Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

เคมีอนิ ทรีย์ (Organic Chemistry)

สารประกอบเคมีอนิ ทรีย์
เป็ นสารประกอบที่มี C และ H เป็ นองค์ประกอบหลัก ต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์ และอาจมี
O, N, S, X หรื อธาตุอื่น ๆ เป็ นองค์ประกอบร่ วมด้วย มักพบในสิ่ งมีชีวิต
ในอดีต เป็ นสารประกอบที่พบในสิ่ งมีชีวิต ยกเว้น NH3 (ไม่มี C, H เป็ นองค์ประกอบหลัก) หรื อ
H2CO3 (เกิดจาก H2O + CO2 ซึ่งเป็ นสารอนินทรี ยท์ ้ งั คู่)

การจาแนกสารอินทรีย์
โครงสร้ าง ประเภท หมู่ฟังก์ชัน ลงท้ ายเสี ยง
C-C Alkane -ane
C=C Alkene -ene
C≡C Alkyne -yne
Aromatic specific
R-O-H Alcohol hydroxyl -ol
R-O-R’ Ether Oxy (Alkoxy) -yl yl ether
Aldehyde Carboxaldehyde -al
Ketone Carbonyl -one
Carboxylic acid Carboxyl -oic acid
Ester Carboalkoxy -yl oate

Amide Amide amide

R-NH2 Amine amino amine


การเขียนโครงสร้ าง
1. โครงสร้ างแบบย่อ แสดงถึงชนิดและจำนวนของอะตอมของสำรประกอบ
และบอกกำรต่อพันธะแบบคร่ ำว ๆ
เช่น CH3COOH, (CH3)3C(CH2)CH3
2. โครงสร้ างแบบลิวอิส แสดงถึงกำรต่อพันธะและชนิดของพันธะ (เดี่ยว, คู่ และ สำม)
เช่น

3. โครงสร้ างแบบเส้ นและมุม แสดงกำรละพันธะของ C-H ให้อยูใ่ นรู ปเส้นและมุม


วิธีทา
1. วำดโครงสร้ำงแบบลิวอิส
2.ละ H ที่ติดกับ C ทั้งหมด !! H ที่ติดกับอะตอมอื่น เช่น O, N ไม่ตอ้ งละ!!
3. วำงให้ C อยูส่ ลับกันแบบซิกแซก
4.นำ C ออกแทนที่ดว้ ยจุด
5.นำเส้นมำต่อกันและเอำจุดออก
ตัวอย่ำงที่ 1 CH3CH(OH)CH2NHCH3

ตัวอย่ำงที่ 2 CH2CHCOCH2CN

โจทย์
1. CH3CH2COON(CH3)2
2. (CH3CH2)2CCHCH2CH3
3. C

4.
การเรียกชื่ อสารประกอบอินทรีย์
โครงสร้ าง
หมู่แทนที่ + สายโซ่หลัก + คาลงท้ายหมู่ฟังก์ชนั
ขั้นตอน
1. หาสายโซ่หลัก
เงื่อนไข
- มีจานวน C เยอะสุ ด
จานวน C
1C = meth 2C = eth 3C = prop 4C = but 5C = pent
6C = hex 7C = hept 8C = oct 9C = non 10C = dec
- ประกอบด้วยหมู่ฟังก์ชนั
- มีหมู่แทนที่เยอะที่สุด
2. อ่านหมู่ที่เหลือเป็ นหมู่แทนที่ ลงท้ายเสี ยงด้วย yl และใช้ตวั เลขกากับตาแหน่ง
เงื่อนไข
- เลขหมู่แทนที่ควรมีตวั เลขตาแหน่งน้อย ๆ
- ถ้าหมู่แทนที่ชนิดเดียวกันซ้ าให้ใช้คานาหน้าบอกจานวน
เช่น di, tri, tetra,...
- เลขหมูฟ่ ังก์ชนั ควรมีตวั เลขตาแหน่งเป็ นเลข 1
3. เรี ยงลาดับหมู่แทนที่ตามลาดับตัวอักษร
ตัวอย่างที่ 1

ตัวอย่างที่ 2
ตัวอย่างที่ 3

ตัวอย่างที่ 4

ข้อสอบ 9 วิชาสามัญปี 2555

ตัวอย่างที่ 5

ตัวอย่างที่ 6

หมู่แทนที่ซับซ้ อน
ตัวอย่างที่ 7

ตัวอย่างที่ 8 แนว Pat2

ตัวอย่างที่ 9

การอ่านชื่ อสารประกอบ Aromatic


- ส่ วนใหญ่มกั มีชื่อเฉพาะ แต่สามารถอ่านได้คร่ าว ๆ ดังนี้
การอ่านชื่ อสารประกอบอีเทอร์
อ่านได้ 2 แบบ
แบบที่ 1 ให้อ่านฝั่งซ้ายและฝั่งขวาเหมือนหมู่แทนที่ `
เช่น CH3CH2OCH3 อ่านว่า Ethyl methyl ether
แบบที่ 2 ให้ดูจานวน C ของแต่ละฝั่ง
- ฝั่งที่มี C น้อย ให้อ่านลงท้ายเสี ยงด้วย Oxy
- ฝั่งที่มี C มาก ให้อ่านเหมือน Alkane
เช่น CH3(CH2)2OCH2CH3 อ่านว่า Ethoxypropane
การอ่านชื่ อสารประกอบ Aldehydes และ Ketones
โครงสร้ างของสารประกอบ Aldehydes และ Ketones

การอ่านชื่ อ
- อ่านชื่อเหมือน Alkanes, Alkene, Alkynes แต่ลงท้ายเสี ยงต่างกัน
- Aldehyde ลงท้ายเสี ยงด้วย -al
- Ketones ลงท้ายเสี ยงด้วย -one !!!ต้องมีตวั เลขบอกตาแหน่งของ Ketone!!!
การอ่านชื่ อสารประกอบ Carboxylic acid
- อ่านชื่อเหมือน Alkanes, Alkene, Alkynes แต่ลงท้ายเสี ยงเป็ น -oic acid
การอ่านชื่ อสารประกอบ Ester
โครงสร้ างของสารประกอบ Ester

การอ่านชื่ อ
- อ่านฝั่งที่ติดกับ O เหมือนเหมือนหมู่แทนที่
- อ่านฝั่งที่ติดกับ C=O ลงท้ายเสี ยงด้วย -oate

การอ่านชื่ อสารประกอบ Amide


โครงสร้ างของสารประกอบ Amide
การอ่านชื่ อ
- อ่านชื่อเหมือน Alkanes, Alkene, Alkynes แต่ลงท้ายเสี ยงเป็ น -amide
- กรณี ที่มีหมู่แทนที่เกาะอยูท่ ี่ N ให้ระบุตาแหน่งด้วย ตัวอักษร “N”

การอ่านชื่ อสารประกอบ Amine


โครงสร้ างของสารประกอบ Amine

การอ่านชื่ อ
- อ่านชื่อเหมือน Alkanes, Alkene, Alkynes แต่ลงท้ายเสี ยงเป็ น -amine
- กรณี ที่มีหมู่แทนที่เกาะอยูท่ ี่ N ให้ระบุตาแหน่งด้วย ตัวอักษร “N”

You might also like