Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 19

บทที่ 3

ช่องสัญญาณการสื่อสาร สื่อส่งสัญญาณ
(Communication Channels and Media)

วัตถุประสงค์
 สามารถอธิบายสือ่ ทีใ่ ช้เป็ นตัวนาสัญญาณ
 สามารถอธิบายข้อแตกต่างของ สายตีเกลียวคูแ่ บบป้ องกันสัญญาณรบกวน และไม่ป้องกัน
สัญญาณรบกวน
 สามารถอธิบายคุณสมบัตแิ ละประโยชน์ของสายเคเบิลร่วมแกน
 สามารถอธิบายคุณสมบัตแิ ละประโยชน์ของเคเบิลเส้นใยนาแสง
 สามารถอธิบายการทางานของสือ่ สัญญาณไร้สาย
 สามารถอธิบายประโยชน์และจุดเด่นของเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบไร้สาย
 สามารถเข้าใจเทคโนโลยีของเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบไร้สาย
 สามารถอธิบายการทางานของเซลลูลาร์
2 การสือ่ สารข้อมูลและเครือข่าย

สือ่ ทีใ่ ช้ในการส่งผ่านข้อมูล คือ สื่อทีม่ กี ารส่งกระแสไฟฟ้ าชนิดหนึ่งระหว่างผูส้ ง่ (Transmitter)


และผู้รบั (Receiver) ในระบบการส่งกระแสไฟฟ้ า ประเภทของสื่อที่ใช้ในการส่ งผ่า นนัน้ จะต้องมี
ข้อกาหนดทีแ่ น่ นอนในเรื่องของสัญญาณดิจทิ ลั รวมทัง้ อัตราการส่งสัญญาณ อัตราการส่งข้อมูล และ
แบนด์ วิด ท์ (Bandwidth) โดยจะต้ อ งก าหนดขอบเขตความถี่ข องช่ อ งสัญ ญาณที่จ ะใช้ใ นการส่ ง
สัญญาณไฟฟ้ าของแบนด์วดิ ท์ดว้ ย
โดยทัวไปสื่ อ่ ทีใ่ ช้ในเรือ่ งการติดต่อสือ่ สาร สามารถแบ่งได้เป็ น 2 ประเภทคือสือ่ ทีเ่ ป็ นตัวนา
สัญญาณ (Conductive Media) และสือ่ สัญญาณไร้สาย (Wireless Transmission Media)1

2.1 สื่อที่เป็ นตัวนาสัญญาณ (Conductive Media)


สือ่ ทีเ่ ป็ นตัวนาสัญญาณส่วนใหญ่มกั พบมากในระบบเครือข่ายทีใ่ ช้สายตีเกลียวคูแ่ บบไม่
ป้ องกันสัญญาณรบกวน (Unshielded Twisted-Pair Cable: UTP) สายตีเกลียวคูแ่ บบป้ องกัน
สัญญาณรบกวน (Shielded Twisted Pair Cable: STP) และสายเคเบิลร่วมแกน (Coaxial Cable)
2.1.1 สายตีเกลียวคู่ (Twisted-Pair Cable)
-สายตีเกลียวคูแ่ บบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวน (Unshielded Twisted Pair Cable:
UTP) เป็ นสือ่ สัญญาณไฟฟ้ าทีม่ รี าคาถูกและนิยมใช้กบั เครือข่ายแลน แต่การส่งสัญญาณโดยใช้สายตี
เกลียวคูแ่ บบนี้มกั มีสญ ั ญาณรบกวนทางไฟฟ้ า เช่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าทีถ่ กู สร้างและแพร่ไปยัง
สายสัญญาณทีอ่ ยูใ่ กล้ๆ โดยทาให้มผี ลกระทบกับสัญญาณทีอ่ ยูภ่ ายในสายตีเกลียวคูแ่ บบไม่ป้องกัน
สัญญาณรบกวน ทาให้สญ ั ญาณนัน้ เกิดความเสียหายได้ วิธกี ารป้ องกันผลกระทบของสัญญาณรบกวน
ส่วนใหญ่จะทาการหุม้ สายตีเกลียวคูด่ ว้ ยโลหะอีกชัน้ แสดงดังรูปที่ 2.1

รูปที่ 2.1 สายตีเกลียวคู่แบบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวน (Unshielded Twisted Pair Cable)


ที่ มา: Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore: Thomson Learning,
2001), p.80

-สายตีเกลียวคูแ่ บบป้ องกันสัญญาณรบกวน (Shielded Twisted Pair Cable: STP)


เป็ นสายตีเกลียวคูท่ ป่ี ระกอบด้วยเส้นลวดทองแดงทีถ่ กู หุม้ ด้วยฉนวนและมีฉนวนพลาสติกหุม้ ทับอีก
ชัน้ หนึ่ง สายตีเกลียวคูแ่ บบป้ องกันสัญญาณรบกวนนี้จะมีการรบกวนของสัญญาณรบกวน (Noise)
น้อยกว่า สายตีเกลียวคูแ่ บบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวนหรือสายยูทพี ี จึงจัดได้ว่าสายตีเกลียวคูแ่ บบนี้
เป็ นสือ่ สัญญาณทีม่ ปี ระสิทธิภาพทีด่ กี ว่าสายตีเกลียวคูแ่ บบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวน แต่การนาไปใช้
งานยังไม่นิยมมากเพราะค่อนข้างมีราคาสูง แสดงดังรูปที่ 2.2

ผศ.เจษฎา แก้ววิทย์
การสือ่ สารข้อมูลและเครือข่าย 3

รูปที่ 2.2 สายตีเกลียวคู่แบบป้ องกันสัญญาณรบกวน (Shielded Twisted Pair Cable)


ที่ มา: Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore: Thomson Learning,
2001), p.80

สายตีเกลียวคูแ่ บบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวน ถูกแบ่งเป็ น Categories 1 ถึง Categories 7


โดยกลุ่มผูผ้ ลิตอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในอเมริกา (Electronic Industries Association: EIA) ซึง่
สายตีเกลียวคูแ่ บบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวนนี้มปี ระสิทธิภาพดีในการส่งสัญญาณไฟฟ้ าในระยะ
ทางไกล1
สมาคมอุตสาหกรรมทางไฟฟ้ าหรืออีไอเอจัดแบ่งข้อกาหนดประเภทของสายตีเกลียวคูแ่ บบไม่
ป้ องกันสัญญาณรบกวน ดังแสดงในตารางที่ 2.1 โดยทัวไปมาตรฐานของสายตี
่ เกลียวคูแ่ บบไม่ป้องกัน
สัญญาณรบกวน จะใช้หวั ต่อแบบ RJ-45 เป็ นหัวเชือ่ มต่อกับสายแสดงดังรูปที่ 2.3

ตารางที่ 2.1 ประเภทของสายตีเกลียวคู่แบบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวน

ประเภทของUTP แบนด์วิดท์ การประยุกต์ใช้งาน


CAT-1 - -
CAT-2 1MHz สายโทรศัพท์
CAT-3 16MHz 10BaseT,Token Ring 4 Mbps, ISDN
CAT-4 20MHz Token Ring 16
CAT-5 100MHz 100 BaseT, 100 VG-AnyLAN, Token Ring 20 Mbps
CAT-6 250-500MHz 1000 BaseT – 10 GBaseT
CAT-7 600MHz 10 GBaseT
ที่ มา: ดัดแปลงจาก Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore:
Thomson Learning, 2001), p.80

