Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 22

๓๑

ตอนที่ ๔
การพัฒนานวัตกรรม

การดาเนินงานเพื่อพัฒนาส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษาโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ด้านการอบรมเชิงปฏิ บัติการพัฒนาอย่างเข้ม ตาแหน่งครูผู้ช่วยเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยใช้ชุด
กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเอง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖6
ได้นาเสนอเอกสารและองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องดังนี้
การพัฒนานวัตกรรม สาหรับชั้นเรียนของครูนักวิจัยที่ต้องใช้หรือพัฒนานวัตกรรมขึ้น
มาใช้ในการแก้ไขปัญหาผู้เรียนหรือการพัฒนาการเรียนการสอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งนวัตกรรมการเรียนรู้ที่เป็น
การปรับเปลี่ยนหรือพัฒนาตัวกระตุ้นหรือสื่อการเรียนรู้ และ/หรือการปรับเปลี่ยนหรือพัฒนากระบวนการ
เรียนรู้ของผู้เรียนที่สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ ไม่มีใครเคยทามาก่อน เพื่อทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ผ่านระบบประสาท
สัมผัส ระบบประสาทมอเตอร์ ระบบสมองเกี่ยวกับความจา ความรู้สึกและอารมณ์ ยังผลให้เกิดปัญญาและจิต
ปัญญาลุล่วงไปได้
ประเภทของการใช้นวัตกรรมการศึกษาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้มี
บทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรมการศึกษาไว้หลายมาตรามาตราที่สาคัญ คือ
มาตรา 67 รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาการผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งการ
ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้เกิดการใช้ที่คุ้มค่าและเหมาะสมกับ
กระบวนการเรี ยนรู้ ของคนไทยและในมาตรา 22 “การจัดการศึกษาต้องยึดหลั กว่าผู้ เรียนทุกคนมี
ความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตนเอง
ได้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม
ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ” การดาเนินการปฏิรูปการศึกษาให้สาเร็จได้ตามที่ระบุไว้ในพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 ดังกล่าวจาเป็นต้องทาการศึกษาวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาใหม่ ๆ ที่
จะเข้ามาช่ ว ยแก้ไขปั ญหาทางการศึกษาทั้ งในรูปแบบของการศึกษาวิจัย การทดลองและการประเมินผล
นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่นามาใช้ว่ามีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด นวัตกรรมที่นามาใช้ทั้งที่ผ่านมาแล้ว
และที่จะมีในอนาคตมีหลายประเภทขึ้นอยู่กับการประยุกต์ใช้นวัตกรรมในด้านต่ างๆ ในที่นี้จะขอกล่าวคือ
นวัตกรรม 5 ประเภท คือ (1) นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร (2) นวัตกรรมการเรียนการสอน(3) นวัตกรรมสื่อ
การสอน (4) นวัตกรรมการประเมินผล และ (5) นวัตกรรมการบริหารจัดการ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
1. นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร
นวัตกรรมทางด้านหลักสู ตร เป็ นการใช้วิธีการใหม่ๆ ในการพัฒนาหลักสู ตรให้ สอดคล้องกับ
สภาพแวดล้อมในท้องถิ่นและตอบสนองความต้องการสอนบุคคลให้มากขึ้น เนื่องจากหลักสูตรจะต้องมีการ
เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอเพื่อให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
และของโลก นอกจากนี้การพัฒนาหลักสูตรยังมีความจาเป็นที่จะต้องอยู่บนฐานของแนวคิดทฤษฎีและปรัชญา
ทางการจัดการสัมมนาอีกด้วย การพัฒนาหลักสูตรตามหลักการและวิธีการดังกล่าวต้องอาศัยแนวคิดและ
๓๒

วิธีการใหม่ๆ ที่เป็นนวัตกรรมการศึกษาเข้ามาช่วยเหลือจัดการให้เป็นไปในทิศทางที่ต้องการ นวัตกรรม


ทางด้านหลักสูตรในประเทศไทย ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรดังต่อไปนี้

