Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 109

Engineering Materials (2023)

ผูชวยศาสตราจารย ดร. วรดา หลอยืนยง

ใชประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาวัสดุวิศวกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากรเทานั้น
Course Description
620101 Engineering Materials

การศึกษาความสัมพันธระหวางโครงสราง สมบัติ กระบวนการผลิต และ


การประยุกตใช งานของวัสดุวิศวกรรมหลัก โลหะ พอลิเมอร เซรามิกส
และวั ส ดุเ สริม องค ประกอบ แผนภูมิ วัฏภาคและการแปลความหมาย
ของวัฏภาคตางๆ สมบัติเชิงกล และการเสื่อมสภาพของวัสดุ

Study of the relationship between structures, properties, production processes


and applications of the main groups of engineering materials: metals,
polymers, ceramics and composites. Phase equilibrium diagrams and their
interpretation. Mechanical properties and materials degradation.

2
Midterm Final
อาจารยผูสอน ผศ. ดร. วรดา หลอยืนยง (20%) ผศ. ดร. นิติ ยงวณิชย (20%)
(ผูประสานงาน) ผศ. ดร. นฤทธิ์ ตรีอํานรรค (20%)
ผศ. ดร. ภัทร สุขแสน (20%) และ อาจารย ดร. ณัฐนนท พลชัย (20%)

Materials Science and Engineering : An Introduction by


W.D. Callister, Jr. (ฉบับแปล: วัสดุศาสตร์และวิศวกรรมวัสดุพื้นฐาน)
หนังสืออางอิง

Materials Science and Engineering by W.F. Smith (ฉบับแปล:


วัสดุวิศวกรรม)
Materials Science and Engineering by W.F. Smith and Javad
Hashemi (ฉบับแปล: วัสดุวิศวกรรม)
Science and Engineering of Materials by D.R. Askeland and
P.P. Phule (ฉบับแปล:วัสดุวิศวกรรม)
3
4
5
วัสดุ
ไมบรรทัด กรรไกร

วัสดุ 1 ชนิด เชน ไม วัสดุ 2 ชนิด ไดแก โลหะ


โลหะ หรือพลาสติก และพลาสติก
6
วิวัฒนาการของวัสดุ

Aluminum Glass Plastic

7
ความเสียหายของวัสดุ
FB: Metallurgical
Failure Analysis

8
วัสดุที่ยั่งยืน (Sustainable Materials)

9
ชนิดของวัสดุ - วัสดุพื้นฐาน
Metals Ceramics & Glasses Polymers

เป น สารประกอบโลหะและ
เ ป น ธ า ตุ เ ดี ย ว ห รื อ
อโลหะ สมบัติคือมีความแข็ง ส า ร ป ร ะ ก อ บ อิ น ท รี ย มี
สารประกอบที่ เปน ธาตุโลหะ
สู ง เปราะ เป น ฉนวนไฟฟ า องคประกอบ C, H, และธาตุ
มีสมบัติคือนําไฟฟาและความ
ทนทานต อ การกัด กร อ นและ อโลหะ ส ว นใหญ ป ระกอบด ว ย
รอนได ดี ผิวเปน มัน วาว ทึ บ
อุณหภูมิสูง โมเลกุลที่ตอกันเปนโซยาว สมบัติ
แสงและเปลี่ยนรูปไดงาย
คือมีความหนาแน นต่ํา มีสมบัติที่
10 หลากหลายและมีความยืดหยุนสูง
ชนิดของวัสดุ - วัสดุขั้นสูง
Composites ประกอบดวยวัสดุมากกวาสองประเภท

Metal Ceramic
Carbon-fiber bike Fiberglass
surfboards
Composite

Polymer

Polymer-based composite

11
ชนิดของวัสดุ - วัสดุขั้นสูง
Biomaterials Semiconductors
วัสดุทางการแพทย มีสมบัติทางไฟฟาอยูระหวางตัวนําและฉนวน
สามารถควบคุมสมบัติการนําไฟฟาได

Hip replacement

Solar cells
Integrated circuits

Dental biomaterials LASERs LEDs


12
ชนิดของวัสดุ - วัสดุขั้นสูง
Nanomaterials

Thermochromic Smart Windows

https://chembam.files.wordpress.com/2017/01/nanoscale.png
TiO2
13 Prakash, Jai & Cho, Junghyun & Mishra, Yogendra.
(2021). Micro and Nano Engineering. 14. 100100.
จตุรมุขของวิทยาการและวิศวกรรมวัสดุ
(Tetrahedron of Materials Science and Engineering)

PERFORMANCE
สมรรถนะ
สมรรถนะ

PROCESSING
PROPERTIES กระบวนการผลิต
สมบัติ กระบวนการผลิ
composition,

crystal growth,
สมบั ติ
electronic
mechanical
composition,
thermal
crystal growth,
treatment, etc.
electronic
optical, etc. thermal
mechanical
optical, etc. โครงสร้ าง
STRUCTURE treatment, etc.
โครงสร้ าง
micro-, nano-,
molecular, crystal
micro-, nano-,
molecular, crystal

