆ
うげつものがたり
• เรื่องที่เด่น คือ หนังสือรวมนิยายลึกลับชื่อ 雨月物語
うえだあきなり
ของ 上田秋成
う げつ もの がたり

雨月物語
• เขียนขึ้นในปี 1768 และพิมพ์ออกจาหน่ายในปี 1774
ผู้เขียนเขียนเรื่องต่างในหนังสือเล่มนี้เสร็จสมบูรณ์ในคืน
ฝนตก มองเห็นดวงจันทร์หม่นมัว จึงใช้ชื่อหนังสือให้
ตรงกับบรรยากาศในขณะนั้น

• มีทั้งหมด 9 เรื่อง ส่วนใหญ่เป็นเรื่องที่เขียนขึ้นโดยอาศัย


เค้าโครงจากนิทานจีนที่ ผู้เขี ยนรู้ จักนามาดั ดแปลงให้
กลมกลืนกับสภาพสังคมของญี่ปุ่น

あさじ やど
• เรื่องเด่น ๆ เช่น 浅茅が宿 (กระท่อมหญ้าคา) หรือ
きっか ちぎり
菊花の契 (สัญญาเบญจมาศ)
雨月物語
1. 白峯 (ภูเขาฌิระมิเนะ) Shiramine (White Peak)
2. 菊花の約(สัญญาวันเทศกาลดอกเบญจมาศ) Kikka no
Chigiri (The Chrysanthemum Pledge)
3. 浅茅が宿(กระท่อมหญ้าคา) Asaji ga Yado (House Amid
the Thickets)
4. 夢応の鯉魚(ปลาไนในฝัน) Muo no Rigyo (A Carp That
Appeared in My Dream)
5. 仏法僧(บุปโปโซ) Bupposo (Bird of Paradise)
6. 吉備津の釜(หม้อทานายแห่งศาลเจ้าคิบิท์ซ)ุ Kibitsu no
Kama (The Cauldron of Kibบาปรักนางพญางูitsu)
7. 蛇性の婬() Jasei no In (Lust of the White Serpent)
8. 青頭巾(ภูษาพระธุดงค์) Aozukin (The Blue Hood)
9. 貧福論(ภูตทองคากับวิถแี ห่งความมั่งคัง่ และความยากจน)
Hinpuku-ron (Theory of Wealth and Poverty)
あさじ が やど

浅茅が宿
しゃ れ ぼん

洒落本
• หนังสือนิทานที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับชีวิตในแหล่ง
เริงรมย์
• นักเขียนที่มีชื่อเสียงในงานเขียนแบบ 洒落本
さんとうきょうでん

คือ 山東京伝
• เนื้ อ เรื่ อ งในงานเขี ย นมั ก เป็ น เรื่ อ งราวขั ด
ศีลธรรมจึงถูกรัฐบาลสั่งระงับ จึงหันไปเขียน
นิยายจาพวก 読本 แทน
• นิยาย 洒落本 แบ่งเป็นสองจาพวก คือ
にんじょうぼん

• 人情本
こっけいぼん

• 滑稽本
にんじょうぼん

人情本
นวนิยายที่เล่าเรื่องราวความรักความผูกพันของชายหญิงซึ่งเป็นชาวบ้าน
なきほん
ธรรมดาในสถานเริงรมย์ เนื้อหาโศกเศร้า บางทีเรียกว่า 泣き本

こっけいぼん

滑稽本
นวนิยายที่เล่าเกี่ยวกับเรื่องราวตลกขบขันในสถานเริงรมย์ แฝงด้วยความขบขันและใช้ภาษา
ชาวบ้าน ง่ายต่อการเข้าใจ ช่วงแรกมีลักษณะแห่งการสอนหรือให้คติกับผู้อ่าน สมัยหลังเป็น
เรื่องตลกแบบหยาบคาย แต่ก็เป็นแม่แบบให้งานเขียนประเภทอื่นตามมา
くさ そう し

草双紙
くさ そう し

草双紙
• เป็นหนังสือสาหรับเด็กที่มีการใช้ภาพวาดประกอบคล้ายหนังสือการ์ตูน
• ตอนแรกใช้ปกสีแดง เรียกว่า 赤本 ต่อมาเรียกตามสีปกที่เปลี่ยนไป เช่น
เป็นต้น
き びょう し
黒本、青本、黄表紙

• ต่อมา 黄表紙 กลายมาเป็นหนังสือการ์ตูนสาหรับผู้ใหญ่


(2) วรรณกรรมประเภทบทกลอน
はい かい

俳諧
วิวัฒนาการของไฮไกและไฮกุ
短歌(たんか) 連歌(れんが) 俳諧の連歌
俳諧 発句(ほっく) 俳句(はいく)

• กลอน 短歌 มี 31 พยางค์ โดยจะมี 5 บรรทัด แต่ละบรรทัดจะมี 5, 7, 5, 7 และ 7 ตามลาดับ โดยไม่มีสัมผัส


แต่อย่างใดเลย
• ต่อมามีการพัฒนาจากกลอน 短歌 เป็น 連歌 คือการแต่งกลอนโต้ตอบกันไปมาหรืออาจแต่งคนเดียวก็ได้
• แต่ 短歌 จะจากัดอยู่ภายในชนชั้นสูงยากและด้อยอรรถรส จึงมีการพัฒนากลอน 連歌 ให้แต่งได้ง่ายขึ้นและ
มีอรรถรสเพิ่มขึ้นด้วยจนมาเป็น 俳諧の連歌 ซึ่งตัดเหลือ 17 พยางค์ โดยเน้นความสนุกสนานเป็นหลัก
• กระทั่งล่วงเข้าสู่คริสต์ศตวรรษที่ 17 ในยุคเอโดะ กลุ่มพ่อค้าได้พัฒนาการแต่งกลอนขึ้นอีกครั้ง เรียกกลอน
แบบนี้ว่า 俳諧 หมายถึง ขบขัน สบายใจ เสรี
• ต่อมาในสมัยเมจิได้เรียก 俳諧 ว่า 俳句
ลักษณะทั่วไปของไฮไก
• เป็นบทกวีสั้น ๆ มี 17 พยางค์ คือ 5 7 5
• ต้องมีคาแสดงฤดูกาล 季語(きご) หรือ 季題(きだい)
• มีการใช้ 切れ字(きれじ)เช่นเดียวกับบทกวีอื่นๆ โดยจะวางไว้ตอนท้ายของแต่ละบาทหรือใส่ไว้
ตอนจบ คาเหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นคาช่วยและคากริยา เช่น や、かな、けり、じ、ぞ、か、よ、せ เป็นต้น
• มีการใช้ 掛詞(かけことば)หรือการเล่นคา

