Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 10

แนวโน้ มตารางธาตุ

ในบทนี้แนวโน้มตารางธาตุจะเน้นที่ธาตุหมู่ A เนื่องจากแนวโน้มของธาตุทรานซิชนั ไม่แน่นอน


ความเป็ นกรด-เบส ของสารประกอบ

โลหะ อโลหะ
คลอไรด์
ออกไซด์
ซัลไฟด์
โบรไมด์

ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
พลังงานไอออไนเซชัน(ionization energy, IE)
คือพลังงานที่ใช้ในการดึง e- ออกในสภาวะแก๊ส
เช่น Na(g) → Na+(g) + e- IE1
Na+(g) → Na2+(g) + e- IE2
ระวัง Na(s) → Na+(g) + e-
IE ใช้ บอกหมู่ได้
Ionization energy(kJ/mol)
Element
IE1 IE2 IE3 IE4 IE5 IE7
Na 498 4560 6910 9540 13,400 16,600
Mg 736 1445 7730 10,600 13,600 18,000
Al 577 1815 2740 11,600 15,000 18,310

สมการที่เกี่ยวข้องกับพลังงานไอออไนเซชัน อาจเกิดจากหลายค่ารวมกัน
เช่น
Na(g) → Na2+ (g) + 2e- IE1 + IE2
Na+ (g) → Na5+ (g) + 4e- IE2 + IE3 + IE4 + IE5
แนวโน้ มของค่า IE1 ตามคาบ
ระวัง! ถ้าธาตุที่เสี ย e- ง่าย ควรมีค่า IE ต่า
ถ้าความเป็ นอโลหะเพิ่มขึ้น IE1 ควรจะเพิ่มขึ้น
(เสี ย e- ยากขึ้น) แต่พบว่า หมู่ 2 > หมู่ 3
และ หมู่ 5 > หมู่ 6 เนื่องจาก
หมู่ 2 จัดเรี ยง e- ลงท้ายด้วย ns2 แบบ full-filled
หมู่ 5 จัดเรี ยง e- ลงท้ายด้วย np3 แบบ half-filled

สั มพรรคภาพอิเล็กตรอน(Electron affinity, EA)


คือ พลังงานที่ตอ้ งใช้ในการทาให้ e- หลุดออกมาจากไอออนลบ บอกถึงความสามารถใน
การรับ e- ของอะตอมในสถานะแก๊ส
ถ้า EA มีค่ามาก หมายถึง ต้องใช้พลังงานมากในการทาให้ e- หลุด = รับ e- ได้ดี
H He
+72.8 0.0
Li Be B C N O F Ne
+59.6 ≤0 +26.7 +122 -7 +141 +328 -29
Na Mg Al Si P S Cl Ar
+52.9 ≤0 +42.5 +134 +72.0 +200 +359 -35
K Ca Ga Ge As Se Br Kr
+48.4 +2.37 +28.9 +119 +78.2 +195 +325 -39
Rb Sr In Sn Sb Te I Xe
+46.9 +5.03 +28.9 +107 +103 +190 +295 -41
Cs Ba Tl Pb Bi Po At Rn
+45.5 +13.95 +19.3 +35.1 +91.3 +183 +270 -41
ถ้าความเป็ นอโลหะเพิ่มขึ้น EA ควรจะเพิ่มขึ้น แต่พบว่า เรี ยงลาดับดังนี้
ตามหมู่ 2 < 3 < 1 < 5 < 4 < 6 < 7
-
สาเหตุที่หมู่ 8 ไม่อยูใ่ นตารางเนื่องจาก เสถียรแล้วจึงไม่อยากรับ e
-
หมู่ 1 อยากรับ e เนื่องจากจะได้จดั เรี ยงเป็ น full-filled
-
หมู่ 4 อยากรับ e เนื่องจากจะได้จดั เรี ยงเป็ น half-filled
-
หมู่ 7 อยากรับ e เนื่องจากจะได้จดั เรี ยงเป็ น full-filled
อิเล็กโตรเนกาติวตี ี(Electronegativity, EN)
ความสามารถในการดึงหมอกอิเล็กตรอนโดยใช้ Pauling’s scale ตั้งแต่ 0-4
4 = ดึงหมอก e- ได้ดีมาก 0 = ดึงหมอก e- ได้แย่มาก
F > O > Cl > N > Br > S