14
วิทยาการและวิศวกรรมวัสดุ
วิทยาการวัสดุ (materials science) วิศวกรรมวัสดุ (materials engineering)
คือศาสตรที่ศึกษาถึงความสัมพันธระหวางองคประกอบ คือศาสตรที่ศึกษาและพัฒนาคุณลักษณะตางๆ ของ
พื้นฐานของวัสดุและสมบัติของวัสดุ วัสดุเพื่อนําไปใชงานไดอยางเหมาะสมและกอใหเกิด
ผลิตภัณฑที่มีสมรรถนะอยางสูงสุดยิ่งขึ้น
STRUCTURE PROPERTIES PROCESSING PERFORMANCE

การศึกษาและเขาใจสาขาวิชานี้จึงมีความจําเปน เพื่อจะไดเลือกใชวัสดุใหเหมาะสมและ
สามารถวิเคราะหไดวามีความผิดปกติเพราะเหตุใด
15
พันธะทางเคมี (Electronic & Atomic Structure)
 พันธะ หรือ Bonds เปรียบเสมือนกาวที่ยึดของแข็งไว้ด้วยกัน

 พันธะทางเคมีสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทตามความแข็งแรง
 พันธะปฐมภูมิ (primary bonds) คือพันธะที่สัมพันธ์กับการถ่ายโอนอิเล็กตรอนหรือ
การใช้อิเล็กตรอนร่วม ได้แก่ พันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์และพันธะโลหะ
 พันธะทุติยภูมิ (secondary bonds) ได้แก่ พันธะไฮโดรเจนและพันธะแวนเดอร์วาล

16
พันธะไอออนิก (Ionic Bonding)

1s22s22p63s1
Example:
Sodium (Na)
ผลึกเกลือ
Atomic number 11
11 electrons

Example:
Chlorine (Cl)
Atomic number 17
17 electrons
1s22s22p63s23p5
17 https://biologydictionary.net/ionic-bond-examples/
กระบวนการเกิดพันธะไอออนิก

 อะตอมของธาตุโลหะสูญเสียวาเลนต์อิเล็กตรอนให้แก่ธาตุอโลหะ โดยพันธะไอ
ออนิกจะเกิดขึ้นจากแรงดึงดูดระหว่างไอออนบวกและไอออนลบจากการถ่าย
โอนอิเล็กตรอนระหว่างธาตุโลหะและอโลหะ
Strong, poor electrical and
 ตัวอย่าง : NaCl, Al2O3, MgO, CaO thermal conductors

18 https://tylerandaidanscience2ndperiod.weebly.com/ionic-bonding.html
ของแข็งไอออนิกมักจะเกิดจาก
LEFT - RIGHT -
Cations Anions

19
ของแข็งไอออนิกมักจะเกิดจาก
LEFT - RIGHT -
Cations Anions

20
พันธะโควาเลนต (Covalent Bonding)

 เกิดจากการใชอิเล็กตรอนรวมกันระหวางอะตอมที่อยูขางเคียง อะตอมสองตัวที่เกิดพันธะโควา
เลนตระหวางกันจะใชอิเล็กตรอนรวมกันอยางนอย 1 คู พันธะโควาเลนตเปนพันธะที่มีทิศทาง
 ธาตุที่เกิดพันธะโคเวเลนตไดเปนอโลหะ เพราะอโลหะมีพลังงานไอออรไนเซชั่นคอนขางสูง จึงเสีย
อิเล็กตรอนไดยาก จึงไมมีฝายใดเสียอิเล็กตรอน แตจะใชอิเล็กตรอนรวมกัน

21
Si: 1s22s22p63s23p2

Silicon wafer
© 2003 Brooks/Cole Publishing / Thomson Learning™

 แทนที่ซิลิกอนจะเกิดพันธะโคเวเลนต์ 2 พันธะ อิเล็กตรอน 1 ตัวของ 3s จะถูกกระตุ้นไปอยู่ในชั้น


3p เกิดเป็นออร์บิทัลใหม่และเรียกกระบวนการนี้ว่า hybridization
 ในกระบวนการ hybridization ระดับพลังงานของทั้ง 4 ออร์บิทัลจะเท่ากัน และมีรูปร่างเดียวกัน
เรียกออร์บิทัลใหม่นี้ว่า sp3-orbital
 ออร์บิทัลทั้ง 4 จัดตัวอยู่ในรูปทรงเหลี่ยม 4 หน้า สามารถรับอิเล็กตรอนได้อีก 4 อิเล็กตรอน
22
Directional, poor electrical
and thermal conductors

Tetrahedral

© 2003 Brooks/Cole Publishing / Thomson Learning™


geometry

 Covalent bonds are directional because electrons at


one bond repel electrons at other bonds.
 In silicon, a tetrahedral structure is formed, with angles
of 109.5° required between each covalent bond

23
Electronegativity and Polarity

24
Electrons can be shared unequally.

25
พันธะโลหะ
(Metallic Bonding)

http://www.webelem
ents.com/_media/ele
ments/crystal_struct
ure_image/Cu-sf.jpg

 พันธะโลหะคือแรงที่ยึดอะตอมโลหะไว้ในผลึก โดยวาเลนต์
อิเล็กตรอนสามารถเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระ
 วาเลนต์อิเล็กตรอนจะทำหน้าที่ดึงดูด ion cores เข้าด้วยกัน
เวเลนตอิเล็กตรอนมาก ความแข็งแรงของพันธะ??
26
สมบัติไฟฟ้ า – good conductor
ระนาบอะตอมโลหะที่อยูอยางหนาแนนสามารถเลือ่ นไหลระหวาง
ชั้นได ทําใหวัสดุสามารถเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปรางโดยถาวร

https://www.tec-science.com/material-science/ductility-of-
metals/fundamentals-of-deformation/