(1) เป็นบทกวีสั้นๆมีทังสิ้น 17 พยางค์ โดยจะแบ่งเป็น 3 วรรค คือ


วรรคแรกมี 5 พยางค์ วรรคที่สองมี 7 พยางค์ และวรรคสุดท้าย 5 พยางค์

จากตัวอย่าง
すな はま に =5
あし あと ながき =7
はる ひ かな =5
(2) ต้องมีคาแสดงฤดูกาลเสมอเรียกว่า 季語(きご)หรือ 季題(きだい)
• ฤดูร้อน 暑さ(あつさ) 涼しさ(すずしさ) 蚊帳(かや)

• ฤดูใบไม้ผลิ 春(はる) 花(はな) 桜(さくら) 霞(かすみ)

• ฤดูใบไม้ร่วง 天の川(あまのかわ) 月(つき) 菊(きく)

• ฤดูหนาว 霜(しも) 氷(こおり) 落葉(らくよう)

กลอนบทนี้มีคาว่า 暑く เป็นตัว
แสดงฤดูกาลของฤดูร้อน
(3) มีการใช้ 切れ地(きれじ)เช่นเดียวกับบทกวีอื่นๆ จะวางไว้ท้าย
ของแต่ละบทคาเหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นคาช่วยและคาช่วยกริยา เช่น
『や、 かな、 けり、 じ、 ぞ、 か、 よ、 せ、 ぬ、 ず、 し、 け、 らん』

มีการใช้ 切れ地 คาว่า 「かな」 ลงท้ายบทกลอนบทนี้


(4) อาจมีการเล่นคาโดยใช้คาตีความหมายได้สองนัยที่เรียกว่า 掛詞
(かけことば) เช่นเดียวกับบทกวีชนิดอื่นๆ

あき の むし こえ

秋の野に人まつ虫の声すなり
คาว่า まつ นี้อาจหมายถึง 待つ= รอ หรือ 松=ต้นสน ก็ได้
กวีและผลงานที่สาคัญ
1.松永貞徳(まつながていとく)
• เป็นผู้นาบทกวีสาย 貞門派(ていもんは)เป็นผู้ที่ทา
ให้คนทั่วไปรู้จัก 俳諧
• บทกลอนของเขาเน้นการเล่นคาและสัมผัสเสียงมัก
ใช้คาแสลงและคาที่มาจากภาษาจีนเป็นหลัก
• เพราะใช้คาง่ายๆที่ ชาวบ้านสามารถเข้าใจได้ทาให้
เฟื่องฟูอยู่ระยะหนึ่งแล้วเสื่อมความนิยมไป
เนื่องจากมีการกาหนดรูปแบบมากจนเกินไป
2.西山宗因(にしやまそういん)
• ผู้นาสาย 談林(だんりん)
• เน้นความอิสระจานวนพยางค์ในวรรคมีขาดมีเกินได้
• มีความแปลกใหม่ไม่เหมือนใครในด้านความเป็นธรรมชาติจึงได้รับ
ความนิยมจากประชาชนทั่วไป
• มักใช้แต่งเพื่อแข่งขันกัน โดยจะกาหนดระยะเวลาและให้ผู้แข่งขัน
แต่งกลอนใครแต่งได้มากกว่าเป็นผู้ชนะ เรียกบทกวีประเภทนี้ว่า 矢
数俳諧 (やかずはいかい)โดย 井原西鶴(いはらさいかく) ศิษย์
ของเขาเป็นผู้ทาสถิติได้สูงสุดและได้รับสมญานามว่า 一万翁(いち
まんお)
• เนื่ อ งจากใช้ ค าจี น เก่ า และเลี ย นแบบบทกวี เ ก่ า ท าให้ ค่ อ ยๆเสื่ อ ม
ความนิยมลง
3.松尾芭蕉
まつおむねふ
• มีชื่อเดิมว่า 松尾胸房
さ เกิด ณ หมู่บ้านแห่งหนึ่ง ในเมือง 「いが」 ใกล้กับกรุงโตเกียว พ่อเป็นซามูไรของขุน
นางในตระกูลอุเอะโนะ
• เมื่อโตเป็นหนุ่ม รู้สึกเบื่อหน่ายชีวิตซามูไร และได้เริ่มหันไปเขียนบทกวีเพียงลาพัง
• เป็นกวี 俳諧 ผู้มีชื่อเสียงมากที่สุด และเป็นผู้นา 俳諧 สาย 蕉風(しょうふう) เป็นผู้มีบทบาททาให้กลอน 俳諧
สมบูรณ์แบบ
• บทกวี 俳諧 ของเขาได้รับอิทธิพลมาจากพุทธศาสนานิกายเซน โดยได้บอกเล่าเรื่องราวธรรมชาติ ชีวิตคนและสัตว์
• ลูกศิษย์ได้ปลูกกระท่อมเป็นที่อยู่อาศัยในสวนกล้วยและได้ตั้งชื่อว่า “ばしょうあん” ซึ่งมาจากคาว่า “ばしょう”
หมายถึง “ต้นกล้วย” และ “あん” หมายถึง “กระท่อม” ดังนั้นจึงได้รับสมญาว่า “ばしょう” แทนชื่อเดิมจาก 松尾
胸房 มาเป็น 松尾芭蕉
การเดินทาง
• อายุ 20 ปี ได้ออกจากปราสาทอุเอโนะ เดินทางมายังเมืองเกียวโต เพื่อ
หางานทาเลี้ยงชีวิตและศึกษาการเขียนบทกวีจากอาจารย์ในเมืองเกียวโต
• ใช้เวลา 8 ปีอยู่ที่เมืองเกียวโต หลังจากนั้นจึงได้เดินทางไปที่เมืองเอโดะ
เมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น
• อายุ 40 ปี ออกจากเมืองเอโดะ ท่องเที่ยวพเนจรไปตามสถานที่ต่างๆ บน
เกาะญี่ปุ่น 芭蕉 ได้ผ่านสถานที่ต่างๆ มากมายและหลากหลายฤดู และ
ได้เขียนบทกวีเหล่านั้นเอาไว้ในขณะเดินทางอย่างเดียวดาย ดังบทกวีที่
เขาเขียนเอาไว้ครั้งหนึ่งขณะที่เดินฝ่าหิมะอันหนาวเหน็บว่า

