Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 18

การสื บหาทรัพย์ สิน

เพือ่ การบังคับคดี

นายวีรภัทร ลาปาง
นักตรวจสอบภาษีเชี่ยวชาญ
กรมสรรพากร
The Revenue Department
Overview
Taxpayer
 บุคคลธรรมดา ผู้ถงึ แก่ ความตาย ฯลฯ P T Tax type
 ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา  ภาษีมูลค่ าเพิ่ม
 นิตบิ ุคคลไทย นิตบิ ุคคลต่ างประเทศ ฯลฯ
 ภาษีเงินได้ นิตบ
ิ ุคคล  ภาษีธุรกิจเฉพาะ
 ผู้ประกอบการ ผู้นาเข้ า ฯลฯ
 ภาษีเงินได้ ปิโตรเลียม  อากรแสตมป์
 ผู้ประกอบกิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
 ภาษีการรั บมรดก
 ผู้กระทาตราสาร
Taxation
structure
Tax methods Authority
 เสียภาษีโดยยื่นรายการประเมินตนเอง  แบบที่ย่ นื ไม่ ถกู ต้ องตามความจริง
 เสียภาษีโดยถูกหักไว้ ณ ที่จ่าย หรือไม่ บริบรู ณ์
 เสียภาษีโดยการตรวจสอบของ  ไม่ ย่ นื รายการ
เจ้ าพนักงานประเมิน
M A
Overview

 ถ้ าผู้มีหน้ าที่เสียภาษีไม่  ผู้ไม่ ชาระภาษีอากรจะต้ อง  เกิดปั ญหาข้ อเท็จจริงหรื อ  พ้ นกาหนดเวลาชาระภาษี


ดาเนินการประเมินตนเอง รับผิดในจานวนภาษีท่ไี ม่ ข้ อกฎหมายขัดแย้ งพิพาท (ประเมินโดยเจ้ าพนักงาน)
หรือประเมินตนเองอย่ าง ชาระ พร้ อมด้ วยเบีย้ ปรับ กันระหว่ างผู้เสียภาษีอากร  ภาษีอากรค้ าง
ไม่ ถกู ต้ องหรือไม่ บริบรู ณ์ และหรือเงินเพิ่มเป็ นจานวน กับเจ้ าพนักงานประเมิน  ยึดและอายัดทรั พย์ สน

ก็จะมีการประเมินโดย เงินเพิ่มขึน้ ต่ างหาก  ผู้มีหน้ าที่เสียภาษีต้องการ
เจ้ าพนักงาน  ในบางกรณียังอาจต้ องรั บ ให้ มีการพิจารณาทบทวน
 กรณีท่ ว ั ไป อานาจเจ้ า โทษทางอาญา เช่ น เสีย ใหม่
พนักงานฯ เกิดขึน้ เมื่อพ้ น ค่ าปรับ และหรือต้ องระวาง
กาหนดเวลายื่นรายการ โทษจาคุก

ตรวจสอบโดยเจ้ าพนักงาน เบีย้ ปรับ เงินเพิ่ม และโทษ อุทธรณ์ การประเมินภาษี ยึดและอายัดทรั พย์ สิน
การตรวจสอบโดยเจ้ าพนักงานสรรพากร
Law Enforcement
Hierarchy
ตรวจค้ นตามประมวลรั ษฎากร
เพื่อยึด หรืออายัดบัญชี
เอกสารหลักฐานต่ างๆ

ตรวจตามหมายเรียก
ตรวจสอบไต่ สวนตามหมายเรียกประมวลรัษฎากร

ตรวจปฏิบัตกิ าร
ตรวจการปฏิบตั ติ ามบทบัญญัตใิ นส่ วนที่เกี่ยวกับภาษีมลู ค่ าเพิ่มและภาษีธุรกิจเฉพาะ