1) หลักสูตรบูรณาการ เป็นการบูรณาการส่วนประกอบของหลักสูตรเข้าด้วยกันทางด้าน
วิทยาการในสาขาต่างๆ การศึกษาทางด้านจริยธรรมและสังคม โดยมุ่งให้ผู้เรียนเป็นคนดี สามารถใช้ประโยชน์
จากองค์ความรู้ในสาขาต่างๆ ให้สอดคล้องกับสภาพสังคมอย่างมีจริยธรรม
2) หลักสูตรรายบุคคล เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อการศึกษาตามอัตภาพ เพื่อ
ตอบสนองแนว ความคิดในการจัดการศึกษารายบุคคล ซึ่งจะต้องออกแบบระบบเพื่อรองรับความก้าวหน้าของ
เทคโนโลยีด้านต่างๆ
3) หลักสูตรกิจกรรมและประสบการณ์ เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้น กระบวนการในการจัด
กิจกรรมและประสบการณ์ให้กับผู้เรียนเพื่อนาไปสู่ความสาเร็จกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในบทเรียน
ประสบการณ์การเรียนรู้จากการสืบค้นด้วยตนเอง เป็นต้นการบริหารจัดการออกสู่ท้องถิ่น เพื่อให้สอดคล้องกับ
ศิลปวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและความเป็นอยู่ของประชาชนที่มีอยู่ในแต่ละท้องถิ่น แทนที่หลักสูตรในแบบเดิมที่
ใช้วิธีการรวมศูนย์การพัฒนาอยู่ในส่วนกลาง
2. นวัตกรรมการเรียนการสอน
เป็นการใช้วิธีระบบในการปรับปรุงและคิดค้นพัฒนาวิธีสอนแบบใหม่ๆ ที่สามารถตอบสนองการเรียน
รายบุคคล การจัดการเรียนรู้แบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม การเรียนรู้แบบแก้ปัญหา
การเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) การพัฒนาวิธีจัดการเรียนรู้จาเป็นต้องอาศัยวิธีการและเทคโนโลยีใหม่ๆ
เข้ามาจัดการและสนับสนุนการเรียนการสอน ตัวอย่างนวัตกรรมที่ใช้ในการเรียนการสอน ได้แก่ การสอนแบบ
โมดูล (Module Teaching) การสอนแบบกลุ่มสัมพันธ์ (Group Process Teaching) การสอนซ่อมเสริม
(Remedial Teaching) การสอนโดยเพื่อนสอนเพื่อน (Peers Teaching)การเรียนแบบศูนย์การเรียน
(Learning Center) การสอนแบบบูรณาการ(Integrative Techniques) การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
(Inquiry Method)การสอนโดยใช้ชุดการเรียนการสอน (Instructional Package) การสอนโดยให้ทางบ้าน
ดูแลการฝึกปฏิบัติ (Home Training) การจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning)
การเรียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต เป็นต้น
3. นวัตกรรมสื่อการสอน
เนื่ อ งจากมี ค วามก้ า วหน้ า ของเทคโนโลยี ค อมพิ ว เตอร์ ค อมพิ ว เตอร์ เ ครื อ ข่ า ยและเทคโนโลยี
โทรคมนาคม ทาให้นักการศึกษาพยายามนาศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่านี้มาใช้ในการผลิตสื่อการเรียนการ
สอน
การเลือกประเภทของการวิจัยในชั้นเรียน ครูสามารถนาประเภทของการวิจัย (Research Type)มา
ใช้ในชั้นเรียนได้หลากหลายแบบตามเป้าหมายของการค้นหาคาตอบเกี่ยวกับตัวแปรต่างๆ ของผู้เรียนเพื่อ
นามาใช้บรรยาย อธิบาย ทานายและควบคุม ซึ่งแต่ละประเภทมีลักษณะสาคัญร่วมกันคือ มีระเบียบวิธีการที่
เป็นขั้นตอน กระบวนการที่ทาอย่างเป็นระบบ ทาอย่างต่อเนื่อง ตรวจสอบยืนยันผลได้ มีความน่าเชื่อถือ หรือ
ที่เรียกว่าใช้ “วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)”ครูผู้สอนสามารถเลือกทาวิจัยได้ในทุกประเภท
ตามความสงสัยใคร่รู้ในสถานการณ์ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน เพราะความรู้ที่ผ่านกระบวนการวิจัยของ
แต่ละรูปแบบล้วนแต่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้ไม่มากก็น้อย ถ้าหากเลือก
ประเภทของการวิจัยที่จะทาให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียนแล้วนั้น ครูควรเลือกทา “การวิจัยเชิงปฏิบัติการ”
๓๓

หรือที่เรียกว่า การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน (ClassroomAction Research-CAR) เพราะเป็นการวิจัยที่


มุ่งปรับปรุงแก้ไข พัฒนาผู้เรียนโดยตรง

ขั้นตอนในการสร้างนวัตกรรม
ความหมายของนวัตกรรม นวัตกรรม หมายถึง สิ่งแปลกใหม่ ที่สร้างขึ้นมาแล้วผู้เรียนชอบหรือเกิด
การเรียนรู้ วัสดุ อุปกรณ์ วิธีการ แนวคิดสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ นามาใช้แก้ไขปัญหาและพัฒนา
นวัตกรรมที่ใช้ในการวิจัยในชั้นเรียน คือ รูปแบบใหม่ๆ เทคนิควิธีการ กิจกรรมที่ผู้สอนนามาใช้กับ
นักเรียนเพื่อให้การเรียนการสอนมีคุณภาพ
ลักษณะนวัตกรรมที่เหมาะสม
๑) สามารถแก้ปัญหา หรือพัฒนาการเรียนการสอนได้ตรงตามจุดประสงค์
2) ใช้ง่าย สะกวด คุ้มค่า ประหยัด ดูแลรักษาง่าย
ขั้นตอนการสร้างนวัตกรรม
๑) ขั้นที่ กาหนดสิ่งที่จะพัฒนา
๒) ขั้นที่ 2 กาหนดนวัตกรรม
๓) ขั้นที่ 3 สร้างและพัฒนานวัตกรรม
๔) ขั้นที่ ๔ ทดลองใช้
5) ขั้นที่ ๕ ใช้ในสถานการณ์จริง
6) ขั้นที่ ๖ ประเมินผลการใช้
นวัตกรรม จาแนกได้ ดังนี้
๑) แบบฝึก ชุดฝึก ชุดการสอน บทเรียนโมดูล คอมพิวเตอร์ช่วยสอน วีดิทัศน์ เกม นิทาน สื่อประสม
เทคนิค วิธีการ