กลางสายธารหิมะหนาวยะเยือก
ฉันต้องก้าวไป...ก้าวไปข้างหน้า
อีกนาน เท่าใดหนอการเดินทางถึงจะสิ้นสุด
• หรือบางครั้งในการเดินทาง 芭蕉 ก็เขียนบทกวีดั่งราพึงสะท้อนใจกับตัวเองว่า
คนพ เนจร
ฝนต้น ฤดูเอ๋ย
ฉ ัน นั้น เป็น เพ ยี งคนพเนจร

•จากการเดินทางเขามีผลงานที่มีชื่ออีกชิ้นก็คือ บันทึกการเดินทาง
おく ほそみち
『奥の細道』
บทกวีที่มีชื่อเสียง
ตัวอย่างบทกวี

古池や 蛙飛びこむ 水の音


(ふるいけや かはづとびこむ みずのおと)
กวีบทสุดท้าย
芭蕉 ได้ใช้เวลาในการพเนจรไปตามเมืองและสถานที่ต่างๆ
บนเกาะญี่ปุ่นรวมเวลากว่า 10 ปี กระทั่งฤดูหนาวในปี
ค.ศ.1694 เขาก็เสียชีวิตขณะเดินทาง บทกวีสุดท้ายที่ 芭蕉
ได้เขียนเอาไว้ว่า

旅に病んで
夢は枯野を
かけめぐる
Tabini yande
Yume ha kareno wo
Kake meguru
ในการเดินทางฉันป่วย
ความฝันวิ่งอยู่รอบกาย
ในทุ่งที่ปกคลุมด้วยหญ้าแห้ง
よ さ ぶ そん

4.与謝蕪村
しょうふう

• หลังจาก 芭蕉 เสียชีวิตลง 俳諧 สาย 蕉風 ก็เสื่อมความนิยม


ลงไปด้ ว ย 与謝蕪村 เป็ น ผู้ ส านต่ อ เพื่ อ ท าให้ ไ ฮกุ เ ป็ น ศิ ล ปะ
ชั้นสูงต่อไป เขาเป็นกวีผู้สาคัญผู้ฟื้นฟูการเขียนบทกวี
• กลอนของเขาบรรยายออกมาโดยให้ความรู้สึกถึงภาพวาดและ
ใช้ภาษาเป็นอย่างดี
• บทกวีของเขาให้ความรู้สึกทางประสาทสัมผัสและโรแมนติกซึ่ง
ต่างจากบทกวีของ 芭蕉 ที่ให้ความรู้สึกจริงจังกับชีวิต
ตัวอย่างบทกวีของ
与謝蕪村
(よさぶそん)
こ ばやし いっ さ

5.小林一茶
• หลังปี ค.ศ.1790 มาแล้ว 俳諧 ชั้นสูงของ 芭蕉 ยังคงเป็นที่นิยมอยู่
แต่ในขณะเดียวกันก็มี 俳諧 ชั้นต่าถูกเขียนออกมามากมาย

• กลอนที่ 小林一茶 แต่งจะมีลักษณะแบบตรงไปตรงมาโดยใช้ภาษา


ชาวบ้านและภาษาถิ่นมีเนื้อหาตรงตัว ผู้อ่านเข้าใจได้ง่าย

• บทกวีของเขามักมีบรรยากาศเงียบเหงา เศร้าสร้อย มีลักษณะ


อ่อนโยนและเห็นอกเห็นใจผู้อื่น
ตัวอย่างบทกวี
小林一茶(こばやしいっさ)
ประเภทของกลอนไฮไก
しょうふうはいかい

蕉風俳諧
• มี 松尾芭蕉 (まつおばしょう)เป็นกวีที่เป็นผู้นาสายนี้
• ใช้ภาษาแบบชาวบ้าน ชาวบ้านทั่วไปจึงสามารถเข้าใจได้
• เน้นเรือ่ งการเล่นคาและสัมผัสเอียงแต่การกาหนดรูปแบบมากเกินไป จึงทา
ให้เฟื่องฟูแค่ในระยะหนึ่งแล้วก็เสื่อมความนิยมไป