Drawing Forging

27
พันธะไฮโดรเจน (Hydrogen bond)
 เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโควาเลนต์ที่มีขั้วรุนแรง มีความแข็งแรงมากกกว่าพันธะ
แวนเดอร์วาลหรือแรงระหว่างโมเลกุลอื่นๆ
 เกิดในโมเลกุลที่มีธาตุไฮโดรเจนสร้างพันธะโควาเลนต์กับธาตุที่มีค่า EN สูง ได้แก่ ไนโตรเจน
(N) ออกซิเจน (O) และ ฟลูออรีน (F)

น้ําแข็งจะมีความหนาแนน
นอยกวาน้ํา

28 https://chemistry.stackexchange.com/questions/96452/which-has-stronger-hydrogen-bonds-water-or-ice
พันธะแวนเดอรวาล (Van der Waals Bonding)

 แรงดึงดูดแบบอ่อนๆ ที่ช่วยยึดโมเลกุลเข้าด้วยกัน มี 3 ชนิด คือ 1. แรง dipole-dipole 2.


แรง dipole-induced dipole และ 3. แรงลอนดอน
 แรงลอนดอน: เนื่องจากอะตอมจะมีการสั่นตัวอยู่ตลอดเวลา ทำให้ความไม่สม่ำเสมอหรือ
ความไม่สมมาตรของการกระจายตัวของอิเล็กตรอนสามารถเกิดขึ้นได้ในช่วงระยะเวลาสั้นๆ
เกิดเป็นขั้วไฟฟ้าสองขั้ว ซึ่งการเกิดสองขั้วไฟฟ้าในลักษณะนี้จะเหนี่ยวนำให้เกิดการบิดเบี้ยว
ของการกระจายตัวของอิเล็กตรอนในอะตอมข้างเคียง ทำให้เกิดแรงดึงดูดอย่างอ่อนๆ
ระหว่างอะตอมที่เกิด 2 ขั้วนี้
วัสดุที่มีพันธะชนิดนี้จะมีจุดหลอมเหลวและจุด
อะตอม AA
อะตอม อะตอมBB
อะตอม เหยือกแข็งที่ต่ํา อย่างไรก็ตาม การเกิดขั้วไฟฟ้า
และการยึดเหนี่ยวในลักษณะนี้ สามารถเกิดขึ้นได้
+ + ในวัสดุทุกชนิด
แรงดึงดูด ความแข็งแรงกับขนาดโมเลกุล?
แรงดึงดูดแวนเดอร์วาล
วาลเดอร์วาล
29
กราไฟต
โคเวเลนซ์

แวนเดอร์วาล

สมบัติขึ้นอยูกับทิศทางของผลึก
30
พันธะในพอลิเมอร
Covalent bonds Hydrogen bonds

พันธะปฐมภูมิ (primary bonds) – พันธะโควาเลนต์


พันธะทุติยภูมิ (secondary bonds) – พันธะแวนเดอร์วาล พันธะไฮโดรเจน

31
ตัวอยางพลังงานพันธะของสารประกอบหรือธาตุชนิดตางๆ

https://msestudent.com/wp-content/uploads//2020/07/bond-energy_melting-point.svg

32
การจัดเรียงตัวของอะตอม (Atomic arrangement)
 Crystalline คือของแข็งที่มีการจัดเรียงตัวของอะตอม / โมเลกุลอย่าง
เป็นระเบียบในระยะไกลหรือมีอันดับพิสัยยาว (long range order)
 Amorphous (โครงสร้างอสัณฐาน) คือของแข็งที่ไม่มีลักษณะของความ
เป็นผลึกอยู่เลย หรืออีกนัยหนึ่งคือมีการจัดเรียงตัวของอะตอม / โมเลกุลอย่าง
ไม่เป็นระเบียบและไม่มีตำแหน่งที่แน่นอน

SiO2

Taisiya Skorina, Sr. Materials Chemist at 3M Corporation, MIT

33
Crystalline materials:
Regular & Repetitive packing of atoms

 Monocrystalline (โครงสร้างผลึกเดี่ยว) – คือของแข็งที่ประกอบไปด้วยผลึกเดี่ยว โดยเกิด


จากการจัดเรียงที่เป็นระเบียบไปในทิศทางเดียว
 Polycrystalline (โครงสร้างหลายผลึก) - คือของแข็งที่ประกอบไปด้วยผลึกเล็กๆ หรือเกรน
จำนวนมากที่ถูกแบ่งแยกด้วยขอบเกรนวของกลุ่มของอะตอม ไอออนหรือโมเลกุล
เกรน (Grain)

34 Creative Commons Attribution-Share Alike 4.0 International


https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/e/eb/Schematic_of_allotropic_forms_of_silcon_horizontal_plain.svg
เซลลแสงอาทิตยจากซิลิกอน (Si)

https://cheminerals.wordpress.com/2015/05/17/obsidian/

35
การตรวจสอบทางโลหวิทยา
(Metallographic Examination)
Grinding /
Cutting Mounting Polishing