การออกแบบ และรูปแบบการวิจัยในชั้นเรียน
4. การกาหนดตัวอย่าง (Sampling Design)ครูนักวิจัยต้องกาหนดตัวอย่างในการวิจัยให้ชัดเจน
โดยยึดหลักการกลุ่มตัวอย่างต้องเป็นตัวแทนที่ดีของประชากร หรือต้องเป็นผู้ให้ข้อมูลสาคัญ
หรือเป็นกลุ่มเป้าหมายของการพัฒนา การใช้ “กลุ่มตัวอย่าง” หรือ“กลุ่มเป้าหมาย” ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์
ของการวิจัย ถ้าเป็นงานวิจัยเชิงวิชาการที่ต้องการผลวิจัยอ้างอิ งจากกลุ่มตัวอย่าง ตามขั้น ตอนการกาหนด
ขนาดตัวอย่าง (Sample Size) และวิธีการได้มา (Sampling)
สาหรับวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
1. บอกจานวนประชากรทั้งหมด เป็นกลุ่มที่สามารถนาผลการวิจัยไปสรุปอ้างอิง (inference) หรือ
เป็นกลุ่มที่สามารถนาผลการวิจัยไปใช้
2. บอกจานวนตัวอย่าง (sample size) อาจเป็นการคานวณจากสูตร เปิดตารางสาเร็จรูป หรือใช้
โปรแกรมการคานวณตัวอย่าง เช่น G*Powerเป็นต้น
3. บอกวิธีการได้ตัวอย่างมา (sampling) มี 2 แบบ คือ (1) แบบใช้ความน่าจะเป็น เรียกว่า การสุ่ม
(random) และ (2) แบบไม่ใช้ความน่าจะเป็นเรียกว่า การเลือก (selection)
สาหรับวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)เขียนถึงเกณฑ์การคัดเลือก ผู้ให้ข้อมูลสาคัญ
(Key informant)ผู้เข้าร่วมการวิจัย (Participants) เพราะจะเป็นผู้ให้ข้อมูลสาคัญและตรงกับวัตถุประสงค์ของ
การวิจัยมากที่สุด
๓๔

ประเภทของการสุ่ม (ใช้ความน่าจะเป็น/มีวัตถุประสงค์เพื่อนาผลการวิจัยไปอนุมานถึงประชากร)
1. การสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เป็นวิธีที่ประชากรแต่ละหน่วยมี
โอกาสถูกสุ่มมาเป็นกลุ่มตัวอย่างเท่าๆ กัน ประชากร
สาหรับงานวิจัยชั้นเรียน ที่ครูนักวิจัยมีเป้าหมายของการพัฒนาชัดเจน ประเด็นวิจัยอาจ
เกี่ยวข้องกับการพัฒนานักเรียนทั้งห้อง หรือบางคนหรือเพียงคนเดียว จึงไม่นิยมศึกษากับกลุ่มตัวอย่างที่ได้จาก
การสุ่ม เนื่องจาก
เป็นงานวิจัยที่เน้นการพัฒนาผู้เรียนขณะที่ทาวิจัย ดังนั้นนักเรียนที่นามาใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนที่เป็น
“กลุ่มเป้าหมาย” ของการพัฒนา

ตัวอย่างการเขียน กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1จานวน 15 คน


ประจาปีการศึกษา 2564 ที่ขาดทักษะการสะกดคา และมีปัญหาด้านการอ่าน
หากใช้รูปแบบการวิจัยที่จาเป็นต้องใช้กลุ่มตัวอย่างในการทดลอง เช่น การวิจัยและพัฒนา
ในขั้นตอนของการสุ่มตัวอย่างมาเพื่อทดลองใช้นวัตกรรม ครูนักวิจัยจะต้องแสดงวิธีการสุ่มตัวอย่าง ได้แก่
การกาหนดขนาดตัวอย่างและวิธีการได้มาซึ่งตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยถ้าเป็นการวิจัยที่ใช้รูปแบบการวิจัยเชิง
ทดลอง ควรอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับการวางแผนการทดลอง กระบวนการทดลอง การจัดกลุ่มทดลอง
เพื่อให้กลุ่มเทียมกันก่อนการทดลอง
การเก็บรวบรวมข้อมูลของการวิจัยชั้นเรียน
การเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นอีกขั้นตอนหนึ่งซึ่งมีความสาคัญในการวิจัย เพราะถ้าเก็บข้อมูลได้ถูกต้อง
สมบูรณ์จะทาให้ผลการวิจัยมีความถูกต้องและมีความน่าเชื่อถือได้มากเช่นกัน ซึ่งแนวทางการเก็บรวบรวม
ข้อมูลมีดังต่อไปนี้
1. บันทึกการทางาน (Field Note) เป็นการเขียนบันทึกสิ่งต่างๆที่พบเห็นขณะจัดการเรียนการสอน
ตามที่กาหนดไว้ในแผนการวิจัย บันทึกนี้เป็นหลักฐานที่ดีกว่าและชัดเจนกว่าการจาในสมอง
2. บันทึกเหตุการณ์ (Logs) เป็นการเขียนบันทึกเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นตามลาดับก่อนหลังอย่าง
เป็นระบบ
3. บันทึกความเห็น (Journals) เมื่อคุณครูได้พูดคุยกับเพื่อนครูหรือผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆก็สามารถ
เขียนสรุปความคิดเห็นนั้นไว้ได้เช่นกัน
4. บันทึกประจาวัน (Diaries) เป็นการเขียนบันทึกความคิดเห็นของตนเองต่องานที่ทาว่าเป็น
อย่างไร คุณครูควรบันทึกประจาวันให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้
5. การบอกเล่า (Verbal Report) หรือการรายงานด้วยการพูดเป็นกระบวนการคิดที่มีเสียงดัง
(Think around) คือ เมื่อคุณครูขอให้ใครสักคนทาในบางสิ่งบางอย่าง คุณครูก็จะเล่าสิ่งนั้นให้เขาฟัง การทา
อย่างนี้จะทาให้คุณครูเองและผู้ที่ฟังระมัดระวังตัวมากขึ้น ทั้งในการอธิบายหรือให้ข้อเสนอแนะ นั่นหมายถึง
ต้องคิดอย่างรอบคอบก่อนพูดออกมานั่นเองเมื่อได้มีการบอกเล่าแล้วคุณครูก็อาจนาไปบันทึกความเห็นหรือ
บันทึกประจาวันด้วยก็ได้
6. การสังเกตการสอน (Observation) คุณครูสามารถทาได้ตลอดเวลา แต่ต้องทาอย่างรัดกุม
ชัดเจน ควรระบุให้ชัดว่าต้องชัดเจน เพราะนักเรียนจะเบื่อ คาถามง่ายๆสั้นๆ เพียง 1-2 คาถาม อาจได้ข้อมูล
จากนักเรียนมากมาย
๓๕