だんりんはいかい
檀林俳諧
• กวีที่เป็นผู้นาสายนี้ได้แก่ 西山宗因 (にしやまそういん)
• เน้นความอิสระ จานวนพยางค์ในวรรคมีขาดเกินได้
• นิยมแต่งกันแข่งกลอนภายในเวลาที่กาหนด โดย さいかく ทาสติการแต่ง
กลอนได้ถึง 23,500 句 ในเวลาเพียง 1 วัน 1 คืน
• การแต่งกลอนโดยเน้นที่ความเร็วทาให้คุณภาพของกลอนต่าลง
ていとくはいかい
貞徳俳諧
• ความเสื่อมของไฮไกสายดันริน จึงได้มีการแสดงหาลักษณะอันแท้จริงและเทคนิค
ใหม่ในการเขียนกลอนไฮไก
• ผู้ที่เข้ามามีบทบาทสาคัญและกลายเป็นกวีไฮไกที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคือ 松永貞徳
(まつながていとく)
• พัฒนากลอนไฮไกจากที่เป็นกลอนสนุกสนามแบบชาวบ้าน ไม่ได้เน้นศิลปะและ
ความงาม มาเป็นไฮไกที่ผสมผสานความงามแบบยูเง็น(幽幻)สมัยคามากุระ
กับกลอนแบบชาวบ้านสมัยเอะโดะ
• ลักษณะเด่นของกลอนไฮไกของ 松尾芭蕉 คือ เนื้อหาของกลอนจะไม่ได้เน้นแต่
เพียงความสนุกสนาน แต่จะต้องสะท้อนอารมณ์ความรู้สึกข้างในและมีความงาม
แบบ 「さび」(การมองเห็นความงามในความสงบเรียบง่าย),「しをり」(การ
มองเห็นความงามในสิ่งที่กาลังจะเสื่อมไป) หรือ 「かるみ」(การมองเห็นความ
งามในของพื้นเพธรรมดา)
天明期の俳諧(てんめいきのはいかい)
• กลุ่มกวีที่คิดจะสานต่องานของ まつおばしょう เพื่อให้กลอนไฮไกเป็น
ศิลปะของชนชั้นสูง
• แกนนา คือ 与謝蕪村(よさぶそん)โดยกลอนของเขาจะบรรยายภาพ
ออกมาโดยให้ความรู้สึกราวกับมองภาพวาด

化政期の俳諧(かせいきのはいかい)
• ในยุคนี้นอกจากกลอนไฮไกชั้นสูงของ まつおばしょう ที่ยังคงได้รับความ
นิยม กลอนไฮไกชั้นต่าแบบชาวบ้านก็ถูกเขียนออกมามากมาย
• กวีที่มีชื่อเสียง คือ 小林一茶(こばやしいっちゃ)โดยกลอนที่แต่งมี
ลักษณะตรงไปตรงมาโดยใช้ภาษาชาวบ้านและภาษาถิ่น ไม่เน้นอารมณ์
ความงามแบบกลอนของ まつおばしょう
(2) วรรณกรรมประเภทบทกลอน
川柳(せんりゅう)
• ผู้เป็นต้นคิดแต่ง คือ 柄井川柳(からいせんりゅう)
• เป็นกลอนสั้น มี 17 พยางค์ (5 7 5) เหมือนไฮไก แต่ไม่มีกฎเกณฑ์ข้อบังคับ
แบบไฮไก ไม่ต้องมีคาแสดงฤดูกาล
• เนื้อหาเน้นความสนุกสนาน มีการเสียดสีหรือวิจารณ์สังคมหรือใช้กล่าว
เรื่องทั่วๆไปในชีวิตประจาวัน
かみなり ふく

雷をまねて服がけやっとさせ
かみ き かがみ き つや

髪切れど鏡に切らぬ顔の艶
ข้อแตกต่างระหว่าง 俳諧 และ 川柳
• เป็นกลอนสั้น มี 17 พยางค์ 5 7 5 เหมือนกัน แต่ 川柳 ไม่ใช้กฎเกณฑ์
ข้อบังคับเหมือน 俳諧
• ไม่จาเป็นต้องมีคาแสดงฤดูกาล
• เน้นความสนุกสนานมักมีเนื้อหาเกี่ยวกับการเสียดสีหรือวิพากษ์วิจารณ์
สังคม
からい せんりゅう
• ผู้ต้นคิดแต่งกลอน 川柳 คือ 柄井川柳
• หนังสือรวมกลอนที่สาคัญคือ 「やがぎだる」
(2) วรรณกรรมประเภทบทกลอน
狂歌(きょうか)
• มี 31 พยางค์ (5 7 5 7 7) เหมือนกลอนวะกะ แต่จะใช้ภาษาชาวบ้านและ
นิยมการเล่นคาเพื่อความสนุกสนานขบขัน ให้ความรู้สึกแบบชาวบ้านที่
ตรงกันข้ามกับความงดงามสูงส่งของวะกะ
• เนื้ อ หาเกี่ ย วกั บ ความเป็ น อยู่ ใ นชี วิ ต ประจ าวั น หรื อ เป็ น การเสี ย ดสี
วิพากษ์วิจารณ์รัฐบาล
• เคี ย วขะ เป็ น บทกวี ข องชาวเมื อ งและนั ก รบที่ อ อกมาท ามาหาเลี้ ย งชี พ
ในขณะที่วะกะ เป็นบทกวีของชนชั้นสูง
• เคียวขะ เป็นที่นิยมในปลายสมัยเอะโดะ ในฐานะที่เป็นเครื่องแสดงพลังของ
ประชาชน
ตัวอย่างบทกลอน 狂歌
世の中に蚊ほどうるさきものはなし
ぶんぶんといひて夜も寝られず

ぶんぶん=文武(ぶんぶ)
(3) การศึกษาวรรณกรรมแห่งชาติ
เป็นการนาวรรณกรรมเก่ามาศึกษาให้ลึกซึ้งแจ่ม
แจ้งเพื่อเข้าใจถึงจิตใจของคนญี่ปุ่นโบราณ