Etching
Microscopy

36
โครงสรางจุลภาค (Microstructure)
โดยทั่วไป โครงสร้างจุลภาคของโลหะจะมีขนาดใหญ่เพียงพอที่จะตรวจสอบ
ด้วยกล้องจุลทรรศน์ ในกรณีที่รายละเอียดมีขนาดเล็กมาก อาจจำเป็นต้อง
ใช้กล้องที่มีกำลังขยายสูงกว่านั้น

Polished and etched


polycrystalline iron-
chromium alloy

37
Macrostructure (โครงสรางแมคโคร)
ลวดทองแดง แท่งทองแดง
มองเห็นไดดวยตาเปลา

38
โครงสรางผลึกของวัสดุ
 การอัดแน่นของอะตอมชนิดเดียวกันหรือที่มี
ขนาดใกล้เคียงกัน เช่น วัสดุโลหะ (Fe, Cu
เป็นต้น)
Packing of Atoms of the Same Size

 การอัดแน่นของอะตอม (ไอออน) ต่างชนิด


กันหรือที่มีขนาดแตกต่างกัน เช่น วัสดุเซรา
มิก (NaCl, ZnS เป็นต้น)
Packing of Atoms/Ions having
Different Size

39
โครงสรางผลึก
แตละอะตอมหรือไอออนมีการจัดตัวเปนแบบที่ซ้ําๆ กันเปนของแข็งที่มี
อันดับพิสัยยาว (long-range order) สามารถอธิบายใหเขาใจงายๆ โดย
ใชจุดตัดของเสนโครงขาย เรียกวาโครงผลึกหรือแลททิซ (lattice) และจะ
เรียกวาสเปซแลททิซ (space lattice) ในโครงผลึก 3 มิติ
Crystal Structure = Motif (Basis) + Lattice/space lattice

groups of atoms or ions เสนโครงขาย 2/3 มิติ โดยแตละจุดจะถูกหอม


ลอมดวยจุดอื่นๆ ในลักษณะเดียวกัน
หน่ วยเซลล ์ (unit cell)

= +
40
หนวยเซลล (unit cell)
หน่วยพื้นฐานที่ซ้ำๆ
กันของผลึก

จุดแลททิซ (lattice point)


จุดที่เป็นตัวแทนของโครงสร้างผลึก โดยอาจเป็นอะตอม โมเลกุล
ไอออน หรือกลุ่มของอะตอม โมเลกุลหรือไอออน
41
= +

Lattice  How to repeat


Motif/Basis  What to repeat

= +

42
Packing of Atoms of the Same Size

2D-Lattice
Square array, Oblique array, Hexagonal array
y
เลขโคออร์ดเิ นชัน
(coordination
y number, CN)
x y

x x

Square Oblique Hexagonal


array array array
การจัดเรียงแบบทรง การจัดเรียงแบบทรง การจัดเรียงแบบทรงหก
สี่เหลี่ยมจตุรัส สี่เหลี่ยมรูปทรงเฉียง เหลี่ยม
เราจะจัดเรียงอะตอมอย่างไรให ้มีโครงสร ้างทีอัดแน่ นมากทีสุดหรือมีชอ่ งว่างน้อยทีสุด
43
3D-Lattice
2D array 3D array – Space lattice
stacking
Closed-Packed Structures
The centers of spheres at A, B, and C positions

https://chem.libretexts.org/Bookshelves/General_Chemistry/Book%3A_General_Chemistry_Supplement_(Eames)/S
44 olids/Metal_Crystal_Structures
Closed-Packed Structures

1. Hexagonal close packing (HCP) ซึงมีการจัดเรียงตัวแบบ ABAB… (หรือจะเป็ น


ACAC… ก็ได้ เพราะว่าทังสองช่องว่างนีถือว่าสมมาตรกัน)
https://chem.libretexts.org/Bookshelves/General_Chemistry/Book%3A_General_Chemistry_Supplement_(Eames)/S
45 olids/Metal_Crystal_Structures
HCP
A A
B
A
B
B
A
B
A
A

http://chemwiki.ucdavis.edu/Textbook_Maps/General_Chemistry_Textbook_Maps/Map%3A_Lower's_Chem1/07%3A_Solids_and_Liquids/7.8%3A
_Cubic_Lattices_and_Close_Packing

46
Closed-Packed Structures

2. Cubic close packing (CCP) หรือ face centered cubic (FCC) ซึงมีการ
จัดเรียงตัวแบบ ABCABC… กล่าวคืออะตอมจะเรียงตัวซํากันทุกๆ 3 ระนาบ
https://chem.libretexts.org/Bookshelves/General_Chemistry/Book%3A_General_Chemistry_Supplement_(Eames)/S
47 olids/Metal_Crystal_Structures
https://opentextbc.ca/chemistry/ch
apter/10-6-lattice-structures-in-
crystalline-solids/ A

FCC C
A

48 W. D. Callister, Jr., “Materials Science and Engineering: an Introduction,” John Wiley & Sons, Inc.
ระบบผลึก (Crystal system)
 โครงสร้างผลึกสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มตามรูปร่างของหน่วยเซลล์และการจัดเรียง
ของอะตอม
ขนาดและรูปรางของหนวยเซลลกําหนดโดย
 แบงตามรูปราง – ระบบผลึกมี 7 ชนิด มุม , ,  และ จุดตัดแกน a, b และ c

49 Basics of Crystal Structures by Ethelbert Armstrong


ตามการจัดเรียงของอะตอม:
Primitive (P), Base-Centered (C),
Body-Centered (I), Face-Centered (F)
Cubic แลททิซบราเวส
(Bravais Lattice)

Tetragonal Monoclic

Orthorhombic
In the classification into 6 crystal system, the trigonal crystal system is combined with
the hexagonal crystal system and grouped into a larger hexagonal family.