เสริ ม ในชั้น CCl4 F2 สี ม่วง Cl2 สี เขียว Br2 สี ส้ม


I2 สี ม่วง แต่ในน้ าสี น้ าตาล
ความเป็ นอโลหะและความว่องไวอโลหะ
เพิม่ ขึ้นจากล่างขึ้นบน และ ซ้ายไปขวา
เช่น F2 > Cl2 > Br2 > I2
จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของอโลหะ
เพิม่ ขึ้นจากขวาไปซ้าย และบนลงล่าง เช่น F2, Cl2 เป็ นแก๊ส Br2 เป็ นของเหลว I2 เป็ นของแข็ง
ความเป็ นโลหะและความว่องไวโลหะ
เพิ่มขึ้นจากบนลงล่าง และ ขวาไปซ้าย
เช่น หมู่ IA > IIA > IIIA
หมู่ IA, IIA + H2O → Strong base + H2 + heat
จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของโลหะ
เพิ่มขึ้นจากล่างขึ้นบน และซ้ายไปขวา
เนื่องจาก แรงดึงดูดของไอออนของโลหะกับอิเล็กตรอนมีค่าสู ง
ค่าศักย์ไฟฟ้ ารีดักชันมาตรฐาน(E0)
-
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน = ปฏิกิริยารับ e
E0 อโลหะ > E0 โลหะ
ยกเว้น Li มีค่าต่าสุ ดในตารางธาตุ

เลขออกซิเดชัน(Oxidation Number, ON)


เลขออกซิเดชัน vs ประจุ
เลขออกซิเดชัน(oxidation number)
เป็ นตัวเลขที่แสดงถึงการได้-เสี ย e- มักเขียนเครื่ องหมายก่อนตัวเลข เช่น HF
ประจุ(Charge)
การเสี ยหรื อได้ e- มักเขียนตัวเลขก่อนเครื่ องหมาย เช่น SO42-
ผลรวมของเลขออกซิเดชัน = ประจุของสาร
การกาหนดเลขออกซิเดชัน
1. ธาตุหรื อโมเลกุลอิสระจะมี ON = 0
2. ธาตุหมู่ IA IIA IIIA จะมี ON เป็ น +1, +2, +3
3. F จะมี ON = -1 เสมอ
4. O จะมี ON = -2 เป็ นส่ วนใหญ่
เป็ น -1 เรี ยก peroxide
1
เป็ น - เรี ยก superoxide
2
5. H จะเป็ น +1 เมื่ออยูก่ บั อโลหะ
-1 เมื่ออยูก่ บั โลหะ
การหาเลขออกซิเดชัน
สารประกอบของ โลหะ + อโลหะ
ให้หาโลหะก่อนแล้วค่อยหาอโลหะ
สารประกอบของ อโลหะ + อโลหะ
ให้ธาตุที่มี EN สู งเป็ นลบ
ธาตุที่มี EN ต่า เป็ นบวก
สารประกอบเชิงซ้ อน
เป็ นสารประกอบที่มีธาตุทรานซิชนั โดยมักประกอบด้วย 2 ส่ วน คือ ไอออนเชิงซ้อน กับ
ธาตุที่ดุลไอออนเชิงซ้อน
วิธีหาเลขออกซิเดชัน
1. ให้แยกส่ วนของไอออนเชิงซ้อน และ ธาตุดุลออก
2. ให้คิดเลขออกซิเดชันทีละกลุ่ม
ไอออนเชิงซ้ อน
เป็ นกลุ่มของธาตุที่ประกอบด้วย ธาตุทรานซิชนั และกลุ่มของอนุภาค โดยอาจเป็ นธาตุเดี่ยว ๆ
โมเลกุล หรื อ ไอออนก็ได้
กลุ่มของอนุภาคที่ ON รวมเป็ น 0 H2O, NH3, CO
กลุ่มของอนุภาคที่ ON รวมเป็ น -1 NO2-, NO3-, OH-, CN-, SCN-
กลุ่มของอนุภาคที่ ON รวมเป็ น -2 CO32-, SO42-, SO32-, C2O42-