ตรวจโดยหนังสือขอเชิญพบ
เมื่อตรวจวิเคราะห์ แบบแล้ วมีเหตุอันควรเชื่อว่ าเสียภาษีไม่ ถกู ต้ องครบถ้ วน
ทัง้ นี ้ มุ่งให้ เกิดผลในการสมัครใจเสียภาษีอากร
การตรวจสอบโดยเจ้ าพนักงานสรรพากร
 การสอบสวน คือ การรวบรวมพยานหลักฐานและดาเนินการอย่างอื่น ซึง่ เจ้ าพนักงานได้ ทาไป
เกี่ยวกับความผิดที่กล่าวหา เพื่อที่จะทราบข้ อเท็จจริ งหรื อพิสจู น์ความผิด
 การไต่ สวน คือ กระบวนการแสวงหาข้ อเท็จจริ งและหลักฐานซึง่ เจ้ าพนักงานได้ ปฏิบตั ิไปตาม
อานาจและหน้ าที่ เพื่อที่จะทราบรายละเอียดแห่งความผิด
 การไต่ สวนตามประมวลรัษฎากร คือ การรวบรวมพยานหลักฐานและดาเนินการอย่างอื่น
ซึง่ เจ้ าพนักงานประเมินได้ กระทาไปตามอานาจหน้ าที่ เพื่อที่จะทราบข้ อเท็จจริ งหรื อพิสจู น์
ความไม่ถกู ต้ องในการเสียภาษีอากร เพื่อที่จะประเมินภาษีหรื อลงโทษผู้ที่ฝ่าฝื นบทบัญญัติ
แห่งประมวลรัษฎากร
 รวบรวมพยานหลักฐานและวิเคราะห์ ข้อมูล
 บันทึกคาให้ การ
 รายงานผลการตรวจสอบภาษีต่อผู้บงั คับบัญชา เพื่อพิจารณาสั่งการ
การตรวจสอบโดยเจ้ าพนักงานสรรพากร
 มาตรา 61 การประเมินภาษีจากผู้มีช่ อื ในหนังสือสาคัญ
บุคคลใดมีชื่อในหนังสือสาคัญใด ๆ แสดงว่า
(1) เป็ นเจ้ าของทรัพย์สนิ อันระบุไว้ ในหนังสือสาคัญ และทรัพย์สนิ นั ้นก่อให้ เกิดเงินได้ พงึ ประเมิน หรื อ
(2) เป็ นผู้ได้ รับเงินได้ พงึ ประเมินโดยหนังสือสาคัญเช่นว่านั ้น
เจ้ าพนักงานประเมินมีอานาจประเมินเรี ยกเก็บภาษีทั ้งหมดจากผู้มีชื่อใน หนังสือสาคัญนั ้นก็ได้
แต่ถ้าบุคคลนั ้นต้ องโอนเงินได้ พงึ ประเมินให้ แก่บคุ คลอื่น บุคคลนั ้นมีสทิ ธิหกั เงินภาษี จาก
จานวนเงินซึง่ ต้ องโอนให้ แก่บคุ คลอื่นตามส่วน
 มาตรา 49 การกาหนดเงินได้ สุทธิ
ในกรณีที่ผ้ มู ีเงินได้ มไิ ด้ ยื่นรายการเงินได้ หรื อเจ้ าพนักงานประเมินพิจารณาเห็นว่าผู้มีเงินได้ ยื่นรายการเงินได้
ต่ากว่าจานวนที่ควรต้ องยื่น ให้ เจ้ าพนักงานประเมินโดยอนุมตั ิอธิบดีมีอานาจที่จะกาหนดจานวนเงินได้ สทุ ธิขึ ้น
ทั ้งนี ้ โดยถือเงินหรื อทรัพย์สนิ ซึง่ เป็ นกรรมสิทธิ์หรื อเข้ ามาอยู่ในครอบครองของผู้มีเงินได้ หรื อรายจ่ายของผู้มีเงินได้
หรื อฐานะความเป็ นอยู่ หรื อพฤติการณ์ของผู้มีเงินได้ หรื อสถิติเงินได้ ของผู้มีเงินได้ เอง หรื อของผู้อื่นที่กระทา
กิจการทานองเดียวกับของผู้เงินได้ เป็ นหลักในการพิจารณา แล้ วทาการประเมินแจ้ งจานวนเงินที่ต้องชาระ
ไปยังผู้ต้องเสียภาษี ทั ้งนี ้ ให้ นาบทบัญญัติมาตรา 19 ถึงมาตรา 26 มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม
การตรวจสอบโดยเจ้ าพนักงานสรรพากร
 การคานวณภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
เงินได้ พงึ ประเมินทุกประเภทรวมกันตลอดปี ภาษี = xx
หัก ค่าใช้ จ่ายตามที่กฎหมายกาหนด = xx
คงเหลือเงินได้ หลังจากหักค่าใช้ จ่าย = xx
หัก ค่าลดหย่อนต่าง ๆ (ไม่รวมค่าลดหย่อนเงินบริ จาค) = xx
คงเหลือเงินได้ หลังจากหักค่าใช้ จ่ายต่าง ๆ = xx
หัก ค่าลดหย่อนเงินบริ จาค ไม่เกินจานวนที่กฎหมายกาหนด = xx
เงินได้ สุทธิ = xx
นาเงินได้ สุทธิไปคูณด้ วยอัตราภาษี = ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดาที่ต้องเสีย
การตรวจสอบโดยเจ้ าพนักงานสรรพากร
 การคานวณภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล
กาไรสุทธิตามหลักการบัญชี = xx
หัก รายได้ ที่กฎหมายยกเว้ น เช่น มาตรา 65 ทวิ (10) xx
รายจ่ายที่กฎหมายให้ หกั ได้ เพิ่ม เช่น รายจ่ายฝึ กอบรม xx
คงเหลือ = xx
บวก รายได้ ที่กฎหมายกาหนดขึ ้น เช่น มาตรา 65 ทวิ (4) xx
รายจ่ายที่กฎหมายห้ ามหัก เช่น มาตรา 65 ตรี xx
รวม = xx
หัก ขาดทุนสุทธิไม่เกิน 5 ปี ตามมาตรา 65 ตรี (12) = xx
คงเหลือ = xx
บวก รายจ่ายเพื่อสนับสนุนการศึกษาฯ = xx
รายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะฯ = xx
รายจ่ายเพื่อการศึกษาหรื อการกีฬาฯ = xx
กาไรสุทธิตามประมวลรั ษฎากร = xx
นากาไรสุทธิตามประมวลรั ษฎากรไปคูณด้ วยอัตราภาษี = ภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคลที่ต้องเสีย
การตรวจสอบโดยเจ้ าพนักงานสรรพากร
 เบีย้ ปรับ และเงินเพิ่ม
• มาตรา 22 การเรี ยกเก็บเบี ้ยปรับ กรณียื่นรายการไม่ถกู ต้ อง
• มาตรา 26 การเรี ยกเก็บเบี ้ยปรับ กรณีไม่ยื่นรายการ
• มาตรา 27 เงินเพิ่มและการคานวณเงินเพิ่ม
• มาตรา 89 เสียเบี ้ยปรับตามกรณีและอัตรา
• มาตรา 89/1 เสียเงินเพิ่ม
 บทกาหนดโทษ
• มาตรา 37 โทษกรณีหลีกเลี่ยงภาษี โดยแจ้ งความเท็จ ฉ้ อโกง หรื อ อุบาย
• มาตรา 90/4 จาคุกตังแต่
้ 3 เดือน ถึง 7 ปี และ ปรับตังแต่ ้ 2,000 บาท ถึง 200,000 บาท
• มาตรา 90/5 ให้ กรรมการผู้จดั การ ผู้จดั การ หรื อ ผู้แทนของนิติบคุ คลต้ องรับโทษด้ วย
 หนังสือแจ้ งประเมินภาษีเป็ นคาสั่งทางปกครอง
• ต้ องให้ เหตุผลและข้ อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญ เหตุผลในข้ อกฎหมายที่อ้างอันเป็ นฐานในการ
ทาคาสัง่ ทางปกครอง เหตุผลในข้ อพิจารณาและข้ อสนับสนุนในการใช้ ดลุ พินิจ ทังนี ้ ้ เพื่อให้ ผ้ รู ับ
การประเมินทราบความเป็ นมาและสาเหตุที่ถกู ประเมิน
อุทธรณ์ ภาษี การยึดและอายัดทรัพย์ สิน
 อุทธรณ์ การประเมินภาษี
