แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 26

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 10

259

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒๖
วิชาการงานอาชีพ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน
เวลา ๑ ชั่วโมง
เรื่อง การปลูกพืชระบบไฮโดรพอนิกส์
๑. มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้ ง ๑.๑ เข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการ
ทำงาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการ
ทำงานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะ
นิสัยในการทำงาน มีจิตสำนึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่ง
แวดล้อมเพื่อการดำรงชีวิตและครอบครัว
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ง ๑.๑ ม. ๓/๑ อภิปรายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ
ง ๑.๑ ม. ๓/๒ ใช้ทักษะในการทำงานร่วมกันอย่างมีคุณธรรม
ง ๑.๑ ม. ๓/๓ อภิปรายการทำงานโดยใช้ทักษะการจัดการเพื่อการ
ประหยัดพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม
๒. สาระสำคัญ

วัสดุและอุปกรณ์สำหรับการปลูกพืชระบบไฮโดรพอนิกส์ที่สำคัญ ได้แก่ โรงเรือน ภาชนะที่ใช้ใน


การปลูก วัสดุปลูก วัสดุที่ใช้ในการเพาะต้นกล้า ปุ๋ ยหรือสารอาหารพืช น้ำ เครื่องมือที่ใช้ตรวจสอบสาร
อาหารพืช
การจัดการหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต มีวิธีการดังนี้ การตัดแต่ง การล้างทำความสะอาด การคัดคุณภาพ
ผลผลิต การบรรจุหีบห่อ การลดอุณหภูมิ การขนส่งและจำหน่าย
๓. เป้ าหมายการเรียนรู้
ความรู้/ความเข้าใจ ทักษะ/กระบวนการ เจตคติ คุณลักษณะ
สมรรถนะสำคัญ อันพึงประสงค์
(K) (P) (A)
๑. อธิบายวิธีการปลูก ๑. มีทักษะในการใช้วัสดุ ๑. เห็นประโยชน์และ ๑. ความสามารถ ๑. ซื่อสัตย์สุจริต
พืชระบบไฮโดร และอุปกรณ์สำหรับ ความสำคัญของวัสดุ ในการคิด ๒. ใฝ่เรียนรู้
พอนิกส์ได้ การปลูกพืชระบบไฮ และอุปกรณ์สำหรับ ๒. ความสามารถ ๓. อยู่อย่างพอเพียง
๒. อธิบายวัสดุและ โดรพอนิกส์ การปลูกพืชระบบไฮ ในการแก้ไขปัญหา ๔. มุ่งมั่นในการทำงาน
อุปกรณ์สำหรับการ ๒. มีทักษะในการจัดการ โดรพอนิกส์ ๓. ความสามารถ
ปลูกพืชระบบไฮโด หลังเก็บเกี่ยวผลผลิต ในการใช้ทักษะชีวิต
รพอนิกส์ได้
๓. อธิบายวิธีการจัดการ
หลังเก็บเกี่ยวผลผลิต
ได้

\ ๔. สาระการเรียนรู้
๑. การปลูกพืชระบบไฮโดรพอนิกส์
๒. วัสดุและอุปกรณ์สำหรับการปลูกพืชระบบไฮโดรพอนิกส์
๓. การจัดการหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต
๕. แนวทางบูรณาการการเรียนรู้
260