ธาตุทรานซิชัน(Transition Elements)
เป็ นธาตุที่มีออกซิเดชันหลายค่า เกิดสี ที่แตกต่างกัน
ปัจจัยที่ส่งผลต่อสี
1. เลขออกซิเดชันของธาตุทรานซิชนั
2. อะตอมล้อมรอบ
ชมพู เขียว นา้ เงิน ม่ วง ส้ ม เหลือง
3+ 3+ 2- -
Cr Cr Cr Cr2O7 CrO4
+ 2+
Cu Cu Cu
2+ 3+
Fe Fe Fe
2+ 2- -
Mn Mn MnO4 MnO4
2+
Co Co
ธาตุกมั มันตรังสี (Radioactive Elements)
เป็ นธาตุที่ไม่เสถียรเกิดการแผ่รังสี ออกมาเช่น
4 4
2α หรื อ 2He เรี ยกว่า รังสี แอลฟา
0
-1
β หรื อ -10e เรี ยกว่า รังสี บีตา
0
+1
β หรื อ +10e เรี ยกว่า โพซิตรอน
0
0γ เรี ยกว่า รังสี แกมมา
1 1
1p หรื อ 1H เรี ยกว่า โปรตอน
1
0n เรี ยกว่า นิวตรอน
การดุลสมการนิวเคลียร์
เลขอะตอมรวมกับเลขมวลรวมทั้งซ้ายและขวาจะต้องเท่ากัน
เช่น 23496Cm + 3 42He → 254 102No + 4 0n
1

การคานวนเกี่ยวกับการสลายตัวของธาตุกมั มันตรังสี
ครึ่งชีวติ (half-file, t1/2)
เมื่อเวลาผ่านไปเท่ากับ t1/2 ปริ มาณของธาตุกมั มันตรังสี จะลดลงเหลือครึ่ งหนึ่ง
ปริ มาณเริ่ มต้น
ปริ มาณที่เหลือ =
2n
เวลาที่ใช้
โดยที่ n คือ จานวนครั้งที่สลาย =
ครึ่ งชีวิต
กรณี ถา้ n ไม่เป็ นจานวนเต็ม
A
ln n = -kt เมื่อ An = ปริ มาณของสาร A ณ เวลา n
A0
A0 = ปริ มาณของสาร A ณ เวลาเริ่ มต้น
t = เวลาที่เปลี่ยนแปลง
k = ค่าคงที่การสลายตัว
0.693
โดยที่ k หาจาก k =
t1/2
การคานวณโดยใช้ ปริมาณสารสั มพันธ์
เช่น 146C → 145B + -10e
โจทย์ส่วนใหญ่มกั จะถามว่า เกิด 145B ขึ้นกี่กรัมหรื อน้ าหนักรวมในภาชนะ
น้ าหนักรวมในภาชนะ = C ที่เหลือ + B ที่เกิด
ไม่เท่ากับปริ มาณตั้งต้น!!!
ตัวอย่าง
จากสมการ 146C → 145B + -10e
ถ้ามี C-14 อยู่ 28 กรัม เมื่อผ่านไป 2 ครึ่ งชีวิต
จะเกิด B-14 กี่กรัม และน้ าหนักในภาชนะจะหนักเท่าไร
ทายังไง
STEP1 : หาปริ มาณของ C-14 ที่เหลือ

STEP2 : หาปริ มาณที่ C-14 สลายตัว

STEP3 : คานวณโดยใช้ปริ มาณสารสัมพันธ์


ประโยชน์
ด้ าน สารกัมมันตรังสี ประโยชน์
ธรณีวทิ ยา C-14 หาอายุวตั ถุโบราณที่มีคาร์บอนเป็ น
องค์ประกอบ
การแพทย์ I-131 ติดตามความผิดปกติของต่อมไทรอยด์
I-132 ติดตามดูภาพของสมอง
Na-24 ดูระบบการไหลเวียนเลือด
Tc-99 ดูภาพหัวใจ ตับ ปอด
Co-60 หรื อ Ra-226 รักษาโรคมะเร็ ง
เกษตรกร P-32 ติดตามการไหลเวียนของแร่ ธาตุในพืช
นิวตรอน ปรับปรุ งเมล็ดพันธุ์พืช
อุตสาหกรรม แกมมา นิวตรอน เปลี่ยนสี อญั มณี
อิเล็กตรอน
Co-60 ถนอมอาหาร

You might also like