รูปที่ 2.3 RJ-45 ตัวเมีย RJ-45 ตัวผู้และ RJ-11


ที่ มา: Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore: Thomson Learning,
2001), p.80

ผศ.เจษฎา แก้ววิทย์
4 การสือ่ สารข้อมูลและเครือข่าย

2.1.2 สายเคเบิลร่วมแกน (Coaxial Cable)


สายเคเบิลร่วมแกน เป็ นสื่อทีใ่ ช้ในการส่งสัญญาณไฟฟ้ าความเร็วสูงทีส่ ่งได้ทงั ้ สัญญาณดิจทิ ลั
และแอนะล็อกไปในระยะทางไกล จากรูปที่ 2.4 แสดงรูปของสายเคเบิลร่วมแกนทีภ่ ายนอกหุ้มด้วย
โพลีไวนิล คลอไรน์ (Polyvinyl Chloride: PVC) หรือ ใช้เทฟรอน (Teflon) เพื่อป้ องกันสายชัน้ ใน ชัน้
ถัด ไปจะถูก หุ้ม ด้ว ย ไวด์ เมช ชีล ด์ (Wire Mesh Shield) ซึ่งสามารถป้ องกัน สัญ ญาณรบกวนจาก
ภายนอกได้เป็ นอย่างดี ชัน้ ต่อไปหุม้ ด้วยพลาสติก เพือ่ ใช้ในการป้ องกันสัญญาณไฟฟ้ ารัวออกมา ่ และ
ชัน้ ในสุดจะเป็ นตัวนาไฟฟ้ าทีถ่ ูกห่อหุม้ ไว้ ตัวนาไฟฟ้ านี้ทาด้วยโลหะผสมทองแดง เรียกว่า อลูมนิ ัม
ไวด์ (Aluminum Wire) 1

Conductor Plastic Wire PVC


Insulator Mesh
Shield
รูปที่ 2.4 สายเคเบิลร่วมแกน (Coaxial Cable)
ที่ มา: ดัดแปลงจาก Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore:
Thomson Learning, 2001), p.81

ในตารางที่ 2.2 แสดงสายเคเบิลร่วมแกน ประเภทต่างๆ ถูกจัดแบ่งโดย Radio Government


หรือ RG ซึง่ RG จะแสดงถึงกลุ่มหรือประเภทการใช้งานของสายเคเบิลร่วมแกนและในรูปที่ 2.5 แสดง
หัวต่อของสายเคเบิลร่วมแกน

ตารางที่ 2.2 ประเภทของสายเคเบิลร่วมแกน


ประเภทของเคเบิล ค่าความต้านทานกระแสไฟฟ้ า การใช้งาน
RG-59 75 ohms Cable TV
RG-58 50 ohms, 5 mm in diameter 10Base2 หรือ ThinNet
RG-11 and RG-8 50 ohms, 10 mm in diameter 10Base5 หรือ ThickNet
ที่ มา: ดัดแปลงจาก Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore:
Thomson Learning, 2001), p.81

ผศ.เจษฎา แก้ววิทย์
การสือ่ สารข้อมูลและเครือข่าย 5

รูปที่ 2.5 หัวต่อของสายเคเบิลร่วมแกน (Coaxial Cable)


ที่ มา: Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore: Thomson Learning,
2001), p.81

2.1.3 เคเบิลเส้นใยนาแสง (Optical Fiber Cable)


เคเบิลเส้นใยนาแสงหรือ เส้นใยนาแสง ทามาจากเส้นใยแก้วที่ถูกหุ้มด้วยบัฟเฟอร์(Buffer)
และแจ็กเก็ต ไฟเบอร์ (Jacket Fiber) ที่แ น่ น หนา เพื่อป้ องกัน สัญ ญาณรบกวนและสิ่งรบกวนจาก
ภายนอก
ในการส่งสัญญาณไฟฟ้ าทีใ่ ช้เคเบิลเส้นใยนาแสงนัน้ เป็ นการส่งข้อมูลในรูปของสัญญาณดิจทิ ลั
และสัญญาณนี้จะถูกเปลีย่ นเป็ นสัญญาณแสงทีม่ คี วามสว่างของแสง โดยใช้อุปกรณ์ ทเ่ี รียกว่า ไลท์ อี
มิ ท ติ ง ไดโอด (Light-Emitting Diodes: LED) หรือ อิ น เจ๊ ก ชั น เลเซอร์ ไดโอด (Injected-Laser
Diodes: ILD) และส่งสัญญาณแสงนี้ลงไปในเคเบิลเส้นใยนาแสงต่อไป อุปกรณ์ ไลท์อมี ทิ ติงไดโอด
เป็ นอิเล็กทริคลั ไดโอด (Electrical Diode) ทีใ่ ห้ความสว่างต่า ส่วนอุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการรับสัญญาณแสง
เรีย กว่ า โฟโต้ ไดโอด (Photo Diode) หรือ โฟโต้ ทรานซิส เตอร์ (Photo Transistor) จะถู ก ใช้
สาหรับแปลงสัญญาณแสงกลับไปเป็ นสัญญาณไฟฟ้ า1

Optical Fiber Buffer Jacket Fiber

รูปที่ 2.6 เคเบิลเส้นใยนาแสง (Optical Fiber Cable)


ที่ มา: ดัดแปลงจาก Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore: Thomson
Learning, 2001), p.82

ข้อดีของ เคเบิลเส้นใยนาแสง
- สามารถส่งสัญญาณแสงไปในระยะทางทีไ่ กลๆได้ และลดการสูญเสียของสัญญาณ
- มีแบนด์วดิ ท์ทใ่ี ช้ในการส่งข้อมูลสูง
- ป้ องกันสัญญาณรบกวนจากภายนอก
- มีขนาดเล็ก
ข้อเสียของ เคเบิลเส้นใยนาแสง
- สือ่ ทีใ่ ช้ในการเชือ่ มต่อมีราคาแพง
- การติดตัง้ และการบารุงรักษาเครือข่ายทาได้คอ่ นข้างยาก

ผศ.เจษฎา แก้ววิทย์
6 การสือ่ สารข้อมูลและเครือข่าย

ประเภทของเคเบิลเส้นใยนาแสง
โดยทัวไปเคเบิ
่ ลเส้นใยนาแสงจะมีมมุ ของแสงสะท้อนขึน้ อยูก่ บั เส้นผ่าศูนย์กลางทีอ่ ยูใ่ นใยแก้ว
โดยตรง ถ้าเส้นผ่าศูนย์กลางมีขนาดเพิม่ ขึน้ แสงสะท้อนและระยะทางจะเพิม่ มากขึน้ ประเภทของ
เคเบิลเส้นใยนาแสงที่ใช้งานในปั จจุบนั มี 2 ประเภท คือ ซิงเกิลโหมดไฟเบอร์(Single-Mode Fiber:
SMF) และ มัลติโหมด ไฟเบอร์ (Multimode Fiber: MMF) 1
- เคเบิลเส้นใยนาแสงแบบซิงเกิลโหมดไฟเบอร์ (Single-Mode Fiber: SMF) จะมีการส่ง
สัญญาณแสงเพียงเส้นทางเดียวและสามารถส่งไปในระยะทางไกล มีระยะการตกกระทบของแสงทีไ่ กล
1
ดังรูปที่ 2.7

รูปที่ 2.7 เคเบิลเส้นใยนาแสงแบบ ซิ งเกิ ลโหมด (Single Mode)


