Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 17

บทที่ 1

หนวย ขนาด และมาตรฐาน


ความเปนมาของระบบหนวย
• ป ค.ศ. 1790 ฝรั่งเศสสนับสนุนใหจัดตั้งระบบเมตริกขึ้น ไดแก น้ําหนัก
ความยาว มวล เวลา อุณหภูมิ
• ป ค.ศ. 1875 17 ประเทศไดกําหนดใหระบบเมตริกเปนมาตรฐานขึ้น
ตอมาอังกฤษไดพัฒนาระบบหนวยวัดปริมาณทางไฟฟา และฟสิกส
เรียกวา ระบบ CGS เชน เซนติเมตร กรัม วินาที
• ป ค.ศ. 1935 ไดพัฒนาระบบ CGS ใหม เปน เมตร กิโลกรัม วินาที
แอมแปร
• ป ค.ศ. 1960 ทุกประเทศทั่วโลกตกลงใชระบบมาตรฐานใหม เรียกวา
ระบบ เอส ไอ (SI : System International) เมตร กิโลกรัม วินาที เปน
ตน
ระบบ SI
ระบบ SI แบงออกเปน 3 กลุม คือ หนวยวัดทาง
ไฟฟา อุณหภูมิ และทางกล โดยประกอบดวย
หนวยพื้นฐาน 9 หนวย
ระบบ SI
ปริมาณ หนวย สัญลักษณ
ความยาว เมตร m
มวล กิโลกรัม kg
เวลา วินาที S
กระแส แอมปแปร A
อุณหภูมิ เคลวิน K
จํานวนสาร โมล mol
ความเขมแสง แคนเดลา cd
มุมระนาบ เรเดียน rad
มุมตน สเตอเรเดียน sr
หนวยที่เกี่ยวของกับไฟฟา
ปริมาณ หนวย สัญลักษณ
ประจุไฟฟา คูลอมบ C
แรงดัน โวลท V
ความตานทาน โอหม Ω
ความนํา ซีเมนต S
ความเหนี่ยวนํา เฮนรี่ H
ความจุไฟฟา ฟารัด F
ความถี่ เฮิรตซ Hz
แรง นิวตัน N
พลังงาน จูล J
กําลังไฟฟา วัตต W
ฟลักซแมเหล็ก เวเบอร wb
ความหนาแนนฟลักซแมเหล็ก เทสลา T
เลขยกกําลังฐาน 10 เพื่อชวยลดหรือเพิ่มหนวยตางๆ
มาตรฐานของการวัด
ชนิดของมาตรฐาน แบงออกได 4 ชนิด
1. มาตรฐานนานาชาติ (International Standard)
2. มาตรฐานปฐมภูมิ (Primary Standard)
3. มาตรฐานทุติยภูมิ (Secondary Standard)
4. มาตรฐานใชงาน (Working Standard)
มาตรฐานนานาชาติ
• เปนการตกลงกันระหวางนานาชาติ โดยตกลงแทนหนวยของ
การวัดใหใกลเคียงกันและเที่ยงตรงที่สุด
• มาตรฐานนานาชาติจะถูกตรวจสอบและทดสอบคาอยาง
สม่ําเสมอ โดยการวัดแบบสัมบูรณ (ความยาว มวล เวลา
กระแส อุณหภูมิ ความเขมของการสองสวาง)
• ถูกเก็บรักษาอยูที่ International Bureau of Weight and Measures
(BIPM)
• ไมไดใชในการเปรียบเทียบ (Comparison) หรือปรับเทียบ
(Calibration)
มาตรฐานปฐมภูมิ
• เก็บรักษาอยูที่หองปฏิบัตกิ ารมาตรฐานแหงชาติในสวนตางๆ
ของโลก เชน มาตรฐานสําหรับทวีปอเมริกาเหนือเก็บไวที่
National Bureau of Standard ในวอชิงตัน
• ใชสําหรับตรวจสอบเพื่อยืนยันความถูกตอง (Verification) และ
ปรับเทียบมาตรฐานทุติยภูมิ
มาตรฐานทุติยภูมิ
• ใชเปนมาตรฐานอางอิงหลักในหองปฏิบัตกิ ารการวัด (ใน
อุตสาหกรรม)
• มาตรฐานทุติยภูมจิ ะไดรับการตรวจสอบคาที่วัดไดในเทอมของ
มาตรฐานปฐมภูมิ

มาตรฐานใชงาน
• ใชในหองปฏิบัตกิ ารการวัดสําหรับการตรวจสอบและปรับเทียบ
เครื่องมือที่ใชในหองปฏิบัติการทั่วๆ ไป
แบบฝกหัด
1. จงหาคาของตัวเลขตอไปนี้
1.1 108
1.2 10-1
1.3 10-6
1.4 5.1 x 10-3
1.5 100
2. จงเขียนคาตัวเลขตอไปนี้เปนเลขยกกําลัง
2.1 100,000
2.2 0.001
2.3 0.000003
2.4 5,000
2.5 10,000,000,000
3. จงแปลงหนวยตอไปนี้ ใหอยูในรูปที่กําหนด
3.1 0.000001 V = …………… μV
3.2 567 μA = …………… A
3.3 120 kV = …………… V
3.4 5,900 A = …………… mA
3.5 360,000,000 Ω = ……….. MΩ
4. จงบอกชื่อหนวยของปริมาณทางไฟฟาตอไปนี้
4.1 กระแสไฟฟา
4.2 แรงดันไฟฟา
4.3 ความตานทานไฟฟา
4.4 ประจุไฟฟา
4.5 กําลังไฟฟา
5. จงเขียนคาตัวเลขและการยกกําลังเลขฐานสิบ
ชื่อ คาตัวเลข การยกกําลังเลขฐานสิบ
เทรา
จิกะ
เมกกะ
กิโล
มิลลิ
ไมโคร
นาโน
พิโค

You might also like