Rhombohedral/ Hexagonal Triclinic


Trigonal
50
โครงสรางผลึกของโลหะ
 อะตอมโลหะจะยึดเหนี่ยวดวยพันธะโลหะ
 ประมาณ 90% ของโลหะจะมีโครงสรางแบบ

FCC, BCC, HCP

51 W. D. Callister, Jr., “Materials Science and Engineering: an Introduction,” John Wiley & Sons, Inc.
คุณลักษณะที่สําคัญของโครงสรางผลึก

 เลขโคออรดิเนชัน (coordination number, CN) คือจํานวนอะตอมขางเคียง


ที่เรียงชิดติดกัน
 จํานวนอะตอมในหนึ่งหนวยเซลล
 รัศมีอะตอมและแลททิซพารามิเตอร (atomic radius and lattice
parameter)
 คาความอัดแนนของอะตอม (atomic packing factor, APF) ซึ่งก็คือ
อัตราสวนระหวางปริมาตรของอะตอมทั้งหมดตอปริมาตรของหนวยเซลลที่
สัมพันธกับโครงสรางนั้นๆ
 จุด ทิศทางและระนาบในหนวยเซลล

52
Simple Cubic (SC)
 เลขโคออรดิเนชัน (coordination number, CN)
 จํานวนอะตอมในหนึ่งหนวยเซลล
 รัศมีอะตอมกับแลททิซพารามิเตอร (atomic radius
and lattice parameter)

a
a
a = 2R

53
Atomic Packing Factor, APF
คาความอัดแนนของอะตอม (atomic packing factor, APF) คืออัตราสวน
ระหว า งปริ ม าตรของอะตอมทั้ง หมดตอ ปริ ม าตรของหน ว ยเซลล ที่ สัม พั น ธ กั บ
โครงสรางนั้นๆ
SC

a
54 W. D. Callister, Jr., “Materials Science and Engineering: an Introduction,” John Wiley & Sons, Inc.
BCC
 เลขโคออรดิเนชัน
(coordination
number, CN)

a a

จํานวนอะตอมในหนึ่งหนวยเซลล

55
APF = Vatoms/unit cell
Vunit cell

ความสัมพันธระหวาง R และ a ??

56
BCC

a = 4R/3

แสดงวาในเนื้อที่ 1 หนวยของ BCC จะมีสวนที่เปนเนื้อของ


อะตอมอยู 0.68 หนวยและสวนที่เหลือ 0.32 หนวยเปนที่วาง
57
Atomic Packing Factor – FCC??

 เลขโคออรดิเนชัน
(coordination
number, CN)

a a

APF = Vatoms/unit cell


Vunit cell
a
58
58 W. D. Callister, Jr., “Materials Science and Engineering: an Introduction,” John Wiley & Sons, Inc.
Atomic Packing Factor - FCC
1 หน่วยเซลล์ของโครงสร้างผลึก FCC
การหาจํานวนอะตอมต่อหนึงหน่วย
เซลล์ของ FCC สามารถหาได้ดงั นี
อะตอมทีกึงกลางด้านทัง 6 ด้าน =

อะตอมทีมุม 8 มุม =

ดังนัน
อะตอมรวม =

59 W. D. Callister, Jr., “Materials Science and Engineering: an Introduction,” John Wiley & Sons, Inc.
ความยาวแต่ละด้านของหน่วยเซลล์ = a
เส้นทแยงมุมของลูกบาศก์ = 4R
เมือ R คือรัศมีของอะตอม
จากความสัมพันธ์ทางเรขาคณิต จะได้วา่

60
61
พิกัดจุด (point coordinates)
การกําหนดตําแหนงของอะตอมในหนวยเซลล จะใชแกนผลึก x, y, และ z เปนแกน
อางอิง โดยจะบอกเปนสัดสวนของความยาวขอบของหนวยเซลลในแตละแกน อางอิง
จากจุดเริ่มตน (0,0,0) การเขียนแบบสามมิติจะใชเครื่องหมายจุลภาคคั้นระหวางเลข
ในวงเล็บ
z z
(1/2,1/2,1/2)
(1,1,1)

c
(0,0,0) (0,0,0)
y a/2 c/2 y
a
b/2
b
x x

62
ตําแหนงของอะตอมในโครงสราง BCC

x (0,0,0)

63
ทิศทางของผลึก (Crystallographic directions)
 เปนเวคเตอรที่บงบอกทิศทางในผลึก
 การหาดัชนีทิศทาง (Indices of Direction) สามารถทําไดดังนี้
• ใช้ระบบพิกัดตามแนวแกนผลึกทั้งสาม หาจุดพิกัดของ 2 จุดที่อยู่ใน
ทิศทางที่กำหนด
• ใช้จุดพิกัดของหัวลูกศร (จุดพิกัดปลายทาง) ลบด้วยจุดพิกัดของหาง
ลูกศร (จุดพิกัดต้นทาง)
• ทำตัวเลขให้เป็นจำนวนเต็มที่น้อยที่สุด
• เขียนเซทของตัวเลขใน brackets, [hkl] โดยไม่มีเครื่องหมายแยก ถ้า
ตัวเลขดัชนีที่ได้ติดลบ ให้ขีดเส้นไว้เหนือตัวเลขนั้น
64
ดัชนีทิศทาง (Indices of Direction)
z z

c c
(0,0,0)
y y
a a (0,0,0)

b b
x x
x y z x y z
พิกัดปลายทาง
พิกัดตนทาง

65
B
ตัวอยาง
1. เลือก origin (o)
2. จุดพิกัดตั้งตน
(0,0,0) 3. จุดพิกัดปลาย

x y z

พิกัดปลายทาง
พิกัดตั้งทาง

66
ดัชนีระนาบแลททิซ (Indices of Lattice Plane)