ที่ มา: ดัดแปลงจาก Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore:
Thomson Learning, 2001), p.82

- เคเบิลเส้นใยนาแสงแบบมัลติโหมดไฟเบอร์ (Multimode Fiber: MMF) มีการตกกระทบของ


สัญญาณแสงมากกว่า 1 เส้น แต่ละเส้นจะตกกระทบเป็ นมุมต่าง ๆ กัน ดังรูปที่ 2.8 เคเบิล
เส้นใยนาแสงแบบมัลติโหมดมีเส้นผ่าศูนย์กลางมากกว่าความยาวคลื่นของแสงโดยเคเบิลเส้นใยนาแสง
แบบมัลติโหมดจะมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 50 ไมโครมิเตอร์ ถึง 1000 ไมโครมิเตอร์ ซึง่ ความยาวคลื่นของ
แสงโดยทัวไปประมาณ
่ 1 ไมโครมิเตอร์1

รูปที่ 2.8 เคเบิลเส้นใยนาแสงแบบมัลติ โหมดสเต็บอิ นเด็กซ์ (Multimode Step Index)


ที่ มา: ดัดแปลงจาก Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore:
Thomson Learning, 2001), p.83

จากรูปที่ 2.7 และ 2.8 สัญญาณแสงสามารถแพร่ไปในเคเบิลเส้นใยนาแสง ในเส้นทางหรือวิถี


ที่แ ตกต่ า งกัน โดยเคเบิ ล เส้น ใยน าแสงแบบซิ งเกิล โหมดจะมีเส้น ผ่ า ศู น ย์ ก ลางที่เ ล็ ก กว่ า เคเบิ ล
เส้นใยนาแสงแบบมัลติโหมด
เคเบิลเส้นใยนาแสงแบบมัลติโหมดแบ่งได้เป็ น 2 ประเภท คือ
- เคเบิลเส้นใยนาแสงแบบมัลติโหมดสเต็บอินเด็กซ์ (Multimode Step Index) เป็ นประเภท
ของเคเบิลเส้นใยนาแสงแบบมัลติโหมดอย่างง่าย ซึง่ ดัชนีการหักเหของแสง จะเท่ากับแกนกลางของ
เส้นใยแก้ว ดังนัน้ สัญญาณแสงจะแพร่กระจาย1 ดังรูปที่ 2.8 โดยเคเบิลเส้นใยนาแสงแบบมัลติโหมด

ผศ.เจษฎา แก้ววิทย์
การสือ่ สารข้อมูลและเครือข่าย 7

สเต็บอินเด็กซ์มแี บนด์วดิ ท์อยู่ในช่วง 20 ถึง 30 เมกกะเฮิรตซ์ และสามารถส่งสัญญาณได้ไกลเกิน 1


กิโลเมตร
- เคเบิลเส้นใยนาแสงแบบมัลติโหมดเกรดอินเด็กซ์ (Multimode Step Graded Index) จะมี
ดัช นี ก ารหัก เหของแสงผ่ า นตัว กลางที่ค่ อ ยๆ เปลี่ย นจากจุ ด สูงสุ ด ไปยังจุ ด ศูน ย์ก ลางที่ต่ า สุ ด ใน
เส้นใยนาแสง ซึง่ ประเภทของเคเบิลเส้นใยนาแสงแบบนี้ ทาให้สญ ั ญาณแสงเคลื่อนทีไ่ ด้เร็ว ในสื่อทีม่ ี
ดัชนีการหักเหของแสงทีม่ คี ่าต่า แบนด์วดิ ท์ของเคเบิลเส้นใยนาแสงแบบมัลติโหมดเกรดอินเด็กซ์จะมี
ช่วงความถีอ่ ยูร่ ะหว่าง 100 เมกกะเฮิรตซ์ ต่อกิโลเมตร ถึง 1 กิกะเฮิรตซ์ต่อกิโลเมตร 1

รูปที่ 2.9 เคเบิลเส้นใยนาแสงแบบมัลติ โหมดเกรดอิ นเด็กซ์ (Multimode Step Graded Index)


ที่ มา: Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore: Thomson Learning,
2001), p.83

โดยทัวไปหั
่ วต่อของเคเบิลเส้นใยนาแสง (Fiber Optic Connector) ทีใ่ ช้ในเครือข่ายมีดว้ ยกัน
3 ประเภท คือ
- ซับสไครเบอร์ แชลเนล คอนเน็กเตอร์ (Subscriber Channel Connector: SC) หรือ เอส ซี
คอนเน็กเตอร์ (SC Connector) ใช้กบั ระบบ Push Pull Lock ใช้ในระบบโทรศัพท์ แสดงดังรูปที่
2.10

รูปที่ 2.10 หัวต่อแบบ เอส ซี


ที่ มา:http://www.cablesdirect.com/prodimages/FDSC-10M_LR.jpg (accessed 2008 Dec 10)

- สเทรท ทิป แชลเนล คอนเน็ กเตอร์ (Straight Tip Connector: ST) หรือ เอสทีคอนเน็ ก
เตอร์ (ST Connector) ใช้กบั อุปกรณ์ทม่ี คี วามน่าเชือ่ ถือสูงๆ แสดงดังรูปที่ 2.11

ผศ.เจษฎา แก้ววิทย์
8 การสือ่ สารข้อมูลและเครือข่าย

รูปที่ 2.11 หัวต่อแบบ เอส ที


ที่ มา:http://www.cablesdirect.com/prodimages/FDST-10M_LR.jpg(accessed 2008 Dec 10)

- เอ็ ม ที อาร์ เ จคอนเน็ ก เตอร์ (MT-RJ Connector) เป็ นดู เ พล็ ก คอนเน็ ก เตอร์ (Duplex
Connector) คือ สามารถทาการส่งและรับสัญญาณแสงได้ในคู่ของสายเดียวกัน ดังรูปที่ 2.12 ขนาด
ของหัวต่อจะเท่ากับหัวต่อแบบ RJ-45 โดยเอ็มที อาร์เจ คอนเน็กเตอร์ เป็ นหัวต่อแบบใหม่ของเคเบิล
เส้นใยนาแสง

รูปที่ 2.12 หัวต่อแบบ เอ็มที อาร์เจ คอนเน็กเตอร์


ที่ มา:http://www.cablesdirect.com/prodimages/FDMT-10M_LR.jpg (accessed 2008 Dec 10)

2.2 สื่อสัญญาณไร้สาย (Wireless Transmission Media)


สือ่ สัญญาณไร้สายจะทาการส่งข้อมูลโดยไม่ใช้ส่อื ตัวนาสัญญาณทีเ่ ป็ นตัวนาสัญญาณเหมือน
สายตีเกลียวคู่หรือเคเบิลเส้นใยนาแสง ในการส่งและรับ สัญญาณของสื่อสัญญาณไร้สาย (Wireless
Transmission Media) จะใช้คลื่นไมโครเวฟ ความถีค่ ลื่นวิทยุ แสงอินฟราเรด และแสงเลเซอร์ เป็ น สื่อ
ในการส่งสัญญาณ
โดยหลักการเมื่ออิเล็กตรอนเคลื่อนทีจ่ ะทาการแพร่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าออกมา ซึง่ สามารถใช้
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าเพื่อเป็ นสื่อในการส่งข้อมูลได้ โดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจะแพร่กระจายผ่านอากาศ
เป็ นช่วงความถีต่ ่างๆ ในแต่ละช่วงความถีม่ กี ารประยุกต์ใช้งานทีแ่ ตกต่างกันไป ดังตารางที่ 2.3