8. การสัมภาษณ์ (Interview) อาจเป็นเรื่องง่ายที่สุดในการเก็บข้อมูลก็ได้ ไม่ต้องเป็นทางการมาก


แต่จะเป็นการดีหากคุณครูมีการเตรียมคาถามไว้ล่วงหน้า วิธีการคือ คุณครูอาจใช้เวลาสัก 10 นาทีพูดคุยกับ
นักเรียนกลุ่มเล็กๆเกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลงที่ครูทาขึ้นในชั้นเรียน
9. กรณีศึกษา (Case Studies) เป็นการดูนักเรียนเป็นรายบุคคลค้นหาศักยภาพที่นักเรียนมี หรือ
ค้นหาวิธีการแก้ปัญหาหรือพัฒนาให้นักเรียนได้รับการพัฒนาตามศักยภาพมากที่สุด
การตรวจสอบคุณภาพข้อมูล
สาหรับข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative data) เช่น ผลจากการสังเกตสัมภาษณ์ เอกสารหลักฐาน
ต่างๆ ครูนักวิจัยควรใช้วิธีการตรวจสอบแบบสามเส้า (Triangulation) เพื่อยืนยันความถูกต้องของข้อมูลที่เก็บ
รวบรวมมาและเพิ่มความน่าเชื่อถือก่อนที่จะนาไปสู่การสรุปผลการวิจัย การตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า
(triangulation) มีวิธีการตรวจสอบ 4 วิธีหลัก ดังนี้ (สุภางค์ จันทวานิช, 2553)
1. การตรวจสอบสามเส้าด้านข้อมูล (data triangulation)เป็นการพิสูจน์ว่าแหล่งข้อมูลที่ครู
นักวิจัยได้มานั้นถูกต้องหรือไม่ แหล่งที่จะพิจารณาในการตรวจสอบ ได้แก่ แหล่งเวลา ถ้าข้อมูลต่างเวลากันจะ
เหมือนกันหรือไม่ แหล่งสถานที่ ถ้าข้อมูลต่างสถานที่กันจะเหมือนกันหรือไม่ แหล่งบุคคลถ้าบุคคลผู้ให้ข้อมูล
เปลี่ยนไปข้อมูลจะเหมือนเดิมหรือไม่
2. การตรวจสอบสามเส้าด้านผู้วิจัย (investigator triangulation)เป็นการตรวจสอบว่า ผู้วิจัยแต่
ละคนจะได้ข้อมูลแตกต่างกันอย่างไรโดยเปลี่ยนตัวผู้สังเกต แทนที่จะใช้ผู้วิจัยคนเดียวกันสังเกตโดยตลอด
ในกรณีที่ไม่แน่ใจในคุณภาพของผู้รวบรวมข้อมูลภาคสนาม ควรเปลี่ยนให้มีผู้วิจัยหลายคน
3. การตรวจสอบสามเส้าด้านทฤษฎี (theory triangulation)เป็นการตรวจสอบว่า ถ้าผู้วิจัยใช้
แนวคิดทฤษฎีที่ต่างไปจากเดิมจะทาให้การตีความข้อมูลแตกต่างกันมากน้อยเพียงใด อาจทาได้ง่ายกว่าใน
ระดับสมมติฐานชั่วคราว (Working hypothesis) และแนวคิดขณะที่ลงมือตีความสร้างข้อสรุปเหตุการณ์แต่ละ
เหตุการณ์ ปกตินักวิจัยจะตรวจสอบสามเส้าด้านทฤษฎีได้ยากกว่าตรวจสอบด้านอื่น
ขั้นตอนที่ 7 การเลือกวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
สิ่งสาคัญที่ต้องพิจารณาคือ ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมานั้นเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ (ตัวเลข) หรือข้อมูล เชิงคุณภาพ
(คาสัมภาษณ์ ผลการสังเกต)เมื่อแยกได้แล้วก็ดาเนินการวิเคราะห์เพื่อตอบวัตถุประสงค์ของการวิจัย หรือ
รายงานผลแต่ละส่วนของการพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องกับลักษณะข้อมูล