ขั้นตอนการหาดัชนีมิลเลอร์ของระนาบสามารถทำได้ดังต่อไปนี้
1. หาจุดกำเนิดโดยไม่ให้ตัดกับระนาบที่สนใจ
2. หาระยะห่างระหว่างจุดตัดของระนาบบนแกนผลึก x, y และ z กับจุดกำเนิดในรูปของตัวแปรแลททิซ
(lattice parameters)
3. ทำให้เป็นเศษส่วนกลับของค่าในข้อ 1
4. คูณค่าทั้งสามด้วยตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.)
5. ดัชนีมิลเลอร์ของระนาบหรือดัชนีระนาบแลททิซสามารถเขียนได้โดยนำจำนวนเต็มในข้อ 4 ไว้ในวงเล็บ
(hkl)

ในทางกลับกัน ถ้าทราบดัชนีมิลเลอร์ของระนาบ ก็สามารถหาระนาบดังกล่าวได้ตามขั้นตอนต่อไปนี้


1. หาส่วนกลับของดัชนีมิลเลอร์ซึ่งก็คือจุดตัดของแกนผลึกทั้ง 3 แกน
2. หาตำแหน่งจุดตัดบนแกนผลึกทั้ง 3 ลากเส้นเชื่อมจุดทั้ง 3 รูปที่ได้คือระนาบผลึกที่ต้องการ

67
x y z
z
จุดตัดแกน
กลับเศษสวน

x
68
z
x y z

x ไม่เหมือนกับในกรณีของ
z
ทิศทาง
x y z

x
69
ตัวอยาง

Plane 1 Plane 2
x y z x y z x y z

70 W. D. Callister, Jr., “Materials Science and Engineering: an Introduction,” John Wiley & Sons, Inc.
Exercise
Miller Indices
เฉลย

71
72
73
74
75
Packing of Atoms having Different Size

76 https://opentextbc.ca/chemistry/chapter/10-6-lattice-structures-in-crystalline-solids/
ชองวางในโครงสรางผลึกแบบอัดแนน

http://image.slidesharecdn.com/mt-201bmaterialsciencenew-120528122516-
phpapp02/95/mt-201-b-material-science-new-74-728.jpg?cb=1338208028

77
ชองวางในโครงสรางผลึกแบบอัดแนน

http://chemwiki.ucdavis.edu/Textbook_Maps/General_Chemistry_Textbook_Maps/Map%3A_Lower's_Chem1/07%3A_Solids_and_Liquids/7.8%3A
_Cubic_Lattices_and_Close_Packing

78
ตัวอยาง NaCl

Octahedral voids

CNNa+ = 6

CNCl- = 6

79 https://www.chemguide.co.uk/atoms/structures/ionicstruct.html
ตัวอยาง CaF2

Tetrahedral voids

CNCa2+ = 8

CNF- = 4

80 https://cdn.britannica.com/33/2633-050-25209825/NaCl-structure-CaF-2-fluorite.jpg
ตัวอยาง ZnS

Tetrahedral voids

CNZn2+ = 4

CNS2- = 4

S2- Zn2+

81
82 https://chemed.chem.purdue.edu/genchem/topicreview/bp/materials/graphics/13_19.gif
Defects in Solids (ความบกพรองในผลึกของแข็ง)
 คือการจัดวางตัวของแลททิซที่ผิดเพีย้ นไปจากรูปแบบเดิมทั้งใน 0, 1, 2, 3 มิติในระดับ
อะตอม
 แบงออกเปน 4 ชนิดตามขนาด
 0-dimensional defects (point defects, ตําหนิแบบจุด): เชน solutes หรือ impurity
atoms, vacancy
 1-dimensional defects (line defects, ตําหนิแบบเสน): เชน dislocations
 2-dimensional defects (interfacial/planar defects, ตําหนิแบบรอยตอหรือแบบระนาบ)
เชน surfaces, grain boundaries
 3-dimensional defects (volume defects, ตําหนิแบบกอน): เชน precipitates, voids
หรือ porosities
 ความไมสมบูรณประเภทนี้ทําให ceramics/glasses เปราะ
 ตัวอยาง แกวที่มีรอยแตกบนพื้นผิว จะมีสมบัติเชิงกลที่แยลงมาก
 ขนาดรอยแตก10-4 cm ลึก ทําใหแกวมี fracture strength ลดลงจาก 106 psi เปน
104 psi
83 ผลึกของแข็งที่สมบูรณแบบไมมีอยูจริง
Vacancies (ชองวาง) and Interstitials (การแทรกที่)