ผศ.เจษฎา แก้ววิทย์
การสือ่ สารข้อมูลและเครือข่าย 9

ตารางที่ 2.3 ช่วงความถี่ ประเภทของความถี่และการประยุกต์ใช้งาน ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า


ช่วงความถี่ ประเภทของความถี่ การประยุกต์ใช้งาน
3-30 KHz Very Low Frequency (VLF) โทรศัพท์
30-300 KHz Long Wave (LW) ความถีว่ ทิ ยุสาหรับผูน้ าทาง(Navigation)
300-3000 KHz Medium Wave (MW) ความถีว่ ทิ ยุเอเอ็ม (AM)
3-30 MHz Short Wave (SW) ความถีว่ ทิ ยุซบี ี (CB)
30-300 MHz Very High Frequency (VHF) โทรทัศน์ และ ความถีว่ ทิ ยุเอฟเอ็ม (FM)
300-3000 MHz Ultra High Frequency (UHF) โทรทัศน์
3-30 GHz Super High Frequency (SHF) ไมโครเวฟภาคพืน้ ดิน และ ดาวเทียม
30-300 GHz Extreme High Frequency (EHF) ใช้สาหรับการทดลอง (Experimental)
ทางด้านการสือ่ สาร
>300 GHz Infrared Light รีโมท โทรทัศน์ (TV Remote Control)
Laser เลเซอร์สาหรับผ่าตัด (Laser Surgery)
ที่ มา: ดัดแปลงจาก Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore:
Thomson Learning, 2001), p.84

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ ามีรปู แบบของการแพร่กระจายทีแ่ ตกต่างกันซึง่ ขึน้ กับช่วงความถีข่ อง


สัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าทีใ่ ช้ โดยรูปแบบของการแพร่กระจายคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้ า แสดงดังรูปที่
2.13

Surface Propagation Tropospheric Propagation Ionospheric Propagation

Line-of-Sight Propagation Space Propagation


รูปที่ 2.13 รูปแบบการแพร่กระจายของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
ที่ มา: ดัดแปลงจาก Forouzan, Behrouz A, Datacommunications and networking, 2nd ed.
(Singapore: McGraw-Hill, 2002), p.201

อธิบายรูปแบบการแพร่กระจายของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าในรูปที่ 2.13 ดังนี้2


- การแพร่ ก ระจายพื้น ผิว (Surface Propagation) เป็ นรูป แบบการแพร่ก ระจายของคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้ าขนานกับพืน้ ผิวโลก

ผศ.เจษฎา แก้ววิทย์
10 การสือ่ สารข้อมูลและเครือข่าย

- การแพร่กระจายไปชัน้ บรรยากาศโทรโพสเฟี ยร์ (Tropospheric Propagation) เป็ นรูปแบบ


การแพร่กระจายของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าไปชัน้ บรรยากาศของโลกชัน้ ล่างสุด มีระยะห่างจากพืน้ ผิวโลก
ประมาณ 7-17 กิโลเมตร โดยปกติการแพร่กระจายนี้จะสะท้อนกลับมาทีพ่ น้ื ทีโ่ ลก
- การแพร่กระจายไปชัน้ บรรยากาศไอโอโนสเฟี ยร์ (Ionospheric Propagation) เป็ นรูปแบบ
การแพร่กระจายของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าไปชัน้ บรรยากาศทีอ่ ยูข่ อบของโลก ซึง่ เป็ นชัน้ บรรยากาศทีต่ ดิ
กับขอบอวกาศนอกโลก การแพร่กระจายนี้จะสะท้อนกลับมาทีพ่ น้ื ทีโ่ ลกเช่นกัน
- การแพร่กระจายเส้นสายตา (Line-of-Sight Propagation) เป็ นรูปแบบการแพร่กระจายคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้ าทีเ่ ป็ นเส้นตรงจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง
- การแพร่ ก ระจายสู่ อ วกาศ (Space Propagation) เป็ นรู ป แบบการแพร่ ก ระจายคลื่ น
แม่เหล็กไฟฟ้ าออกนอกโลกเข้าสูอ่ วกาศ
การแพร่กระจายของช่วงความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า นัน้ สามารถแพร่กระจายได้หลาย
ความถีด่ งั นี้
- วี แ อลเอฟ (Very Low Frequency: VLF) ท าการแพร่ ก ระจายพื้ น ผิ ว ราบกั บ ผิ ว โลก
สัญญาณความถีแ่ บบนี้จะอ่อนไหวต่อสัญญาณรบกวน เช่น ความร้อน หรือ สัญญาณไฟฟ้ า ส่วนใหญ่
นิยมใช้เป็ นคลื่นวิทยุทใ่ี ช้ในเรือดาน้า หรือใช้กบั วิทยุสอ่ื สารใต้น้า
- แอลเอฟ (Low Frequency: LF) เป็ นคลื่น สัน้ ที่ใช้ในทะเล หรือ สามารถใช้ก ับ วิท ยุ ต าม
ชายฝั ง่ ทาการแพร่กระจายพืน้ ผิวเช่นเดียวกับวีแอลเอฟ2
- เอ็ม เอฟ (Middle Frequency: MF) ท าการแพร่ก ระจายไปชัน้ บรรยากาศโทรโพสเฟี ย ร์
สัญญาณความถีน่ ้ีจะหายไปในชัน้ บรรยากาศไอโอโนสเฟี ยร์ นิยมนามาใช้ในการแพร่กระจายสัญญาณ
วิทยุ เอเอ็ม (AM) สัญญาณขอความช่วยเหลือ เป็ นต้น
- เอชเอฟ (High Frequency: HF) ทาการแพร่กระจายไปชัน้ บรรยากาศไอโอโนสเฟี ยร์ แล้ว
สะท้อนกลับลงมาทีพ่ น้ื โลก ใช้ในการส่งสัญญาณถ่ายทอดระหว่างประเทศ การสื่อสารทางทหาร วิทยุ
ของเครือ่ งบิน โทรศัพท์ โทรเลข เป็ นต้น
- วีเอชเอฟ (Very High Frequency: VHF) ทาการแพร่กระจายเส้นสายตา ซึง่ ต้องมีเครือ่ งรับ
อยู่ในระดับ เดียวกันและส่งสัญ ญาณตรงเข้าหากัน ส่วนใหญ่ใช้กบั จานไมโครเวฟ เพื่อแพร่ภ าพ
สัญญาณโทรทัศน์แบบวีเอชเอฟ และการกระจายเสียงของสัญญาณวิทยุ เอฟเอ็ม (FM)
- ยู เ อชเอฟ (Ultra High Frequency: UHF) ท าการแพร่ ก ระจายเส้ น สายตาคือ การส่ ง
สัญญาณเข้าหากันระหว่างสถานี ซึ่ง ใช้ในระบบการแพร่ภาพสัญญาณโทรทัศน์ แบบยูเอชเอฟ หรือ
ระบบโทรศัพท์เคลื่อนทีเ่ ครือข่ายแบบเซลลูลาร์
- เอสเอชเอฟ (Super High Frequency: SHF) ท าการแพร่ ก ระจายเส้น สายตาและการ
แพร่กระจายสู่อวกาศ ส่วนใหญ่ใช้ในระบบการส่งสัญญาณทัง้ แบบ ไมโครเวฟภาคพืน้ ดิน ดาวเทียม
และเรดาห์
- อีเอชเอฟ (Extremely High Frequency: EHF) ทาการแพร่กระจายออกสู่อวกาศ สัญญาณ
ความถีน่ ้ีใช้สาหรับการทางานของเรดาห์และดาวเทียม
2.2.1 การสื่อสัญญาณไมโครเวฟ (Microwave Transmission)
สัญญาณไมโครเวฟจะใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าเพือ่ ส่งสัญญาณไฟฟ้ าไปยังชัน้ บรรยากาศ โดยใช้
ช่วงความถีอ่ ยู่ระหว่าง 2 ถึง 40 กิกะเฮิรตซ์ ซึง่ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าใดทีม่ คี วามถีม่ ากกว่า 100 เมกกะ