สถิติที่ใช้สาหรับข้อมูลเชิงปริมาณ
กลุ่มที่ 1 สถิติบรรยาย (Descriptive Statistics) เช่น ค่าเฉลี่ยความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความถี่ ร้อย
ละ สถิติวัดความสัมพันธ์ เป็นสถิติพื้นฐานที่ต้องใช้กับการวิจัยเกือบทุกเรื่อง
กลุ่มที่ 2 สถิติอ้างอิง (Inferential Statistics) หรือสถิติอนุมานเป็นสถิติที่ใช้สรุปค่าสถิติไปยัง
ค่าพารามิเตอร์ ใช้ในกรณีทาการวิจัยกับกลุ่มตัวอย่าง โดยมากจะใช้ในการทดสอบสมมุติฐานที่นักวิจัยตั้งไว้
(HypothesisTesting) หรือ การทดสอบความมีนัยสาคัญทางสถิติ (Test of Significance)
หลักการเลือกสถิติให้เหมาะสม
1. วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อบรรยายข้อมูล (กรณีทากับประชากรทั้งหมดใช้สถิติบรรยาย) หรือ
สรุปอ้างอิงจากกลุ่มตัวอย่างไปยังค่าประชากร(กรณีทาการวิจัยกับกลุ่มตัวอย่างต้องใช้สถิติบรรยายและสถิติ
อ้างอิง)
2. จานวนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้มีกี่กลุ่ม
3. ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาอยู่ในระดับใด นามบัญญัติ เรียงอันดับอันตรภาค อัตราส่วน
๓๖

4. ตัวแปรที่ใช้มีกี่ตัวแปร
การนาเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ
ครูนักวิจัยควรนาเสนอข้อมูลให้น่าสนใจและมีความหมายตัวอย่างเช่น
1. การนาเสนอพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนโดยใช้กราฟแสดง

การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
โดยธรรมชาติลักษณะของข้อมูลเชิงคุณภาพที่วิเคราะห์แล้วจะอยู่ในลักษณะคาบรรยาย จากข้อมูลที่ครู
รวบรวมมาในรูปของคาบอกเล่าการสัมภาษณ์ บันทึกจากการสังเกตของครู หรือบันทึกของผู้เรียน เป็นต้น
แนวทางเบื้องต้นที่ครูนักวิจัยควรเข้าใจในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ

1. การใช้ข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นข้อมูลประกอบในงานวิจัย ของครูโดยปกติจะเป็นการนาข้อมูลที่ครู
เก็บรวบรวมได้มาใช้เสริม และยืนยันข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูลกระทาได้ไม่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก ทั้งนี้ครู
อาจจะเลือกข้อมูล ในส่วนที่เกี่ยวข้องมาบรรยาย ซึ่งอาจจะใช้คาพูด (quotes) ของผู้เรียน หรือผู้ให้ข้อมูลจาก
แหล่งข้อมูลอื่นๆ มาเสริมการบรรยายผลการวิจัยของครูเพิ่มก็ได้
2. การใช้ข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นข้อมูลหลักในการวิจัยของครู ในกรณีนี้มีลักษณะของการวิเคราะห์
ที่ยุ่งยากซับซ้อนกว่ากรณีแรกซึ่งนักวิชาการด้านการวิจัยคุณภาพได้แบ่งระดับของการวิเคราะห์ออกเป็น
3 ระดับคือ
2.1 การวิเคราะห์เชิงบรรยาย ระดับนี้เป็นการวิเคราะห์เบื้องต้นเพื่อนาเสนอข้อมูล
รายละเอียดตามข้อเท็จจริง ประกอบกับการตีความของครูที่ทาวิจัย โดยมีการนาคาพูดของผู้ให้ข้อมูลจาก
แหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องมาเขียนประกอบ
2.2 การวิเคราะห์ความเชื่อมโยง ระดับนี้เป็นการหารูปแบบความเชื่อมโยงในข้อมูล เพื่อใช้
ในการอธิบายข้อค้นพบที่ลึกซึ้งมากขึ้น
2.3 การสร้างทฤษฎีจากข้อมูล ระดับนี้เป็นการวิเคราะห์ขั้นสูงเพื่อให้ได้ข้อสรุปเชิงทฤษฎี
จากรูปแบบของความเชื่อมโยงต่างๆ จากข้อ (2)ซึ่งทฤษฎีที่ได้เรียกว่า ทฤษฎีจากฐานราก (grounded
theory)
๓๗