• การเกิดชองวาง (Vacancies) เกิดจากมีอะตอมหรือไอออนบางตัวที่อยูในโครงสรางไดหายไป


• การแทรกที่ (Interstitials) เกิดจากอะตอมหรือไอออนเขาไปแทรกตัวอยูในชองวางระหวาง
อะตอม ซึ่งอาจเปนอะตอมหรือไอออนในโครงสรางหรือที่แปลกปลอมเขามา
• การแทนที่ (Substitutional) ของอะตอมหรือไอออนแปลกปลอม (Impurity atoms/ions) ก็
ถือไดวาเปนความบกพรองแบบจุดไดเชนกัน
84 W. D. Callister, Jr., “Materials Science and Engineering: an Introduction,” John Wiley & Sons, Inc.
Solid Solution (สารละลายของแข็ง)
Pure Material Interstitial solid solution

Substitutional solid solution

85
ความบกพรองในสารประกอบไอออนิก

Schottky
defect
Why not an
anionic
Frenkel Frenkel?.
defect

• Frenkel Defect
- ไอออนบวกที่มีขนาดเล็กเขาไปแทรกที่อยูในซอกระหวางไอออนลบกับไอออน
บวกอีกตัวหนึ่ง ทําใหเกิดชองวางของประจุบวก
• Schottky Defect
- เกิดจากทั้งไอออนบวกและไอออนลบหลุดจากโครงสรางไป
86
ความบกพรองในสารประกอบไอออนิก
ประจุของโครงสรางจะตองเปนกลางเสมอ
(Charge neutrality)

ถาไอออนแทนที่มีประจุที่แตกตางจากไอออน
เดิม ความบกพรองหรือตําหนิอีกชนิดจะถูก
สรางขึ้นมาเพื่อสมดุลของประจุ

Substitutional cation impurity: Ca2+ in NaCl

87
ตัวอยางของ point defects

88
Line Defects (Dislocations)
ตัวอยาง
ช้อนที่งอเกิดจากการเคลื่อนที่ของ
dislocations จำนวนมาก ทำให้เกิดการ
เสียรูปแบบถาวร

 มักจะเกิดในโลหะหลอมเหลวแข็งตัว โดยในระหวางการเย็นตัว บางระนาบของอะตอมอาจเขามา


แทรกระหวางระนาบอะตอม ทําใหผลึกเกิดการบิดเบี้ยงในระยะรัศมีสั้นๆ หรืออาจเกิดจากการที่
วัสดุผิดรูปแบบพลาสติก plastic deformation
 แบงออกเปน 2 ชนิดที่สําคัญ ไดแก Edge dislocation และ Screw dislocation
 ทั้งการเคลื่อนที่แบบ Edge dislocation และ Screw dislocation จะใหผลการเปลี่ยนรูป
สุทธิเหมือนกัน

89
Edge Dislocation

Edge dislocations in
dicalcium silicates
R. Shahsavari et al., Cement and Concrete
Research, 90, 80-88 (2016).

เปนจุดบกพรองแบบเสนเกิดจากการแทรกของระนาบครึ่งระนาบ
พิเศษ (Extra-half plane)

90 W. D. Callister, Jr., “Materials Science and Engineering: an Introduction,” John Wiley & Sons, Inc.
การเคลื่อนที่ของ dislocation เปรียบเทียบกับการเคลื่อนที่
ของปลองหนอน

Callister Jr, 2000


-- ถาผลึกที่มี edge dislocation ไดรับความเคนเฉือน จะเกิดการเลื่อนของ
อะตอมและจัดเรียงใหม
-- ระนาบที่เลื่อนไถล จะเรียกวา “Slip plane”
-- ทิศทางและขนาดที่ระนาบอะตอมเคลื่อนที่จะเรียกวา Burgers vector ซึ่งจะ
ตั้งฉากกับ dislocation line
91
Screw Dislocation

screw dislocations in GaN

H. Yang et al., Nature Communications, 6, Article


number 7266 (2015).

-- เปนลักษณะที่แถวหรือระนาบของอะตอมที่อยูผิดสภาพ โดยมีรูปรางเปนเกลียวหรือ
เปนชั้นวน
-- Burgers vector จะขนานกับ dislocation line
92 W. D. Callister, Jr., “Materials Science and Engineering: an Introduction,” John Wiley & Sons, Inc.
-- ความบกพรองแบบนี้เกิดขึ้นจากสวน
ในสวนหนึ่งมีลักษณะเหมือนถูกเฉือน
แลวดันสวนหนึ่งใหเลื่อนขึ้นขางบน จาก
รูป แทนดวยเสน AD และกดสวนหนึ่ง
ใหต่ําลงแทนดวยเสน BC ซึ่งจะทําให
ขอบของผลึกมีแนวไมตรงกัน ดังนั้นเสน
AB ก็คือ Screw Dislocation นั่นเอง

93 W. D. Callister, Jr., “Materials Science and Engineering: an Introduction,” John Wiley & Sons, Inc.
Edge Dislocation

Screw Dislocation

94
Interfacial/Planar defects
ขอบเกรน (Grain boundary)
 ขอบเขตของเกรนในโครงสรางที่มี
หลายผลึก เมื่อเกรนแตละเกรนสัมผัส
กันจะทําใหเกิดขอบเขตของเกรน ซึ่งมี
atomic packing ที่ต่ํากวาภายใน
ตัวเกรน เนื่องจากการจัดเรียงตัวที่ไม
เปนระเบียบของอะตอม
 สะสมสิ่งเจือปนหรือ impurity
 อะตอมบางอะตอมอยูในตําแหนงที่
มีความเคนสูง ขอบเกรนมุมต่ําและ
ของเกรนมุมสูง