ผศ.เจษฎา แก้ววิทย์
การสือ่ สารข้อมูลและเครือข่าย 11

เฮิรตซ์จะเดินทางเป็ นเส้นตรง การส่งสัญญาณแบบไมโครเวฟจึงเป็ นการส่งสัญญาณแบบเส้นสายตา


กล่าวคือ เป็ นการส่งตรงถึงกันระหว่างสถานีภาคพืน้ ดิน ซึง่ การติดต่อสื่อสารแบบไมโครเวฟมี 2 แบบ
คือ
- ไมโครเวฟภาคพื้นดิ น (Terrestrial Microwave) ระบบนี้จะส่งและรับสัญญาณไมโครเวฟ
โดยใช้จานรับสัญญาณ (Parabolic Antenna) แสดงดังรูปที่ 2.14 ไมโครเวฟภาคพื้นดิน นี้เป็ นการส่ง
สัญ ญาณไมโครเวฟเพื่อ การติด ต่ อสื่อสารในระยะทางไกลๆ หรือส่ง สัญ ญาณระหว่ างอาคารที่ไม่
สามารถใช้สอ่ื สัญญาณแบบตัวนาได้

Earth

รูปที่ 2.14 ไมโครเวฟภาคพื้นดิ น (Terrestrial Microwave)


ที่ มา: ดัดแปลงจาก Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore: Thomson
Learning, 2001), p.85

- ระบบดาวเที ยม (Satellite System) ระบบนี้ ถูกใช้ในการสื่อสารระหว่างรัฐ หรือระหว่าง


ประเทศ กรณี ท่ีไม่ส ามารถใช้ส่อื สัญ ญาณตัวน าบนภาคพื้น ดิน ได้ ดังแสดงในรูป ที่ 2.15 ซึ่งระบบ
ดาวเทียมจะทาการเชือ่ มต่อสัญญาณระหว่างสถานีภาคพืน้ ดินกับดาวเทียมเพือ่ ส่งข้อมูล โดยดาวเทียม
จะรับ สัญ ญาณจากสถานี ภ าคพื้น ดิน เรีย กวิธีการรับ สัญ ญาณนี้ ว่ า การเชื่อมโยงขึ้น (Uplink) และ
ดาวเทียมทาการส่งสัญญาณกลับลงมายังสถานีภาคพื้นดินเรียกว่า การเชื่อมโยงลง (Downlink) โดย
สถานีทงั ้ สองจะแบ่งช่วงความถีใ่ นการใช้งาน

Downlink 35,000 Km. Uplink

Earth
Sender
Receiver
รูปที่ 2.15 ระบบการส่งข้อมูลผ่านดาวเที ยม
ที่ มา: ดัดแปลงจาก Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore: Thomson
Learning, 2001), p.85

ผศ.เจษฎา แก้ววิทย์
12 การสือ่ สารข้อมูลและเครือข่าย

2.2.2 ดาวเที ยมค้างฟ้ า (Geosynchronous Satellite)


ดาวเทียมค้างฟ้ าเป็ นดาวเทียมที่มวี งโคจร ห่างจากพื้นโลกประมาณ 35,000 กิโลเมตร และ
เคลื่อนทีด่ ว้ ยความเร็วเท่ากับโลกหมุนรอบตัวเอง ถ้าต้องการส่งสัญญาณให้ครอบคลุมพืน้ ทีท่ วโลกโดย
ั่
ใช้ดาวเทียมแบบนี้ ต้องใช้ดาวเทียมค้างฟ้ าจานวน 3 ดวง ทามุม 120 ดีกรี (degree)3 ซึ่งกันและกัน
โดยใช้โลกเป็ นแกนกลาง ระหว่างโคจรรอบโลก
กรณีทม่ี กี ารส่งข้อมูลจากพื้นโลกไปยังดาวเทียมเรียกว่า การเชื่อมโยงแต่ถ้ามีการส่งข้อมูล
จากดาวเทียมลงมายังพืน้ โลกเรียกว่าการเชื่อมโยงลงในการส่งข้อมูลด้วยสัญญาณดาวเทียมต้องอาศัย
แถบความถี่ (Frequency Band) ในการส่งข้อมูล ดังแสดงในตารางที่ 2.4 ซึ่งแสดงแถบความถี่ของ
ดาวเทียมทีใ่ ช้งาน

ตารางที่ 2.4 แถบความถี่ของดาวเที ยม


แถบความถี่ การเชือ่ มโยงลง (Downlink) การเชือ่ มโยงขึน้ (Uplink)
C 3.7 – 4.2 GHz 5.925 – 6.425 GHz
KU 11.7 – 12.2 GHz 14.0 – 14.5 GHz
KA 17.7 – 21 GHz 27.50 – 31 GHz
ที่ มา: ดัดแปลงจาก Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore: Thomson
Learning, 2001), p.208

2.2.3 เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless Local Area Networks: WLAN)


เครือข่ายแบบไร้สาย หรือ IEEE 802.11 เป็ น เทคโนโลยีใหม่ข องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เฉพาะบริเวณ ที่ให้ผู้ใช้งานสามารถเข้าใช้งานเครือข่ายในองค์กรได้โดยไม่ต้องใช้ส่อื ที่เป็ นสายส่ง
ข้อมูล เครือข่ายแบบไร้สายใช้คลื่น ความถี่วิทยุ หรืออาจใช้คลื่น แสงอินฟราเรดเป็ นตัว ส่งสัญญาณ
และใช้อากาศเป็ นสื่อกลางในการส่งสัญญาณ เครือข่ายแลนไร้สายนัน้ จะเป็ นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ี
เหมาะส าหรับ โรงเรีย น และสถาบัน การศึก ษาต่ า งๆ ซึ่งนั ก เรีย น นั ก ศึก ษา สามารถใช้เครื่อ ง
คอมพิวเตอร์แบบพกพา เชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในบริเวณโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยได้
เครือข่ายแลนไร้สายทีใ่ ช้ในสถาบันการศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยคาร์เนกี เมลลอน ในพิตสเบิรก์ ได้
ทาเครือข่ายแลนไร้ส ายเพื่อที่จ ะให้นักศึกษาใช้งานตามคณะต่าง ๆ ส่วนตามโรงพยาบาลการใช้
เครือข่ายแลนไร้สาย จะอานวยความสะดวกให้แพทย์และพยาบาลทางานง่ายขึน้ เช่น การค้นหาแฟ้ ม
ประวัตกิ ารรักษาของคนไข้ในโรงพยาบาล นอกจากนัน้ เครือข่ายแลนไร้สายยังสามารถใช้ในร้านขาย
ของขนาดใหญ่และใช้ในโรงงานได้
โครงรูปของเครือข่ายแลนไร้สาย
การจัดการเครือข่ายแลนไร้สาย แบบทีง่ ่ายสุดคือ เครือข่ายแบบ เพียร์ ทู เพียร์ (Peer-To-
Peer) หรือ อาจเรียกว่าแบบ แอดฮอก (Ad-Hoc) ดังแสดงในรูปที่ 2.16 กล่าวคือคอมพิวเตอร์แต่ละ
เครื่อ งต้ อ งจะมี แ ผ่ น วงจรประสานเครือ ข่ า ยแบบไร้ส ายที่ สามารถรับ และส่ ง ข้อ มู ล ระหว่ า งกัน
เครือ ข่า ยแลนไร้ส ายอีก ประเภทเรีย กว่ า อิน ฟราสตัค เจอร์ (Infrastructure) ประกอบด้ว ยเครื่อ ง
คอมพิวเตอร์กบั แผ่นวงจรประสานเครือข่ายแบบไร้สายทีอ่ ยู่ในบริเวณเดียวกัน และมีอุปกรณ์ ทใ่ี ช้ใน