ตัวอย่างการวิเคราะห์ผลการวิจัยในชั้นเรียน
การศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะ การอ่านและการเขียน เรื่อง มาตราตัวสะกด กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งผู้วิจัยได้นาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตามลาดับดังนี้
1. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
2. ลาดับขั้นในการวิเคราะห์ข้อมูล
3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ลาดับขั้นในการวิเคราะห์ข้อมูล
ตอนที่ 1 วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของ แบบฝึกเสริมทักษะ การอ่านและการเขียน เรื่อง มาตรา
ตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ตามเกณฑ์ 80/80
ตอนที่ 2 วิเคราะห์ค่าดัชนีประสิทธิผลของการเรียนรู้ด้วย แบบฝึกเสริมทักษะ การอ่านและการเขียน
เรื่อง มาตราตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
ตอนที่ 3 การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึกเสริมทักษะ
การอ่านและการเขียน เรื่อง มาตราตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
ตอนที่ 4 วิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อการเรียนรู้ด้วย แบบฝึกเสริมทักษะ การอ่าน
และการเขียน เรื่อง มาตราตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ตอนที่ 1 วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของ แบบฝึกเสริมทักษะ การอ่านและการเขียน เรื่อง มาตรา
ตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ตามเกณฑ์ 80/80 ในการวิเคราะห์
ประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะ การอ่านและการเขียน เรื่อง มาตราตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในครั้งนีผ้ ลปรากฏดังตาราง 5 - 7
ผลการทดลองเพื่อหาประสิทธิภาพของ แบบฝึกเสริมทักษะ การอ่านและการเขียน เรื่อง มาตรา
ตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จากการทดลองภาคสนาม เพื่อหา
ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) และประสิทธิภาพของผลลัพธ์หลังเรียน (E2) แสดงไว้ในตารางต่อไปนี้
๓๘

ตารางที่ 1 แสดงผลการหาประสิทธิภาพของ แบบฝึกเสริมทักษะ การอ่านและการเขียน เรื่อง


มาตราตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 (n = 16)
แบบฝึกเสริมทักษะชุด คะแนนเฉลี่ย
คะแนนเต็ม เฉลี่ย S.D.
ที่ ร้อยละ
1 35 29.31 1.40 83.75
2 35 29.38 1.67 83.93
3 35 29.25 1.81 83.57
4 35 29.06 1.48 83.04
5 35 29.50 1.51 84.29
6 35 29.19 1.17 83.39
7 35 29.38 1.67 83.93
8 35 29.69 1.70 84.82
9 35 29.25 1.18 83.57
รวม 315 264.01 13.59 754.29
เฉลี่ย - 29.33 1.51 83.81
ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) เท่ากับ 83.81
จากตาราง 1 พบว่า นักเรียนได้คะแนนจากการปฏิบัติกิจกรรมจาก แบบฝึกเสริมทักษะ การอ่าน
และการเขียน เรื่อง มาตราตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งได้คะแนน
เฉลี่ยเท่ากับ 29.33 จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 83.81 แสดงว่าประสิทธิภาพ
กระบวนการ (E1) เท่ากับ 83.81
๓๙

ตารางที่ 2 จานวนนักเรียนที่ได้คะแนนจากการทาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
ด้วยแบบฝึกเสริมทักษะ การอ่านและการเขียน เรื่อง มาตราตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
คะแนนก่อนเรียน คะแนนหลังเรียน
นักเรียนคนที่
(30 คะแนน) (30 คะแนน)
1 16 24
2 17 23
3 18 25
4 17 26
5 15 27
6 18 25
7 16 26
8 18 25
9 16 23
10 17 25
11 19 24
12 16 23
13 17 24
14 16 23
15 18 24
16 17 25
รวม 271 392
เฉลี่ย 16.94 24.50
ร้อยละ 56.46 81.67
S.D. 1.06 1.21
ร้อยละของประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) เท่ากับ 81.67
๔๐

ตารางที่ 2 ดัชนีประสิทธิผลของนักเรียนที่เรียนด้วย แบบฝึกเสริมทักษะ การอ่านและการเขียน เรื่อง มาตรา


ตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
กลุม่ คะแนนรวม ร้อยละ
N คะแนนเต็ม E.I.
ตัวอย่าง ก่อนเรียน หลังเรียน ก่อนเรียน หลังเรียน
กลุ่มทดลอง 16 30 271 392 56.46 81.67 0.5789

จากตาราง 3 ดัชนีประสิทธิผลของการเรียนรู้ด้วย แบบฝึกเสริมทักษะ การอ่านและ การเขียน


เรื่อง มาตราตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีค่า 0.5789 แสดงว่า
ผู้เรียน มีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 57.89

ตอนที่ 3 การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนรู้ด้วยแบบฝึกเสริม
ทักษะ การอ่านและการเขียน เรื่อง มาตราตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ก่อน
เรียนและหลังเรียน

ตารางที่ 4 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1


จานวน 16 คน
กลุม่
การทดสอบ X S.D D  D2 t
ตัวอย่าง
ก่อนเรียน 16 16.94 1.06
121 957 32.71*
หลังเรียน 16 24.50 1.21
* มีนัยสาคัญทางสถิติ .05 ,df (N-1) = 1.6972
จากตารางที่ 4 พบว่านักเรียนที่เรียนด้วย แบบฝึกเสริมทักษะ การอ่านและการเขียน เรื่อง มาตรา
ตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีค่าเฉลี่ยคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
หลังเรียนสูงกว่าค่าคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
๔๑

ตอนที่ 4 วิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้ด้วย แบบฝึกเสริมทักษะ การอ่านและ


การเขียน เรื่อง มาตราตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

ตารางที่ 5 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีการเรียนรู้ด้วย แบบฝึกเสริมทักษะ