• 釈契沖(しゃくけいちゅう)ผลิ ต งานออกมามากมาย ที่มีชื่อเสียง คือ 万葉代匠記


(まんようだいしょうき) บทกวี ข อง けいちゅう มี ค วามนิ่ ม นวล สงบเสงี่ ย ม โดย
ถือเอา 万葉集 เป็นแม่แบบทางฉันทลักษณ์และอาศัย 新古今和歌 เป็นแม่แบบทาง
แนวความคิด
• 賀茂真淵(かものまぶち) ศึ ก ษามั น โยชู เป็ น ผู้ วิ เ คราะห์ ว่ า บทกลอนในมั น โยชู มี
ลักษณะเฉพาะ คือ ますらをぶり หรือเป็นบทกลอนที่แสดงออกแบบตรงไปตรงมา
(3) การศึกษาวรรณกรรมแห่งชาติและลัทธิขงจื๊อ
• 本居宣長(もとおりのりなが)ศึกษา โคจิกิ และเขียนหนังสือ 古事記伝(こじきでん)
ขึ้น ได้รับยกย่องว่าเป็นนักวรรณคดีแห่งชาติที่ยิ่งใหญ่
• 本居宣長 ยังได้รับยกย่องว่าเป็นนักวรรณคดีวิจารณ์ ได้ศึกษา เกนจิโมะโนะกาตาริ
โดยศึกษาถึงลักษณะอันแท้จริงของผลงานชิ้นนี้ว่ามี もののあわれ แทรกอยู่ตลอด
เรื่องและยังเรียกร้องให้ศึกษาวรรณคดีอันทรงคุณค่าทั้งหลายโดยการมองหลายๆ
ด้าน จากการศึกษาเกนจิ ได้เขียนหนังสือแสดงทัศนะทางวรรณคดีที่ชื่อ 源氏物語
玉の小櫛(げんじものがたりたまのおぐし)
(4) วรรณกรรมประเภทละคร
じょう る り

浄瑠璃
• ในสมัยมุโระมะจิ มีการละครของชนชั้นสูง คือ ละครโน แต่สาหรับ
ชาวบ้ า นมี ก ารแสดงที่ ใ ช้ พิ ณ น้ าเต้ า ประกอบการขั บ ล าน าและใช้
จังหวะด้วยการตบมือและเคาะพัด ต่อมาจึงใช้ ซามิเซนกับตุ๊กตาหุ่น
เข้ามาช่วย ดังนั้น ละคร โจรุริ จึงเป็นการเล่นละครหุ่นประกอบกับ
เครื่องดนตรีซามิเซน(三味線)
• ผู้มีบทบาททาให้ โจรุริ มีชื่อเสียง คือ 竹本義太夫(たけもとぎだゆ
う) และ 近松門左衛門(ちかまつもんざえもん)
ちか まつ もん ざ え もん

近松門左衛門
• ติดตามบิดาเข้ามาอาศัยอยู่ในโตเกียวตั้งแต่อายุ 14-15 ปี และได้มีโอกาส
เรียนรู้วรรณคดีเก่าแก่ของชาติและการแต่ง โจรุริ จากเจ้านายของตนจน
สามารถแต่งเองได้ในเวลาไม่นาน
• สร้างผลงานออกมาเรื่อยๆ จนประสบความสาเร็จเมื่ออายุ 31 ปี
• ผลงานของ จิคามะทสึ ให้ความรู้สึกแบบโรแมนติก เพ้อฝัน มากกว่าตี
แผ่ความจริงของชีวิตแบบ ไซคาคุ ภาพความรักระหว่างมนุษย์ที่จิคา
มะทสึถ่ายถอดออกมาให้ความรู้สึกสะเทือนอารมณ์ในเชิงกวี
• เป็นกวีแห่งรัก ได้รับขนานนามว่าเป็น “เช็คสเปียร์ของญี่ปุ่น”
ผลงานของ 近松門左衛門
じょうるり
The Soga Successors or “The Soga Heir” 「よつぎそか」
Kagekiyo Victorious 「Shusse kagekiyo しゅっせかげきよ」
The Love Suicides at Sonezaki 「そねざきのしんじゅう」
The Night Song of Yosaku from Tamba 「たんばよさくまちよ」
The Courier for Hell 「めいどのひきゃく」
The Battles of Coxinga 「こくせんやかっせん」
The Uprooted Pine 「ねびきのかどまつ」
The Love Suicides at Amijima 「しんじゅうてんのあみじま」
The Woman-Killer and the Hell of Oil 「おんなごろしあぶるのじごく」

かぶき
The Courtesan on Buddha Plain「けいせいほとけのはら」
「そねざきのしんじゅう」
The Love Suicides at Sonezaki
คือเรื่องสั้นที่เล่นในสามฉากใช้เวลามากกว่าหนึ่งวันและหนึ่งคืน โดย มีสองตัว
ละครหลักคือเด็กกาพร้าที่เป็นพนักงานโรงแรมชื่อ โทคุเบอิ และโสเภณีที่เขาตกหลุมรัก
ชื่อว่า โอฮะสึ
「めいどのひきゃく」
The Courier for Hell

เป็นเรื่องเกี่ยวกับการฆ่าตัวตายเพราะความรัก เขียนขึ้นในปี 1710 มีความ


คล้ายคลึงกับบทละครเรื่อง The Love Suicides at Amijima เป็นบทละครที่สร้าง
ขึ้นมาจากเรื่องจริงที่เกิดขึ้นในโอซาก้าในปี คศ 1710
か ぶ き
• มีต้นกาเนิดมาจากการร้องเพลงร่ายราพร้อมกระดิ่งในพิธีทางศาสนาของหญิงที่ชื่อ 阿国(おくに)จึงเรียก

歌舞伎 การแสดงนี้ว่า 阿国歌舞伎(おくにかぶき)