ผศ.เจษฎา แก้ววิทย์
การสือ่ สารข้อมูลและเครือข่าย 13

การจัดการเครือข่ายแบบไร้สายซึ่งอุปกรณ์ น้ี เรียกว่า แอกเซสพอยต์ (Access Point) 4 โดยแอกเซส


พอยต์ เป็ นอุปกรณ์ทท่ี าให้ผใู้ ช้งานเครือข่ายแลนไร้สาย สามารถเข้าใช้งานข้อมูลอินเทอร์เน็ตและเข้า
ใช้งานในเครือข่ายต่างๆ ได้

รูปที่ 2.16 เครือข่ายแบบเพียร์ ทู เพียร์ (Peer-to-Peer)


ที่ มา: ดัดแปลงจาก Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore: Thomson
Learning, 2001), p.202

รูป ที่ 2.17 แสดงอุป กรณ์ แอกเซสพอยต์ท่เี ชื่อมต่อกับ เครือข่ายคอมพิวเตอร์แ บบใช้ส าย


เคเบิล เป็ นสื่อในการส่งข้อมูล หน้ าที่ข องแอกเซสพอยต์ จะท าการรับ ข้อมูล จาก ไคลเอนต์ ซ่ึง ส่ ง
สัญญาณข้อมูลผ่านอากาศ และเชื่อมต่อเข้าสู่เครือข่ายโดยผ่านฮับ ดังนัน้ แอกเซสพอยต์ จึงทาหน้าที่
เป็ นสะพานเชือ่ มต่อระหว่างเครือข่ายแลนไร้สาย กับเครือข่ายแบบใช้สายในการส่งข้อมูล

รูปที่ 2.17 แสดงเครือข่ายแลนไร้สายกับแอกเซส พอยต์แบบซิ งเกิ ล


ที่ มา: ดัดแปลงจาก Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore: Thomson
Learning, 2001), p.202

แอกเซส พอยต์ ครอบคลุม พื้นที่ในการส่งและรับข้อมูล เรียกว่า เซล (Cell)4 แสดงในรูป ที่


2.17 อุ ป กรณ์ ท่ีอ ยู่ ภ ายในเซลสามารถเข้า ใช้งานแอกเซสพอยต์ ได้ โดยทัว่ ไปหน้ า ที่ข อง แอก
เซสพอยต์ จ ะท าการสร้า งการติด ระหว่ า งไคลเอนต์ ของเครือ ข่า ยแลนไร้ส าย กับ เครือ ข่ า ยที่ใ ช้
สายสัญ ญาณกล่ าวได้ว่ า แอกเซสพอยต์จะทาการเชื่อมต่อและรองรับ การโรมมิ่ง (Roaming) ของ
สัญญาณ ในบริเวณนัน้ เมือ่ มีจานวนของไคลเอนต์ ใน เซลเพิม่ มากขึน้ แอกเซสพอยต์จาเป็ นทีจ่ ะต้อง
ถูกเพิม่ เข้าไปในเครือข่ายแลนไร้สาย ในรูปที่ 2.18 แสดงแอกเซสพอยต์ (Access Point) ทีส่ ามารถ
รองรับการทางานเครือข่ายแลนไร้สายซึง่ จะขึน้ อยูก่ บั กาลังในการส่งสัญญาณ การออกแบบอุปกรณ์
เครือข่า ยแลนไร้ส ายของผู้ผ ลิตและสภาพแวดล้อมที่ใช้งานเครือ ข่ายแลนไร้ส าย โดยปกติแ อก

ผศ.เจษฎา แก้ววิทย์
14 การสือ่ สารข้อมูลและเครือข่าย

เซสพอยต์ สามารถรับและส่งข้อมูลอยูใ่ นระยะรัศมี 100 เมตร สาหรับการใช้งานภายนอกอาคาร และ


100 เมตร สาหรับการใช้งานภายในอาคาร

รูปที่ 2.18 เครือข่ายแลนไร้สาย แบบ มีแอกเซสพอยต์หลายตัว


ที่ มา: ดัดแปลงจาก Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore: Thomson
Learning, 2001), p.203

เทคโนโลยีสาหรับการส่งผ่านข้อมูลใน เครือข่ายไร้สายมี 2 ชนิด คือ เทคโนโลยีเกีย่ วกับการ


ส่งข้อมูลผ่านแสงอินฟราเรด (Infrared Technology) หรือ IR และเทคโนโลยีในการใช้คลืน่ ความถีว่ ทิ ยุ
(Radio Frequency Technology) หรือ RF
เทคโนโลยีเกี่ยวกับแสงอิ นฟราเรด
เทคโนโลยีของแสงอินฟราเรดเหมาะสาหรับใช้งานเครือข่ายไร้สายภายในอาคารเพราะแสง
อินฟราเรด ไม่สามารถทะลุผ่านกาแพง เพดาน หรือ สิง่ กีดขวางอื่น ๆ ได้ ดังนัน้ เทคโนโลยีเกีย่ วกับ
แสงอินฟราเรด นัน้ ตัวส่งสัญญาณและตัวรับสัญญาณควรจะส่งสัญญาณถึงกันโดยตรง เหมือนกับ
รีโมททีวที ใ่ี ช้ในการเปลีย่ นช่องทีวี
เทคโนโลยีการใช้คลื่นความถี่วิทยุ
จากความรู้ท างฟิ สิก ส์ พ บว่ า การเคลื่อ นที่ ข องอิเล็ ก ตรอนผ่ า นตัว น าไฟฟ้ าจะเกิด คลื่ น
แม่เหล็กไฟฟ้ า โดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ ามีความถี่อยู่ระหว่าง 102 ถึง 1010 Hz หรือที่เรียกว่า คลื่น
ความถีว่ ทิ ยุ (RF) ซึง่ คลื่นความถีว่ ทิ ยุน้ีสามารถทะลุผา่ น กาแพงและสิง่ กีดขวางต่างๆได้
ลักษณะเฉพาะของคลื่นความถี่วิทยุ
คลื่นความถีว่ ทิ ยุสามารถถูกส่งผ่านสุญญากาศได้ทค่ี วามเร็วเท่ากับความเร็วของแสง(3.0
10 8 m/s )
ความถี่ คือ จานวนคลื่นทีเ่ กิดในวินาที