การอ่านและการเขียน เรื่อง มาตราตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
จานวนนักเรียนที่มีระดับความพึงพอใจ
หัวข้อ
5 4 3 2 1 X S.D แปลผล
1. นักเรียนชอบเนื้อหาที่เรียนเป็นเรื่อง
ที่น่าสนใจ 12 4 - - - 4.90 0.50 มากที่สุด
2. นักเรียนพอใจในความรู้ที่ได้รับสามารถ
นาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ 16 - - - - 5.00 1.00 มากที่สุด
3. การเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ
ช่วยให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหามากขึ้น 11 5 - - - 4.86 0.43 มากที่สุด
4. นักเรียนพอใจในการมีบทบาท
การเรียนรู้เกี่ยวกับมาตราตัวสะกด 16 - - - - 5.00 1.00 มากที่สุด
5. นักเรียนรู้สึกภูมิใจในตนเองในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ 12 4 - - - 4.90 0.51 มากที่สุด
6. นักเรียนยินดีเสมอเมื่อได้รับมอบหมาย
ให้ศึกษาร่วมกับเพื่อน 16 - - - - 5.00 1.00 มากที่สุด
7. นักเรียนชอบสื่อมีความหลากหลาย
ทาให้มีความรู้ 16 - - - - 5.00 1.00 มากที่สุด
8. นักเรียนชอบการใช้สื่อประกอบกิจกรรม
การเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ ทาให้
เข้าใจบทเรียนยิ่งขึ้น 16 - - - - 5.00 1.00 มากที่สุด
9. นักเรียนชอบที่ได้มีโอกาสทราบคะแนน
ของผลงานที่ทา 16 - - - - 5.00 1.00 มากที่สุด
10. นักเรียนรู้สึกพึงพอใจในการเรียนรู้
โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ 11 5 - - - 4.86 0.50 มากที่สุด
รวม 4.95 0.52 มากที่สุด
จากตารางที่ 5 พบว่านักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีความพึงพอใจต่อการเรียนรู้ ด้วยแบบฝึก
เสริมทักษะ การอ่านและการเขียน เรื่อง มาตราตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่
1 อยู่ในระดับ มากที่สุด ( X = 4.95) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ข้อที่
2,4,6,7,8,9 ดังนี้ ข้อ 2 นักเรียนพอใจในความรู้ที่ได้รับ สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ
5.00) ข้อ 4 นักเรียนพอใจในการมีบทบาทการเรียนรู้เกี่ยวกับมาตราตัวสะกด (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5.00) ข้อ 6
นักเรียนยินดีเสมอเมื่อได้รับมอบหมายให้ศึกษาร่วมกับเพื่อน ข้อ 7 นักเรียนชอบสื่อมีความหลากหลาย ทาให้มี
ความรู้ (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5.00) ข้อ 8 นักเรียนชอบการใช้สื่อประกอบกิจกรรมการเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริม
ทักษะ เรียนรู้ทาให้เข้าใจบทเรียนยิ่งขึ้น(ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5.00) ข้อ 9 นักเรียนชอบที่ได้มีโอกาสทราบคะแนน
๔๒

ของผลงานที่ทา (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5.00) ตามลาดับส่วนข้อที่มีความ พึงพอใจอยู่ในระดับรองลงมาได้แก่ ข้อ 1


นักเรียนชอบเนื้อหาที่เรียนเป็นเรื่อง ที่น่าสนใจ(4.90) ข้อ 5 นักเรียนรู้สึกภูมิใจในตนเองในการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ (4.90) ข้อ 3 การเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ ช่วยให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหามากขึ้น ข้อ 10
นักเรียนรู้สึกพึงพอใจในการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ (4.86) ตามลาดับ
๔๓

ตัวอย่างนวัตกรรม

แบบทดสอบก่อนเรียน

คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบข้อที่ถกู ที่สดุ เพียงคาตอบเดียว

1. ข้อใดคือความหมายของ “สัตว์” 4. รูปภาพนี้ คือสัตว์ทก่ี นิ อะไรเป็ นอาหาร


ก. สิง่ มีชวี ติ ทีต่ อ้ งกินอาหาร
หายใจ ขับถ่าย เพือ่ ให้รา่ งกายมีการ
เจริญเติบโต
ข. สิง่ มีชวี ติ ทีอ่ ยูต่ ามธรรมชาติ
สามารถสร้างอาหารได้เอง
ก. กินพืชเป็ นอาหาร
ค. สิง่ มีชวี ติ ทีอ่ ยูร่ ว่ มกับมนุษย์
ข. กินเนื้อสัตว์เป็นอาหาร
และมนุษย์เป็ นผูด้ แู ล
ค. กินพืชและเนื้อสัตว์เป็ นอาหาร
ง. ถูกทุกข้อ
ง. ไม่มขี อ้ ถูก
2. ข้อใดคือสัตว์ทก่ี นิ พืชเป็ นอาหาร
5. สัตว์กลุม่ ใดคือสัตว์บก
ก. ช้าง เสือ ลิง
ก. กุง้ ไก่ เป็ ด
ข. ม้า สุนขั ไก่
ข. ปู ปลา หอย
ค. ช้าง วัว ควาย
ค. นก ปลา แมลง
ง. สิงโต งู จิง้ จก
ง. ช้าง เสือ ลิง
3. ข้อใดคือกลุม่ สัตว์เลีย้ ง
6. การสืบพันธุแ์ บบอาศัยเพศจะเกิดขึน้
ก. เสือ ลิง
เมือ่ ใด
ข. สุนขั แมว
ก. เมือ่ สัตว์เจริญเติบโตเต็มที่
ค. ปลาทอง แมลง
ข. เมือ่ สัตว์เริม่ หาอาหารเอง
ง. สิงโต จิง้ จก
ค. เมือ่ สัตว์ยา้ ยทีอ่ ยูใ่ หม่
ง. เมือ่ ถึงฤดูหนาว
๔๔