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ฯ
เทคโนโลยีการผลิตพืชเกี่ยวกับวัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ใน
การปลูกพืช
วิธีการ วัสดุ อุปกรณ์
และการจัดการหลัง
การเก็บเกี่ยวผลผลิต ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ด้านความพอประมาณ โดยนำความรู้เกี่ยวกับคุณสมบัติ
ของวัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการปลูกพืชระบบไฮโดรพอนิกส์
ที่ส่วนใหญ่มีราคาแพงมาประยุกต์ใช้กับวัสดุและอุปกรณ์ที่มี
ในท้องถิ่นของตนเอง
๖. การเตรียมตัวของผู้สอน
๑. ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดในหลักสูตรแกนกลางฯ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
แล้วกำหนดเป้ าหมายการเรียนรู้
๒. ศึกษาเนื้อหาสาระเรื่อง การปลูกพืชระบบไฮโดรพอนิกส์ วัสดุและอุปกรณ์สำหรับการปลูกพืช
ระบบไฮโดรพอนิกส์ และการจัดการหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต ในหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน
การงานอาชีพ ๓
๓. วางแผนการจัดการเรียนรู้ และเตรียมสื่อ/นวัตกรรม
๗. สื่อ/นวัตกรรม
๑. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพ ๓ บริษัท สำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด
๒. หนังสือเสริมประสบการณ์ การงานอาชีพ ๓ บริษัท สำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด
๓. วีดิทัศน์แสดงวัสดุและอุปกรณ์สำหรับการปลูกพืชระบบไฮโดรพอนิกส์
๔. วีดิทัศน์แสดงการจัดการหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต
๕. สื่อ PowerPoint การงานอาชีพ ๓ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน ของบริษัท
สำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ (๑๐ นาที)
๑. ครูถามคำถาม เช่น นักเรียนคิดว่า วัสดุและอุปกรณ์สำหรับการปลูกพืชระบบไฮโดรพอนิกส์มี
อะไรบ้าง
๒. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับวัสดุและอุปกรณ์สำหรับการปลูกพืชระบบไฮโดร
พอนิกส์มีอะไรบ้าง
ขั้นสอน (๓๐ นาที)
๑. ครูอธิบายเรื่อง การปลูกพืชระบบไฮโดรพอนิกส์ วัสดุและอุปกรณ์สำหรับการปลูกพืช
ระบบไฮโดรพอนิกส์ โดยใช้สื่อ PowerPoint การงานอาชีพ ๓ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ การปลูก
พืชโดยไม่ใช้ดิน
๒. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน ดูวีดิทัศน์แสดงวัสดุและอุปกรณ์สำหรับการปลูกพืชระบบ
ไฮโดรพอนิกส์ แล้วอภิปรายแสดงความคิดเห็น
261

๓. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน ค้นคว้าเรื่อง วัสดุและอุปกรณ์สำหรับการปลูกพืช


ระบบไฮโดรพอนิกส์ จากแบบเรียน เอกสาร ผู้รู้ อินเทอร์เน็ต แล้วจัดทำรายงาน
๔. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน ดูวีดิทัศน์แสดงการจัดการหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต แล้วครูสุ่ม
นักเรียน 2 คน อธิบายให้เพื่อนฟัง
๕. ครูอธิบายเพิ่มเติมเรื่อง การจัดการหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต
๖. นักเรียนศึกษาเรื่อง การปลูกพืชระบบไฮโดรพอนิกส์ วัสดุและอุปกรณ์สำหรับการปลูกพืช
ระบบไฮโดรพอนิกส์ และการจัดการหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน การ
งานอาชีพ ๓ แล้วบันทึกความรู้
๗. ให้นักเรียนทำใบงานที่ ๕.๕ เรื่องวัสดุและอุปกรณ์สำหรับการปลูกพืชระบบไฮโดรพอนิกส์ ใน
หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ การงานอาชีพ ๓
๘. นักเรียนรายงานผลการปฏิบัติงานหน้าชั้นเรียน เปิ ดโอกาสให้เพื่อนกลุ่มอื่นซักถามข้อสงสัย
ขั้นสรุป (๑๐ นาที)
นักเรียนช่วยกันสรุปเรื่อง การปลูกพืชระบบไฮโดรพอนิกส์ วัสดุและอุปกรณ์สำหรับการปลูก
พืชระบบไฮโดรพอนิกส์ และการจัดการหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต

๙. การวัดและประเมินผล
เป้ าหมาย
ภาระงาน/ชิ้นงาน เครื่องมือวัดและประเมิน วิธีวัดผล เกณฑ์การประเมิน
การเรียนรู้
ความรู้/ความเข้าใจ ๑. การอภิปรายแสดง ๑. แบบประเมินการ ๑. ตรวจแบบประเมิน ๑. ผ่านเกณฑ์การ
(K) ความคิดเห็นเกี่ยวกับ อภิปรายแสดงความ การอภิปรายแสดง ประเมินที่ระดับ
การปลูกพืชระบบไฮ คิดเห็น คามคิดเห็น คะแนน (๑๒)
โดรพอนิกส์ ขึ้นไป
๒. การทำรายงานเกี่ยว ๒. แบบประเมินชิ้นงาน ๒. ตรวจแบบประเมิน ๒. ผ่านเกณฑ์การ
กับวัสดุและอุปกรณ์ ชิ้นงาน ประเมินที่ระดับ
สำหรับการปลูกพืช คุณภาพปานกลาง
ระบบไฮโดรพอนิกส์
ทักษะ/กระบวนการ การนำเสนอข้อมูลเกี่ยว แบบประเมินการนำเสนอ ตรวจแบบประเมินการนำ ผ่านเกณฑ์การประเมิน
(P) กับการจัดการหลังเก็บ ผลงาน เสนอผลงาน ที่ระดับคะแนน (๘)
เกี่ยวผลผลิต ขึ้นไป
เจตคติ (A) การตอบคำถามในชั้น แบบประเมินการตอบ วิเคราะห์การตอบคำถาม ผ่านเกณฑ์การประเมินที่
เรียน คำถามในชั้นเรียน ในชั้นเรียน ระดับคุณภาพปานกลาง
ขึ้นไป
สมรรถนะสำคัญ พฤติกรรมในชั้นเรียน ๑. แบบประเมิน สังเกตพฤติกรรมในชั้น ผ่านเกณฑ์การประเมินที่
สมรรถนะที่สำคัญ เรียน ระดับคะแนนผ่าน (๑)
ด้านความสามารถ ขึ้นไป
ในการคิด
๒. แบบประเมิน
สมรรถนะที่สำคัญ
262

ด้านความสามารถ
ในการแก้ปัญหา
๓. แบบประเมิน
สมรรถนะที่สำคัญ
ด้านความสามารถ
ในการใช้ทักษะชีวิต

เป้ าหมาย
ภาระงาน/ชิ้นงาน เครื่องมือวัดและประเมิน วิธีวัดผล เกณฑ์การประเมิน
การเรียนรู้
คุณลักษณะ พฤติกรรมในชั้นเรียน ๑. แบบประเมิน สังเกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์การประเมิน
อันพึงประสงค์ คุณลักษณะ ในชั้นเรียน ที่ระดับคะแนนผ่าน (๑)
อันพึงประสงค์ ขึ้นไป
ด้านความซื่อสัตย์
๒. แบบประเมิน
คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
ด้านใฝ่เรียนรู้
๓. แบบประเมิน
คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
ด้านอยู่อย่างพอเพียง
๔. แบบประเมิน
คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
ด้านมุ่งมั่นในการ
ทำงาน
263

ใบงานที่ ๕.๕
เรื่อง วัสดุและอุปกรณ์ในการปลูกพืชระบบไฮโดรพอนิกส์
ชื่อ......................................................นามสกุล.............................................ชั้น......................เลขที่...............
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ มฐ. ง ๑.๑ (๑), (๒), (๓)
คำชี้แจง ให้นักเรียนระดมสมองเกี่ยวกับวิธีการปลูกพืชระบบไฮโดรพอนิกส์ แล้วสรุปเป็นแผนที่
ความคิด

วัสดุและอุปกรณ์
ในการปลูกพืชระบบ
ไฮโดรพอนิกส์
264

แบบประเมินการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
วิชา ....................................................................................................... ชั้น .....................................................
หน่วยการเรียนรู้ที่ .....................................กิจกรรม.........................................................................................
คำชี้แจง : ให้ประเมินจากการสังเกตการร่วมอภิปรายในระหว่างเรียน และการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มโดยให้
ระดับคะแนนลงในตารางที่ตรงกับพฤติกรรมของผู้เรียน
เกณฑ์การให้คะแนน ๓ = ดี ๒ =พอใช้ ๑ = ต้องปรับปรุง
สรุปผล
รวม
รายการประเมิน การประเมิน
๑๕คะแนน
ยอมรับฟังความคิดเห็น
การแสดงความคิดเห็น