ผศ.เจษฎา แก้ววิทย์
การสือ่ สารข้อมูลและเครือข่าย 15

ั ลักษณ์ในภาษากรีกคือ  (Lambda) แทน


ความยาวคลื่นมีหน่วยเป็ นวัดเป็ นเมตรและใช้สญ
ความยาวคลื่น ความยาวคลืน่ นี้สามารถวัดได้จากระยะทางระหว่างจุดสูงสุด ของคลื่น 2 ลูกทีเ่ กิด
ต่อเนื่องกัน ดังรูปที่ 2.19

Wavelength

รูปที่ 2.19 ความยาวคลื่น

ความสัมพันธ์ระหว่างความถีแ่ ละความยาวคลื่น ตามสมการนี้


=C/F
C คือ ความเร็วแสง
F คือ สัญญาณความถี่
รูปแบบการส่งสัญญาณของ คลื่นความถีว่ ทิ ยุ (RF) มี 2 ประเภททีใ่ ช้สาหรับส่งผ่านข้อมูล
คือ Narrowband signal กับ spread-spectrum signal
Narrowband signal
Narrowband signal เป็ นการส่งสัญญาณกับช่วงความถีข่ องคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า แสดงในรูปที่
2.20 หมายถึงการส่งข้อมูลทีใ่ ช้ความถีเ่ ฉพาะเจาะจง อย่างเช่น คลื่นความถีว่ ทิ ยุ AM และ FM
Power

Frequency

รูปที่ 2.20 Narrowband signal

ผศ.เจษฎา แก้ววิทย์
16 การสือ่ สารข้อมูลและเครือข่าย

Spread-spectrum
Spread-spectrum signal เป็ นเทคโนโลยีการส่งข้อมูลทีใ่ ช้ชว่ งของความถีท่ ก่ี ว้างแสดงในรูป
ที่ 2.21 ซึง่ ช่วงความถีท่ ก่ี ว้างนี้นิยมนามาใช้งานมากทีส่ ดุ สาหรับ เครือข่ายไร้สาย

Power

Frequency
F1 Fn
รูปที่ 2.21 Spread-spectrum signal

ข้อดีการใช้ความถี่ แบบ Spread-spectrum ในคลื่นวิทยุ


• เทคโนโลยีแบบ Spread-spectrum นี้ขอ้ มูลสามารถถูกส่งได้โดยใช้ความถีใ่ นย่านทีแ่ ตกต่างกัน
• การเกิดการแทรกของสัญญาณต่างๆ ในการส่งข้อมูลแบบ Spread-spectrum ค่อนข้างยาก
• การยับยัง้ สัญญาณ Spread-spectrum ยากกว่าการยับยัง้ สัญญาณแบบ Narrow band
• เกิดสัญญาณรบกวนในสัญญาณ Spread-spectrum มีน้อยกว่าในสัญญาณแบบ Narrow band
ช่วงความถี่วิทยุแบบ ISM
คณะกรรมการควบคุมการสือ่ สารแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา (FCC) ได้แบ่งช่วงของความถีท่ ่ี
ใช้งานให้กบั สถานีวทิ ยุ สถานีโทรทัศน์ บริษทั โทรศัพท์ การเดินเรือ และหน่วยงานทางทหาร
นอกจากนัน้ FCC ยังได้จดั สรรช่วงความถีข่ องคลื่นวิทยุเรียกว่า Industrial Scientific and Medical
Band หรือ ISM สาหรับพัฒนาด้านอุตสาหกรรม การวิจยั และประโยชน์ทางการแพทย์ การใช้ชว่ ง
ความถี่ ISM นี้ไม่ตอ้ งขอใบอนุญาตจาก FCC ดังนัน้ ย่านความถีช่ ว่ งนี้สามารถใช้งานได้ในงานทีก่ ล่าว
มาข้างตน ดังรูปที่ 2.22 แสดงความถีว่ ทิ ยุแบบ ISM

902 MHz 928MHz 2.4GHz 2.48GHz 5.725GHz 5.85GHz

Industrial Band Scientific Band Medical Band


I-band S-band M-band

รูปที่ 2.22 แสดงความถี่วิทยุแบบ ISM

จุดเด่นของเครือข่ายแลนไร้สาย
เครือข่ายแลนไร้สายสามารถถูกใช้ภายในสถานทีท่ ไ่ี ม่สามารถเดินสายสัญญาณได้ เครือข่าย
แลนไร้ส ายสามารถเพิ่ม จ านวนไคลเอนต์ ของเครือ ข่า ยได้โดยไม่ จ าเป็ นต้อ งมีก ารเดิน สายใหม่

ผศ.เจษฎา แก้ววิทย์
การสือ่ สารข้อมูลและเครือข่าย 17

เครือข่ายแลนไร้สาย ทาให้ผใู้ ช้งานเครือข่ายสามารถเคลื่อนย้ายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ของตนได้ภายใน


เครือข่าย เช่น ผูใ้ ช้งานสามารถนาคอมพิวเตอร์ของตนไปได้ทุก ๆ ทีภ่ ายในองค์กรซึ่งเป็ นเครือข่าย
แลนไร้สาย
มาตรฐานของเครือข่ายแลนไร้สายที่ ใช้งานในปัจจุบนั 5
- IEEE802.11a มีอตั ราการส่งข้อมูลเท่ากับ 54 เมกะบิตต่อวินาที และใช้งานในแถบความถี่
ที่ 5 กิกะเฮิรตซ์
- IEEE802.11b มีอตั ราการส่งข้อมูลเท่ากับ 11 เมกะบิตต่อวินาที และใช้งานในแถบความถี่
ที่ 2.4 กิกะเฮิรตซ์ ซึง่ มีการใช้งานในมาตรฐานนี้คอ่ นข้างมาก
- IEEE802.11g มีอตั ราการส่งข้อมูลเท่ากับ 54 เมกะบิตต่อวินาที และใช้งานในแถบความถี่
ที่ 2.4 กิกะเฮิรตซ์ ปั จจุบนั ได้เข้ามาแทน IEEE 80211.b เนื่องด้วยความยืดหยุน่ ของการส่งข้อมูลและ
แถบความถีท่ ใ่ี ช้งาน
- IEEE802.11n เป็ นมาตรฐานของเครือข่ายไร้สายทีเ่ ข้ามาแทนทีม่ าตรฐาน IEEE802.11a,
IEEE802.11b และ IEEE 802.11g โดยมีอตั ราการรับส่งข้อมูล 100 เมกะบิตต่อวินาที ใช้ชอ่ งสัญญาณ
20 MHz และเพิม่ ในส่วนการกันสัญญาณรบกวนจากเครือข่ายไร้สายทีต่ ดิ กัน
-IEEE802.11ac มาตรฐานของ IEEE 802.11ac ทางานบนความถี่ 5 GHz ใช้ชอ่ งสัญญาณ
80 MHz และ 160 MHz รองรับมาตรฐานแบบทีก่ ล่าวข้างต้นทัง้ หมดโดยมีอตั ราการรับส่งข้อมูล1.3 กิ
กะบิตต่อวินาที ทางทฤษฎีสามารถรองรับได้ 6.93 กิกะบิตต่อวินาที นับว่าเป็ นมาตรฐานทีเ่ ข้ามาแทน
IEEE802.11n นอกจากนี้ IEEE802.11ac มีฟังก์ชนั การทางานทีท่ าหน้าทีป่ รับมุมของเสารับสัญญาณ
และบีบสัญญาณให้ครอบคลุมไปหาอุปกรณ์รบั สัญญาณ หรืออุปกรณ์เครือข่ายไร้สาย ทาให้ได้การส่ง
สัญญาณมีระยะทางทีไ่ กลขึน้ เรียกว่า Beam-forming