• ในสมัยนั้นเนื่องจากมีสตรีเป็นตัวชูโรง จึงเขียนแทนคาว่าคาบุกิด้วยอักษรจีนว่า 歌舞妓 หมายถึงสตรีที่มี
อาชีพเต้นกินรากิน ต่อมาอักษรตัวหลังเปลี่ยนเป็น 伎 หมายถึงนักแสดงทั่วไปไม่จากัดเพศ
ลักษณะเด่นของ 歌 舞 伎
•เป็นรูปแบบความบันเทิงที่ผสมผสานกันหลากหลาย ตั้งแต่ดนตรี การร่ายรา
การเล่าเรื่องตลกชวนหัว เรื่องเศร้าซึ้ง
•ตัวละครมีการเคลื่อนไหวที่กระฉับกระเฉง แสดงออกซึ่งท่าทางที่มีความหมาย
เช่น ร้องไห้ เสียใจ ดีใจ โกรธ บ้าคลั่ง ฯลฯ
•ในช่วงแรกใช้นักแสดงหญิงล้วนแต่เกิดปัญหาเรื่องขายตัวและรักร่วมเพศ จึงถูก
สั่งห้ามและเปลี่ยนไปใช้นักแสดงเป็นเด็กหนุ่ม แต่ก็เกิดปัญหารักร่วมเพศอีก จึง
ถูกสั่งปิดและค่อยๆ ซบเซาลงจนถึงสมัย 元禄 (1688-1704) จึงฟื้นตัวขึ้นมาใหม่
• กลางสมัยเอะโดะ คาบุกิ เข้ามาแทนที่ โจรุริ มีนักเขียนบทละครคาบุกิ
เกิดขึ้นหลายคน
• 並木正三(なみきしょうぞう)ผู้คิดค้นเทคนิคการเจาะพื้น
กลางเวทีเป็นวงกลมหมุนส่งตัวละครขึ้นมาจากด้านล่าง
• 並木五瓶(なみきごへい) ผลงาน 五大力恋のふじめ
เนื้อเรื่องเกี่ยวกับการสังหารหญิงคนรักด้วยความเข้าใจผิด
• 鶴屋南北(つるやなんぼく) ผลงาน 東海道四谷怪談
(とうかいどうよつやかいだん) เรื่องประหลาดที่เกิดขึ้น
ตาบล よつや เส้นทาง うかいどう เกี่ยวกับชายผู้หนึ่งที่สังหาร
ภรรยาผู้สงบเสงี่ยมและสวยงาม
ประวัติของละครหุ่น “บุงระกุ”
• พัฒนามาจากละครโจรุริตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 โดยนักแสดงละครโจรุริบางคณะได้นาเอาพิณญี่ปุ่น
หรือชามิเซนเข้ามาปรับใช้กับบทร้องของละครโจรุริ ทาให้ละครโจรุริ เริ่มแพร่หลายไปยังเกียวโต
และเอโดะอย่างรวดเร็ว
• ต่อมาในปลายศตวรรษที่ 16 ได้มีผู้นาหุ่นกระบอกมาร่วมแสดงกับละครโจรุริ
• ในปี 1684 竹本(たけもと)ซึ่งเป็นผู้เล่าละครโจรุริ ชื่อดังในเวลานั้น ได้แยกตัวออกมาตั้งโรงละคร
竹本座(たけもとざ) โดยใช้เครื่องดนตรีชามิเซนและหุ่นกระบอกนินเกียวประกอบการแสดง

• หลังจากนั้นไม่นานเมื่อเขานาเอาบทประพันธ์ของ 近松・門左衛門(ちかまつ もんざえもん )มา


ประกอบการแสดงด้วย ปรากฏว่าละครหุ่นของเขาเป็นที่เลืองลื่อไปทั่วประเทศในนามของ นิน
เกียว โจรุริ ซึ่งเป็นต้นกาเนิดของละครหุ่น บุงระกุ ในเวลาต่อมา
กาเนิดของละครหุ่นแนวใหม่
• ก่อนที่ 近松 ・門左衛門(ちかまつ もんざえもん)จะเข้ามาร่วมผลิตบทละครนั้น ละคร
หุ่นโจรุริส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับนักรบในอดีตหรือ 時代物(じだいもの)
• 近松(ちかまつ)ได้เปลี่ยนบทละครไปเป็นแนว 世話物(せわもの)หรือเรื่องเล่าของ
ชาวบ้านทั่วไป โดยเน้นเฉพาะเหตุการณ์ที่เป็นที่สนใจของผู้คนในสมัยนั้น พร้อมใส่
ความรู้สึกและวิญญาณลงไปในบทละครที่หุ่นแสดง
• บทละครสไตล์ 世話物(せわもの) ที่มีชื่อเสียงของเขาชิ้นหนึ่งคือ 曽根崎心中(そねざ
きしんちゅう)เรื่องชีวิตรักที่ผิดหวังของหนุ่มสาวคู่หนึ่งที่จบลงด้วยการฆ่าตัวตายตาม
กัน เขาเขียนเรื่องนี้ขึ้นในปีค.ศ.1703 และไม่นานนัก ทุกคนก็รู้จักเรื่องราวของชายหญิง
คู่นี้และละครหุ่นโจรุริ ในเวลาต่อมา
โรงละครคู่แข่งและความเสื่อมโทรมในเวลาต่อมา
• ในปี 1703 นอกจากโรงละครของ 竹本座(たけもとざ) แล้ว ยังมีโรงละครคู่แข่ง
เปิดแสดงใกล้ๆ อีกด้วย อาจกล่าวได้ว่าโรงละครหุ่นโจรุริทั้งสองแห่งเป็นผู้ที่สร้าง
วิวัฒนาการของละครหุ่นที่สาคัญของญี่ปุ่น
• ต่อมาละครหุ่นเริ่มเสื่อมความนิยมลง เนื่องจากเนื้อเรื่องมักจะเคร่งเครียด แสดง
ปรัชญาหรือสัจธรรม ทาให้ ผู้คนนิยมดูละครคาบุกิมากว่า เนื่องจากคาบุกิเป็น
ความบันเทิงที่ผสมผสานกันหลากหลาย ตั้งแต่ดนตรี การร่ายรา การเล่าเรื่อง
ตลกชวนหัว เรื่องเศร้าซึ้งและทุกๆอย่างที่ผู้ชมต้องการดู
• ในที่สุดทั้งโรงละครของ 竹本座(たけもとざ) และ 豊竹座 (とよたけざ)ต้องปิด
ตัวเองลงในเวลาต่อมา
ละครหุ่นฟื้นคืนชีพอีกครั้งในนามของ “บุนระคุ”
ปี 1872 植村・ 文楽軒(うえむら ぶんらくけん )เจ้าของโรงละครหุ่นได้สร้างโรงละคร
ของตนขึ้นบริเวณที่เป็นโรงละครหุ่นบุนระคุ ในปัจจุบันและเปิดการแสดงขึ้นในนาม
ของโรงละคร 文楽座(ぶんらくざ) มีโรงละครคู่แข่งชื่อ 彦六座 (ひころくざ) เปิด
ตามหลังมาจากนั้นไม่นาน ทาให้ละครหุ่นเริ่มกลับมาเป็นที่สนใจอีกครั้งหนึ่ง