มีความเชื่อมั่นในการ

เลขที่ ชื่อ-นามสกุล
สมเหตุสมผล
ตรงประเด็น

แสดงออก
ของผู้อื่น

คะแนนที่
ผ่าน ไม่ผ่าน
ทำได้

ลงชื่อ……………………………….ผู้ประเมิน
(………………………….……)
…………/…………/……….

เกณฑ์การประเมิน : นักเรียนได้คะแนน ๑๒ คะแนนขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์

แบบประเมินชิ้นงาน
265

เรื่อง การทำรายงานเกี่ยวกับวัสดุและอุปกรณ์สำหรับการปลูกพืชระบบไฮโดรพอนิกส์

ชื่อ-นามสกุล.........................................................................................................................เลขที่.....................
รายวิชา...................................................รหัสวิชา..........................................ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่......................
คำชี้แจง ให้ครูทำเครื่องหมายลงในช่องระดับคะแนนตามเกณฑ์การประเมิน
ระดับคะแนน
ประเด็นการประเมิน หมายเหตุ
๕ ๔ ๓ ๒ ๑
๑. รูปแบบของชิ้นงาน
๒. ความถูกต้องของข้อมูล
เนื้อหาสาระ
๓. ความตรงต่อเวลา
คะแนนรวม

ลงชื่อ……………………………….ผู้ประเมิน
(………………………….……)
…………/…………/……….
266

เกณฑ์การประเมินของแบบประเมินชิ้นงาน
ประเด็น เกณฑ์การให้คะแนน / ระดับคุณภาพ
การประเมิน ดีมาก (๕) ดี (๔) ปานกลาง (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรุง (๑)
๑. รูปแบบ รูปแบบของงาน รูปแบบของงานถูก รูปแบบของงานถูก รูปแบบของงาน รูปแบบของงาน
ของชิ้นงาน ถูกต้องตาม ต้องตามกำหนด มี ต้องตามกำหนดมี ถูกต้องตาม ไม่ถูกต้องตาม
กำหนด มีความ ความเป็นระเบียบ ความเป็นระเบียบ กำหนดบางส่วน กำหนด
เป็นระเบียบ เรียบร้อย แสดงถึง เรียบร้อย
เรียบร้อย ตกแต่ง ความคิดริเริ่ม
อย่างสวยงาม สร้างสรรค์
แสดงถึงความคิด
ริเริ่มสร้างสรรค์
๒. ความถูกต้อง อธิบายเนื้อหา อธิบายเนื้อหาสาระ อธิบายเนื้อหาสาระ อธิบายเนื้อหา อธิบายเนื้อหา
ของข้อมูล สาระได้ถูกต้อง ได้ถูกต้องครบถ้วน ส่วนมากได้ถูกต้อง สาระได้ถูกต้อง สาระได้เพียงเล็ก
เนื้อหาสาระ ครบถ้วน ละเอียด และชัดเจน เพียงบางส่วน น้อยไม่ครบถ้วน
ชัดเจน
๓. ส่วนประกอบ เตรียมอุปกรณ์ เตรียมอุปกรณ์ อุปกรณ์บางส่วนไม่ อุปกรณ์ไม่ ไม่มีอุปกรณ์
อื่นๆและ ประกอบการนำ ประกอบการนำ สอดคล้องในการนำ สอดคล้องใน ในการนำเสนอ
ความคิดริเริ่ม เสนอได้เหมาะสม เสนอได้เหมาะสม เสนอ การนำเสนอ
สร้างสรรค์ ดึงดูดความสนใจ และแสดงถึงความ
แสดงถึงความคิด คิดริเริ่มสร้างสรรค์
ริเริ่มสร้างสรรค์

เกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
๑๓ – ๑๕ ดีมาก
๑๐ – ๑๒ ดี
๗–๙ ปานกลาง
๔–๖ พอใช้
๑–๓ ควรปรับปรุง

แบบประเมินการนำเสนอผลงาน

เรื่อง .........................................................................................................................................
ผู้ปฏิบัติ/กลุ่ม ........................................................................... ภาคเรียนที่ ............. ชั้น ...................
267

ระดับคุณภาพ
รายการประเมิน
๔ ๓ ๒ ๑
๑. ความรู้ในเนื้อหา
๒. รูปแบบการนำเสนอ
๓. การใช้สื่อประกอบการนำเสนอ
๔. การตอบคำถาม

ลงชื่อ…………………………….ผู้ประเมิน
(………………………….……)
…………/…………/……….

เกณฑ์การประเมิน : นักเรียนได้คะแนน ๘ คะแนนขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์

เกณฑ์การประเมินของแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
ประเด็นการ เกณฑ์การให้คะแนน/ระดับคุณภาพ
ประเมิน ๔ ๓ ๒ ๑
๑. ความรู้ในเนื้อหา นำเสนอเนื้อหาถูก นำเสนอเนื้อหาถูก นำเสนอเนื้อหาถูก นำเสนอเนื้อหาเป็น
ต้อง ครบถ้วน หรือ ต้อง ครบถ้วน แต่ ต้อง แต่ไม่ครบถ้วน บางเรื่อง และไม่
มากกว่าที่กำหนด อธิบายรายละเอียด และอธิบายราย สามารถอธิบายราย
พร้อมทั้งอธิบายและ บางเรื่องไม่ได้ ละเอียดได้เล็กน้อย ละเอียดเพิ่มเติม
ขยายความเนื้อหาได้
๒. รูปแบบการนำ มีวิธีการนำเสนอที่ มีวิธีการนำเสนอที่ นำเสนอข้อมูลหรือ ไม่มีการจัดลำดับ
เสนอ น่าสนใจ ชวน น่าสนใจ และนำ ผลงานโดยการอ่าน ข้อมูลที่นำเสนอ
ติดตาม และนำเสนอ เสนอข้อมูลหรือ และจัดหัวข้อไว้ไม่ ทำให้ผู้ฟังไม่เข้าใจ
ข้อมูลหรือผลงาน ผลงานเป็นลำดับ เป็นระบบ เนื้อหาที่นำเสนอ
268

เป็นลำดับขั้นตอน ขั้นตอน
อย่างชัดเจน
๓. การใช้สื่อ ใช้เทคโนโลยีใน ใช้ภาพ แผนภูมิ ใช้ภาพ แผนภูมิ ไม่ใช้สื่อประกอบ
ประกอบการนำ การนำเสนอ ใช้ภาพ แผนผัง ประกอบ ประกอบการนำ การนำเสนอเลย
เสนอ แผนภูมิ แผนผัง การนำเสนอ สื่อที่ เสนอบ้างเป็นบาง
ประกอบการนำ ใช้ช่วยสนับสนุน ครั้ง และสื่อนั้นไม่
เสนออย่างชัดเจน เนื้อหาและการ ค่อยสนับสนุน
สื่อที่ใช้ช่วย อธิบายได้ เนื้อหาสาระที่นำ
สนับสนุนเนื้อหา เสนอ
และการอธิบายได้
เป็นอย่างดี
๔. การตอบคำถาม เปิ ดโอกาสให้ผู้ฟัง สามารถตอบข้อ ตอบปัญหาง่าย ๆ ไม่สามารถตอบ
แสดงความคิดเห็น ซักถามได้ แต่ไม่ เกี่ยวกับเนื้อหาที่นำ คำถามเกี่ยวกับ
หรือซักถาม โดย สามารถอธิบาย เสนอได้ เนื้อหาที่นำเสนอ
สามารถตอบคำถาม รายละเอียดเพิ่ม
ได้ถูกต้อง พร้อมทั้ง เติม
อธิบายขยายความได้

You might also like