2.2.4 เซลลูลาร์ (Cellular) 6


โทรศัพท์แบบเซลลูลาร์ (Cellular Telephony) จะทาการแบ่งพืน้ ทีท่ ส่ี ญ ั ญาณครอบคลุม
ออกเป็ นพืน้ ทีย่ อ่ ย เรียกว่าเซล (cell) และในแต่ละเซล (cell) จะมีอปุ กรณ์ควบคุมพืน้ ทีเ่ รียกว่าสถานี
ฐาน (Base station) โดยจะมีศนู ย์ควบคุมเรียกว่า เอ็มทีเอสโอ (Mobile Telephone Switch Office:
MTSO) ทาหน้าทีใ่ นการดูแลสถานีฐาน นอกจากนี้เอ็มทีเอสโอยังทาการเชือ่ มต่อเข้ากับ
ชุมสายโทรศัพท์ในพืน้ ทีต่ ่างๆ ทีใ่ ห้บริการโทรศัพท์พน้ื ฐาน แสดงดังรูปที่ 2.23

สถานีฐาน
Mobile Telephone Switch
Office (MTSO)

บริการโทรศัพท์พน้ื ฐาน

โทรศัพท์บา้ น 
รูปที่ 2.23 แสดงการส่งข้อมูลแบบเซลลูลาร์
ที่ มา: ดัดแปลงจาก Forouzan, Behrouz A, Datacommunications and networking, 2nd ed.
(Singapore: McGraw-Hill, 2002), p.209

ผศ.เจษฎา แก้ววิทย์
18 การสือ่ สารข้อมูลและเครือข่าย

2.2.5 ระบบโทรศัพท์แบบดิ จิทลั


เมื่อมีระบบโทรศัพท์แบบเซลลูลาร์ การใช้โทรศัพท์มอื ถือได้แพร่หลายอย่างรวดเร็ว และได้
พัฒนาเป็ นระบบโทรศัพท์เซลลูลาร์แบบดิจทิ ลั ในประเทศสหรัฐอเมริการะบบดิจทิ ลั มีหลายมาตรฐาน
เช่ น IS – 54 และ IS – 95 เป็ น ต้ น ส าห รั บ IS – 54 นั ้ น ใช้ แ บ น ด์ วิ ด ท์ ข องช่ อ งสั ญ ญ าณ
30 กิโลเฮิรตซ์ โดยในแต่ละช่องสัญญาณจะส่งข้อมูลได้ในอัตรา 48.6 กิโลบิตต่อวินาที ซึ่งรวมข้อมูล
เสียงของผูใ้ ช้ทอ่ี ตั ราส่งข้อมูล 13 กิโลบิตต่อวินาที จานวน 3 คนส่งไปพร้อมกัน และอัตราส่งข้อมูลที่
เหลือของช่องสัญญาณจะใช้ในการควบคุมและเป็ นสัญญาณนาฬิกา สาหรับระบบการทางานของเซลล์
สถานีฐาน และ เอ็มทีเอสโอ ของ IS – 54 จะนาข้อมูลเสียงและสัญญาณข้อมูล เข้ารหัสในรูปแบบของ
ดิจทิ ลั ก่อนส่งออกไปเป็ นคลื่นสัญญาณ
องค์กรสื่อสารของยุโรป กาหนดระบบโทรศัพ ท์เซลลูลาร์แบบดิจิทลั เพีย งระบบเดียว คือ
ระบบจีเอสเอ็ม (Global Systems for Mobile communications: GSM) ใช้ความถี่ 1,800 เมกะเฮิรตซ์
ระบบนี้แต่ละเซลล์จะมีช่อ งสัญญาณแบบฟู ลดูเฟล็กซ์ได้มากที่สุด 200 ช่อง แต่ละช่องมีแบนด์วดิ ท์
200 กิโลเฮิรตซ์ ซึง่ สามารถใช้สง่ ข้อมูลผูใ้ ช้ 8 คนพร้อมกัน7

สรุป
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หรืออินเทอร์เน็ตใช้สอ่ื ในการส่งข้อมูลทีใ่ ช้ตวั นา เช่น สายตีเกลียว
คูแ่ บบมีฉนวนและไม่มฉี นวนหุม้ สายแกนร่วม เคเบิลเส้นใยนาแสง และทีไ่ ม่ใช้ตวั นา หรือสือ่ สัญญาณ
ไร้ส าย เช่ น ระบบเครือ ข่ า ยคอมพิว เตอร์แ บบไร้ส าย คลื่น แม่ เหล็ ก ไฟฟ้ า สัญ ญาณไมโครเวฟ
ดาวเทียม และ เซลลูลาร์
แบบฝึ กหัด
1. สือ่ ทีใ่ ช้ในการติดต่อสือ่ สาร สามารถแบ่งได้เป็ น 2 ประเภทคืออะไร
2. สายตีเกลียวคูแ่ บบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวน (Unshielded Twisted Pair Cable: UTP) และสาย
ตีเกลียวคูแ่ บบป้ องกันสัญญาณรบกวน (Shielded Twisted-pair cable: STP) มีความแตกต่างกัน
อย่างไร จงอธิบาย
3. อีเอชเอฟ (Extremely High Frequency: EHF) เป็ นการแพร่สญ ั ญาณในลักษณะ ใด
4. เคเบิลเส้นใยนาแสงแบบมัลติโหมดแบ่งได้เป็ น 2 ประเภท คืออะไร จงอธิบายอย่างสังเขป
5. Light-Emitting Diode (LED) และ Injected Laser Diode (ILD) คือเครื่องมืออะไร
6. การแพร่กระจายของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าวีเอชเอฟ (Very High Frequency: VHF) เป็ นการแพร่
สัญญาณในลักษณะใด
7. ดาวเทียมค้างฟ้ า(Geosynchronous Satellite) เป็ นดาวเทียมทีม่ วี งโคจร ห่างจากพืน้ โลกเท่าใด
8. โครงรูปของเครือข่ายแลนไร้สาย แบ่งได้ 2 ประเภทคืออะไรบ้าง
9. มาตรฐานของเครือข่ายแลนไร้สาย IEEE802.11g มีอตั ราการส่งข้อมูลเท่าไร
10. โทรศัพท์แบบเซลลูลาร์ จะทาการแบ่งพืน้ ทีอ่ อกเป็ นพืน้ ทีย่ อ่ ย เรียกว่าอะไร

ผศ.เจษฎา แก้ววิทย์
การสือ่ สารข้อมูลและเครือข่าย 19

อ้างอิง
1
Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore: Thomson Learning,
2001), p.79-86.
2
Forouzan, Behrouz A, Datacommunications and networking, 2nd ed.(Singapore:
McGraw-Hill, 2002), p.202.
3
Ibid,207-208.
4
Elahi, Ata, Network Communications Technology.p.201-203.
5
cisco, สาระน่ ารู้เกี่ยวกับเครือข่ายไร้สาย. [Online].11 Dec 2008. Available from
http://www.cisco.com/web/TH/technology/wireless.html
6
Forouzan, Behrouz A, Datacommunications and networking, p.209.
7
พิพฒ ั ย์วณิชชากร, ระบบการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิ วเตอร์, (กรุงเทพฯ:
ั น์ หิรณ
ซีเอ็ดยูเคชัน,่ 2542), หน้า 64-65.

ผศ.เจษฎา แก้ววิทย์

You might also like