95
Interfacial/Planar defects
ขอบเกรนแบบเอียง (Tilt boundary)
เกิดจากการเรียงตัวของดิสโลเคชัน

https://www.jeol.co.jp/
96
Interfacial/Planar defects
Free surface
อะตอมบนพื้น ผิว จะเกิดพัน ธะกับอะตอมอื่ น
เพี ย งด า นเดี ย ว ดั ง นั้ น จะอยู ใ นสภาวะของ
พลังงานที่สูงกวา ทําใหพื้นผิวของวัสดุมักจะ
เกิดปฏิกิริ ยากับธาตุบางชนิ ดในสิ่ ง แวดล อ ม
หรือ adsorp อะตอมชนิดอื่นในบรรยากาศ

Twin คือบริเวณที่ภาพสะทอนของโครงสราง
ปรากฏผานระนาบหรือขอบเขต จะเกิดขึ้นเมื่อ
วัสดุเกิดการเสียสภาพแบบพลาสติกหรือเสีย
สภาพอยางถาวร เชน จากการเลื่อนของ
อะตอมจากแรงเฉือน หรือจากการอบคืนตัว
Twin boundary ตามดวยการแปรรูป
97
ตัวอย่ าง

98 http://www.doitpoms.ac.uk/tlplib/dislocations/images/raft3.jpg
Volume defects
ตัวอยางเชน voids (กลุมของ vacancies), precipitates (การ
ตกตะกอนหรือกลุมของ impurities) หรือ cracks (รอยแตก)

99
การแพร
(Diffusion)

100 https://www.sciencefacts.net/diffusion.html
ปรากฏการณการแพร

101
การแพร (Diffusion)
Interdiffusion:
(การแพรของอะตอมตางชนิด)
คือกระบวนการที่อะตอมชนิดหนึ่ง
แพร่เข้าไปในโครงสร้างของอะตอมอีก
ชนิดหนึ่งหรือการแพร่ของอะตอม
แปลกปลอม

ในชวงแรก

102 W. D. Callister, Jr., “Materials Science and Engineering: an Introduction,” John Wiley & Sons, Inc.
ในการแพร่ของอะตอมแปลกปลอม จะเกิด
การเปลี่ยนแปลงของความเข้มข้นของ
อะตอมแต่ละชนิดไปตามเวลา จากบริเวณที่
มีความเข้มข้นสูงกว่าไปยังบริเวณที่ความ
เข้มข้นต่ำกว่า

หลังเวลาผานไป

103 W. D. Callister, Jr., “Materials Science and Engineering: an Introduction,” John Wiley & Sons, Inc.
การแพร (Diffusion)
Self-diffusion:
(การแพรของอะตอมชนิดเดียวกัน)
คือกระบวนการแพร่ที่เกิดจากการเคลื่อนย้ายตำแหน่งของอะตอมชนิดเดียวกัน
หลังเวลาผานไป

104
Diffusion Mechanisms
การแพรโดยอาศัยชองวาง
อะตอมในวัสดุของแข็งต่างก็มีการ
เคลื่อนที่อยู่ตลอดและเปลี่ยนตำแหน่ง
อย่างฉับพลัน โดยมีเงื่อนไข
 ต้องมีช่องว่างอยู่ข้างๆ
 อะตอมต้องมีพลังงานสูงพอที่จะ การแพรแบบแทรกที่
ทำลายพันธะที่มีต่ออะตอมข้างเคียง
ของมัน (เช่น พลังงานจากการสั่น
ตามธรรมชาติของอะตอม – lattice
vibration

105
พลังงานกระตุน (Activation Energy)

106
Diffusion: a Thermally Activated Process
สัมประสิทธิ์การแพร (D) บอกถึงระดับความเร็วที่อะตอมนั้นๆ จะแพรไปได
 ขึ้นอยูกับชนิดอะตอมที่แพรและตัวกลางที่แพร
 ขึ้นอยูกับอุณหภูมิ
Activation energy
Pre-exponential (J/mol, eV/mol)
(m2/s)
 Qd 
D  D0 exp   Absolute temperature (K)

Diffusion
 RT 
Gas constant (8.31 J/mol-K,
coefficient (m2/s) 8.62  10-5 /atom-K)

107
Diffusion: a Thermally Activated Process

 Qd 
D  D0 exp   
 RT 
C in -Fe

Diffusion coefficient
Qd 1
ln D  ln D0    C in -Fe

intercept
R T 
slope
Al in Al
on a plot of ln D vs. 1/T Zn in Cu

Fe in -Fe
Dinterstitial > Dsubstitutional Fe in -Fe Cu in Cu

Reciprocal temperature, 1/T


108 W. D. Callister, Jr., “Materials Science and Engineering: an Introduction,” John Wiley & Sons, Inc.
STRUCTURE & DIFFUSION

Diffusion FASTER for... Diffusion SLOWER for...


• open crystal structure • close-packed structures
• lower melting point • higher melting point
• materials w/ secondary • materials w/ covalent
bonding bonding
• smaller diffusing atoms • larger diffusing atoms
• cations • anions
• lower density materials • higher density materials

109

You might also like