• มาตรา 30 การอุทธรณ์การประเมินภาษี ตอ่ คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์
 การยึดและอายัดทรัพย์ สิน
• มาตรา 18 ตรี ในกรณีเจ้ าพนักงานประเมิน ได้ ประเมินให้ เสียภาษี บุคคลผู้มีหน้ าที่เสียภาษี
จะต้ องชาระภาษี นนั ้ พร้ อมทังเบี
้ ้ยปรับ และเงินเพิ่มตามที่บญ ั ญัติไว้ ในหมวดนี ้ ภายในสามสิบวัน
นับแต่ วันได้ รับแจ้ งการประเมิน
• ภาษีอากรค้ าง หมายความว่า ภาษี อากรซึง่ ต้ องเสียหรื อนาส่งตามประมวลรัษฎากร และหรื อ
รายได้ อื่นที่กรมสรรพากรมีหน้ าที่จดั เก็บ เมื่อถึงกาหนดชาระแล้ วมิได้ เสียหรื อนาส่ง
• ยึด หมายความว่า การกระทาใด ๆ ต่อทรัพย์สินของผู้ค้างภาษี อากร เพื่อให้ ทรัพย์สินนันได้ ้ เข้ ามาอยู่
ในความควบคุมดูแลหรื อครอบครองของเจ้ าพนักงานหรื อผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
• อายัด หมายความว่า การสัง่ ให้ ผ้ คู ้ างภาษี อากร และหรื อบุคคลภายนอกมิให้ จาหน่ายจ่ายโอน
หรื อกระทานิติกรรมใด ๆ เกี่ยวกับทรัพย์สิน หรื อสิทธิเรี ยกร้ องที่ได้ สงั่ อายัดไว้ รวมตลอดถึงการสัง่ ให้
บุคคลภายนอก มิให้ นาส่งทรัพย์สิน หรื อชาระหนี ้แก่ผ้ คู ้ างภาษี อากรและหรื อให้ สง่ มอบ หรื อชาระหนี ้
ต่อเจ้ าพนักงานเพื่อเป็ นค่าภาษี อากร ณ ที่ซงึ่ ผู้มีอานาจออกคาสัง่ อายัดกาหนด
อุทธรณ์ ภาษี การยึดและอายัดทรัพย์ สิน
 มาตรา 12 ภาษีอากรค้ าง และการยึด อายัดและขายทอดตลาด
ภาษี อากรซึง่ ต้ องเสียหรื อนาส่งตามลักษณะนี ้ เมื่อถึงกาหนดชาระแล้ ว ถ้ ามิได้ เสียหรื อนาส่ง ให้ ถือเป็ น
ภาษี อากรค้ าง
เพื่อให้ ได้ รับชาระภาษี อากรค้ าง ให้ อธิบดีมีอานาจสัง่ ยึดหรื ออายัดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของ
ผู้ต้องรับผิดเสียภาษี อากรหรื อนาส่งภาษี อากรได้ ทวั่ ราชอาณาจักร โดยมิต้องขอให้ ศาลออกหมายยึดหรื อสัง่
อานาจดังกล่าวอธิบดีจะมอบให้ รองอธิบดีหรื อสรรพากรเขตก็ได้
ในจังหวัดอื่นนอกจากกรุงเทพมหานคร ให้ ผ้ วู ่าราชการจังหวัดหรื อนายอาเภอมีอานาจเช่นเดียวกับ
อธิบดีตามวรรคสองภายในเขตท้ องที่จงั หวัดหรื ออาเภอนัน้ แต่สาหรับนายอาเภอนันจะใช้ ้ อานาจสัง่ ขาย
ทอดตลาดได้ ตอ่ เมื่อได้ รับอนุญาตจากผู้ว่าราชการจังหวัด
วิธีการยึดและขายทอดตลาดทรัพย์สิน ให้ ปฏิบตั ิตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งโดย
อนุโลม ส่วนวิธีการอายัดให้ ปฏิบตั ิตามระเบียบที่อธิบดีกาหนดโดยอนุมตั ิรัฐมนตรี
เงินที่ได้ จากการขายทอดตลาดดังกล่าว ให้ หกั ค่าธรรมเนียม ค่าใช้ จ่ายในการยึดและขายทอดตลาด