7. การปฏิสนธิ คือกระบวนการใด 9. สัตว์ในข้อใดมีการปฏิสนธิภายในและ


ก. การสร้างอสุจใิ นสัตว์เพศผู้ ออกลูกเป็ นตัว
ข. การสร้างไข่ในสัตว์เพศเมีย ก. เต่า
ค. การทีอ่ สุจเิ ข้าไปผสมกับไข่ ข. ม้าน้ า
ง. การเจริญเติบโตของตัวอ่อน ค. โลมา
8. สัตว์ในข้อใดออกลูกแตกต่าง ง. ปลาหางนกยูง
จากพวก 10. สัตว์ขอ้ ใดมีการปฏิสนธิภายใน
ก. วัว ก. กบ
ข. จระเข้ ข. หมู
ค. แมว ค. เขียด
ง. ปลาสอด ง. ปลากัด
๔๕

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

ข้อ เฉลย
1 ก
2 ค
3 ข
4 ก
5 ง
6 ก
7 ค
8 ข
9 ค
10 ข
ใบความรู้ที่ 1
๔๖

คาชี้แจง ศึกษาข้อความต่อไปนี้ แล้วปฏิบตั ิ กิจกรรม

สัตว์
สัตว์ คือ สิง่ มีชวี ติ อีกกลุม่ หนึ่ง ซึง่ มีการกินอาหาร หายใจ ขับถ่าย
เพือ่ ให้รา่ งกายมีการเจริญเติบโต สามารถเคลือ่ นทีไ่ ด้ มีการตอบสนอง
ต่อสิง่ แวดล้อม และสามารถสืบพันธุเ์ พือ่ ขยายพันธุม์ ลี กู หลานเพือ่
การดารงพันธุ์ ทีอ่ ยูข่ องสัตว์มที ุกหนทุกแห่งในโลก เช่น ตามแหล่งน้ ามีปู ปลา กุง้
หอย

ตามปา่ ทึบมี เสือ ช้าง ลิง บริเวณเขตหนาวทีข่ วั ้ โลกมี หมีขาว แมวน้ า นก


เพนกวิน บริเวณทุง่ หญ้ามี วัว ม้า แพะ แกะ รวมทัง้ มีอยู่ตามบริเวณบ้านเรือน ใน
ดิน บนต้นไม้ แม้แต่ทต่ี วั คนและสัตว์ดว้ ยกันก็มสี ตั ว์บางชนิดอาศัยอยู่
๔๗

โครงสร้างของสัตว์มสี ว่ นประกอบทีเ่ ล็กทีส่ ดุ เรียกว่า เซลล์ (Cell)


ซึง่ เซลล์ของสัตว์ไม่มคี ลอโรพลาสต์ จึงสร้างอาหารเองไม่ได้เหมือนพืช
และเซลล์ของสัตว์ไม่มผี นังเซลล์

เซลล์พืช
๔๘

คาชี้แจง ให้นักเรียนดูรปู ภาพสัตว์แต่ละชนิดแล้วเขียนว่าสัตว์นัน้


กินอาหารอะไร

กินพืชเป็ นอาหาร กินเนื้ อสัตว์เป็ นอาหาร


กินทัง้ พืชและเนื้ อสัตว์เป็ นอาหาร

 

 
๔๙

เฉลยกิจกรรมที่ 1

 กินพืชเป็นอาหาร  กินพืชเป็ นอาหาร

 กินเนื้อสัตว์เป็ นอาหาร  กินทัง้ พืช และเนื้อสัตว์


เป็ นอาหาร
๕๐

ใบความรู้ที่ 2

คาชี้แจง ศึกษาข้อความต่อไปนี้ แล้วปฏิบตั ิ กิจกรรม

การดารงชีวิตของสัตว์
สัตว์ทุกชนิดต้องการปจั จัยในการดารงชีวติ คือ ต้องการอาหาร น้า อากาศ
เพือ่ ให้มกี ารเจริญเติบโต สัตว์แต่ละชนิดกินอาหารแตกต่างกันไป ดังนี้

ช้างสัตว์ขนาดใหญ่ทก่ี นิ พืชเป็นอาหาร
- สัตว์ทก่ี นิ พืชเป็นอาหาร ได้แก่ ช้าง ม้า วัว ควาย ลิง เต่า ยีราฟ แพะ แกะ
กระต่าย

เสือ สัตว์นกั ล่า


ทีก่ นิ เนื้อสัตว์เป็ นอาหาร
๕๑

กิจกรรมที่ 2

คาชี้แจง ให้นักเรียนดูรปู ภาพสัตว์แต่ละชนิด แล้วเขียนว่าสัตว์นัน้


คือสัตว์บก หรือสัตว์น้า

 

 

 
๕๒

เฉลยกิจกรรมที่ 2

 สัตว์บก  สัตว์น้ า

 สัตว์น้ า  สัตว์บก

 สัตว์บก  สัตว์น้ า

You might also like