โรงละคร文楽座(ぶんらくざ)จึงดึงนักแสดงจากโรงละคร 彦六座 (ひころくざ)มาร่วม


ด้ ว ย และกลายเป็ น โรงละครเดี ย วที่ แ สดงละครหุ่ น ในโอซาก้ า 植村(うえむら)ได้
พัฒนาการแต่งกายของหุ่นให้มีความงดงามมากยิ่งขึ้น ประกอบการพัฒนาเทคนิคการ
แสดงต่างๆ การจัดเวทีรูปแบบใหม่ๆขึ้น จนละครหุ่นพัฒนาไปมากกว่าเดิมนับแต่นั้นมา
ทุกคนจึงเรียกละครหุ่นว่าบุงราคุ มาจนทุกวันนี้
UNESCO ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก
บุงราคุเป็นละครหุ่นที่ถือกาเนิดขึ้นในโอซาก้า
มีความเก่าแก่มากกว่า 300 ปี ได้รับการขึ้น
ทะเบี ย นเป็ น มรดกโลกเมื่ อ เดือ นพฤศจิก ายน
ค.ศ. 2003 ในฐานะของศิ ล ปะการแสดงที่
ทรงคุณค่าของโลก เนื่องจากความโดดเด่นของ
ละครหุ่น ทั้งขนาดของตัวหุ่นที่ใหญ่โต และ
การบังคับหุ่นด้วยคน 3 คนพร้อมๆกัน โดยแต่
ละคนจะทาหน้าที่บังคับส่วนที่ต่างกันของหุ่น
ท าให้ ท่ า ที ใ นการแสดงและใบหน้ า ของหุ่ น
สามารถขยับได้เหมือนคนจริงมาก
ส่วนประกอบที่สาคัญของ 文楽

การเล่า ชามิเซน หุ่น


太夫 (たゆう ) หรือ ผู้เล่า

• ผู้เล่า 義太夫(ぎだゆう) เป็นส่วนประกอบ


ที่สาคัญที่สุดของละครหุ่นบุงระคุเพราะจะต้องเป็น
ผู้ถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกของตัวละคร พร้อมๆ
กับการถ่ายทอดเนื้อเรื่องให้กับผู้ชมผู้ที่จะมา
• หน้าที่ 義太夫(ぎだゆう) จะต้องผ่านการ
ฝึกฝนในสามจุดหลักๆ คือ
• 言葉 (ことば)หมายถึงบทละคร
ภาษาเฉพาะของละครหุ่น และวิธีเล่าเรื่อง
• 地合(じあい) หมายถึงจังหวะใน
การเล่าที่จะต้องรับกับดนตรีชามิเซน ซึ่ง
เล่นเพื่อทาให้ละครมีรสชาติยิ่งขึ้น
• 節(ふし) จังหวะของดนตรี
しゃ み せん

三味線
• 三味線 ที่ใช้ประกอบละครหุ่นบุนระคุ มีขนาดใหญ่และหนักกว่า 三味線 ทั่วไป
ทาให้สามารถถ่ายทอดเสียงและจังหวะที่เร้าใจได้
• 三味線 ไม่ได้มีหน้าที่นาผู้เล่าเท่านั้น แต่ยังมีหน้าที่ถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึก สร้าง
ความระทึกใจให้กับบทละคร
• ผู้เล่น 三味線 กับผู้เล่าจะต้องสัมพันธ์กัน ไม่เช่นนั้นละครอาจขาดรสชาติไปได้
人形