และเงินภาษี อากรค้ าง ถ้ ามีเงินเหลือให้ คืนแก่เจ้ าของทรัพย์สิน
ผู้ต้องรับผิดเสียภาษี อากรตามวรรคสอง ให้ หมายความรวมถึงผู้เป็ นหุ้นส่วนจาพวกไม่จากัดความ
รับผิดในห้ างหุ้นส่วนนิติบคุ คลด้ วย
ธุรกรรมลักษณะเฉพาะ
 มาตรา 3 สัตตรส แห่งประมวลรัษฎากร
 กฎกระทรวง ฉบับที่ 355 (พ.ศ. 2562) ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้ วยการ
รายงานข้ อมูลเกี่ยวกับบุคคลที่มีธรุ กรรมลักษณะเฉพาะ
 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร (ฉบับที่ 16) เรื่ อง กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข
การรายงานข้ อมูลเกี่ยวกับบุคคลที่มีธรุ กรรมลักษณะเฉพาะผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ของ
กรมสรรพากร
 ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่ อง ขยายกาหนดเวลานาส่งรายงานข้ อมูลเกี่ยวกับบุคคล
ที่มีธรุ กรรมลักษณะเฉพาะครัง้ แรกให้ แก่ผ้ มู ีหน้ าที่รายงาน
ธุรกรรมลักษณะเฉพาะ
 ผู้มีหน้ าที่รายงานธุรกรรม
• ธนาคารพาณิชย์
• ธนาคารของรัฐ
• ผู้ให้ บริ การเงินอิเล็กทรอนิกส์
 รายการข้ อมูลที่ต้องรายงาน
• เลขประจาตัวประชาชน เลขที่หนังสือเดินทาง เลขทะเบียนนิติบคุ คล เลขประจาตัวผู้เสียภาษี
สิ่งอื่นที่ใช้ ระบุตวั ตน
• ชื่อ-สกุล ชื่อห้ างฯ ชื่อคณะบุคคล ชื่อนิติบคุ คล
• จานวนครัง้ ของการฝากหรื อรับโอนเงินทุกบัญชีรวมกัน
• จานวนเงินที่ฝากหรื อรับโอนเงินทุกบัญชีรวมกัน
• เลขที่บญ ั ชีทกุ บัญชีที่มีการฝากหรื อรับโอนเงิน
ธุรกรรมลักษณะเฉพาะ
 ข้ อสังเกต
• บัญชีที่ต้องรายงานในความหมายของกฎหมาย ไม่คานึงว่าผู้มีหน้ าที่รายงานจะเรี ยกว่า
“บัญชี” หรื อไม่ก็ตาม หากสิ่งนันสามารถระบุ
้ ตวั เจ้ าของ และเป็ นการฝากหรื อรับโอนเงิน
เช่น บัตรเงินฝาก เป็ นต้ น
• จานวนครัง้ ที่ต้องนับ ไม่คานึงถึงข้ อกาหนดที่ธนาคารและผู้ให้ บริ การเงินอิเล็กทรอนิกส์
ตกลงไว้ กบั เจ้ าของบัญชี พิจารณาจากจานวนครัง้ และจานวนเงินที่มีการฝากหรื อรับโอน
ไปยังบัญชีของผู้เป็ นเจ้ าของ
• กรณีฝากหรื อรับโอนเป็ นเงินตราต่างประเทศ ให้ ใช้ อตั ราถัวเฉลี่ย ณ วันสิ ้นปี ของ BOT
(ธนาคารพาณิชย์รับซื ้อ)
ธุรกรรมลักษณะเฉพาะ
ส่ งรายงานพร้ อมลงลายมือชื่อ
และเข้ ารหัส

ธนาคาร /
ผู้ให้ บริการเงินอิเล็กทรอนิกส์
ถอดรหัส / ตรวจสอบ
รู ปแบบข้ อมูล

กรมสรรพากร
ธุรกรรมลักษณะเฉพาะ
 การรายงานธุรกรรมลักษณะ
• เป็ นการรายงานข้ อมูลเกี่ยวกับบุคคลที่มีธรุ กรรมลักษณะเฉพาะที่เกิดขึ ้น
• ต้ องรายงานภายในวันที่ 31 มีนาคม ของปี ถดั ไป
Thank you

You might also like