หุ่นที่ใช้แสดงเรียกว่า “นินเกียว” มีขนาดตัวใหญ่ เชิด ๓ คนต่อหุ่น ๑


ตัว แม้ว่าจะมีหุ่นบางตัวที่สามารถบังคับด้วยคนเพียงคนเดียวได้ แต่
โดยหลักเกณฑ์แล้ว หุ่นของละครบุงระคุ ส่วนใหญ่จะถูกบังคับโดย
ผู้ชายสามคนพร้อมๆกัน
• 主使い(おもづかい)ครูฝึกหลัก
เป็นหัวหน้าทาหน้าที่บังคับส่วนหัว และการ
แสดงอารมณ์จากใบหน้า สวมใส่รองเท้า
下駄(げた)พิเศษเป็นที่ท่า
สะดวกสบายของผู้ฝึกอบรม
• 左遣い(ひだりづかい)ครูฝึก
ซ้าย แต่งกายในชุดสีดา ทาหน้าที่บังคับมือ
ซ้าย และส่งอุปกรณ์เช่นพัดหรือเครื่องดนตรี
ให้กับตัวหุ่นถือ
• 足遣い(あしづかい)ครูฝึกเท้า
แต่งกายในชุดสีดา ทาหน้าที่บังคับขาทั้งสอง
ข้าง
หัวตุ๊กตา
• หัวของหุ่นบุงระกุจะแบ่งออกเป็นเพศชายและเพศ
หญิงที่จัดเป็นหมวดหมู่ตามระดับชั้นของสังคม
และบุคลิกภาพที่แตกต่างกันไป
• บทบาทของตั ว หุ่ น จะสะท้ อ นให้ เ ห็ น ลั ก ษณะ
พิเศษของตัวหุ่นและการเล่นที่แตกต่างกัน
• จะทาสีหุ่นเพื่อให้โทนสีผิวเหมาะสมกับวิกผมของ
ตัวหุ่น และตัวละครหุ่นบางตัวอาจจะใช้เฉพาะ
บทบาทในเรื่องนั้น
• การแสดงหุ่ น จะมี ผู้ ดูแ ลแต่ ล ะส่ ว นเช่ นส่ ว นของ
สปริงที่ใช้ในการควบคุมการเคลื่อนไหวของตา
และปาก เมื่อสปริงมีปัญหาจะรีบแก้ไขทันที
วิธีทาหัวตุ๊กตา

เลือกไม้และการทาร่างภาพ ชนิดของไม้จะใช้ไม้จากต้น
檜(ひのき) หรือต้นไซปรัส ซึง ่ จะวาดภาพลางๆ ก่อนจากจุด
ศูนย์กลางจากนั้นก็วาดตาแหน่งของดวงตาและจมูก
เริ่มแกะสลักดวงตาและจมูกที่วาดไว้
การติดกลไกการเคลื่อนไหวของคิ้วและตา
กลไกของหัวตุ๊กตา
• การเคลื่อนไหวของตา คิ้ว และปากของหัว หุ่ น
จะทาได้ด้วยการโยกบริเวณ 小ザル ที่ติด
หลังลาคอของหุ่น
• การติดตั้งเส้นด้ายหนาเรียกว่า チョイ และถ้า
โยก チョイ ขึ้นและลง หัวหุ่นจะพยักหน้า
มักจะถูกเรียกว่า "ด้ายพยักหน้า“
• หัวของหุ่นจะพยักหน้าขึ้นและลงในเวลาที่จะฟัง
เพลง การเคลื่ อ นไหวนี้ ยั ง อาศั ย สิ่ ง พิ เ ศษที่
เรี ยกว่า ลวดสปริงซึ่งทามาจากกระดูกในปาก
ปลาวาฬเรียกว่า 胴串(どうぐし)
วิกผมของตุ๊กตา
• ผมที่ใช้ส่วนใหญ่เ ป็นผมคน บางครั้ง
เพื่ อ ให้ ผ มดู เ ยอะสมจริ ง จะใช้ วิ ก ผม
สาเร็จรูปมาช่วย
• เมื่อสร้างทรงผมเสร็จจะเอาน้าและขี้ผึ้ง
มาจัดแต่งทรงผม จะไม่นิยมใช้น้ามัน
เพราะจะทาให้ใบหน้าของหุ่นเลอะ
娘「むすめ」

หั ว ของหญิ ง สาวผู้ บ ริ สุ ท ธิ์ ไ ร้ เ ดี ย งสา ใช้ กั น อย่ า ง


แพร่หลายโดยการเปลี่ยนเครื่องแต่งกาย ขากรรไกร
เป็นอารมณ์อวบอ้วนเมื่อเทียบกับรูปแบบผู้หญิงแก่
老女形 「ふけおや」

มีขนคิ้วสีฟ้า ดวงตาสีเข้มดึงดูดใจทางเพศและเป็นเสน่ห์ของหญิงวัยกลางคน
文七「ぶんしち」 นักรบ

ผู้ชายที่มีเส้นคิ้วหนาหงุดหงิด ตาเปิดลุกเป็นไฟและจมูกทีแ่ ข็งแกร่ง


おお だん しち

大団七 คนอวดดี

หน้าหยาบ กลางหน้าผาก
ขรุขระ จมูกใหญ่ แก้มอวบ
แข็งแรง โหนกแก้มทามุม
อย่างน่าทึ่ง ตาเพลิง คิ้วหนา
แตก บิดปาก ทาหน้าสีไข่
玉藻前(たまものまえ)
ปีศาจจิ้งจอก 9 หาง

มีสองใบหน้า ด้านหน้าเป็นใบหน้าของหญิงสาวด้านหลังเป็น
ใบหน้าของสุนัขจิ้งจอก
若菜 ปีศาจวาคานะ

สามารถเปลี่ยนหน้าเป็นปีศาจโดยการโยก チョイ
เครื่องแต่งกายของหุ่น
เวที
National Bunraku Theatre
สิ่งที่เหมือนกันระหว่างละครหุ่นบุนระคุกับละครคาบุกิ
• ละครคาบุกิ มักจะดึงเอาลีลาท่าทางและ
บทของละครหุ่นบุนระคุมาใช้ในแสดง
• บุคคลที่ส าคัญคือผู้ขับ ร้องบทที่ดาเนิน
เรื่ อ งให้ แ สดงไปตามบทและใช้ เ ครื่ อ ง
ดนตรีประกอบคือ ซามิเซน
สิ่งที่แตกต่างกันระหว่างละครหุ่นบุนระคุกับละครคะบุกิ

การแสดงด้วยหุ่นที่เชิดด้วยคน 3 คน กับการแสดงโดยใช้คนจริงๆ
THANK YOU
By;
Ittiphol Buayoi
School of Liberal Arts
University of Phayao

117

You might also like