Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 8

การวิเ คราะห์ค ่าเหมาะทีสุด ของผังโครงถัก ด้วยกระบวนการทอพอโลยีเ หมาะทีสุด ร่วมกับ การ

ออกแบบเชิงกําเนิด
Optimizing Truss Layouts with Combined Topology Optimization and Generative Design
จิรภัทร ปาทาน1 จักรพันธ์ เทือกต๊ะ2 ศิรเดช สุรติ 3
Jirapat Patan1 Jakkapan Tuaktra2Siradech Surit3

บทคัด ย่อ
การวิจยั นีมีวตั ถุประสงค์เพือวิเคราะห์ผงั ทีเหมาะทีสุดของโครงถักเหล็กโดยใช้วิธีผสมผสานของทอพอโลยี
เหมาะทีสุดร่วมกับการออกแบบเชิงกําเนิด (Combine Topology Optimization, CTO) ในการสร้างแบบจําลองโครง
ถัก และ ใช้เกณฑ์พลังงานตําสุดเพือเปรียบเทียบประสิทธิภาพของแบบจําลองโครงถักระหว่างกระบวนการ CTO
ร่วมกับกระบวนการทอพอโลยีเหมาะทีสุดแบบดังเดิม โดยในการวิจยั ครังนีเริมจากการสร้างแบบจําลอง มิติของทอ
พอโลยีของโครงถัก รู ปแบบทีมีช่วงความยาว . , . และ . เมตร และ ความสูง . เมตร ซึงรองรับนําหนัก
บรรทุก ขนาด 50,000 กก. กระทํา ทีกึงกลางของโครงถักเท่า กัน เพื อสร้า งรู ป ทรงเบืองต้น ของโครงถักจากนันหา
แบบจําลองของโครงถักทีเหมาะทีสุด โดยกระบวนการออกแบบเชิงกําเนิดช่วยสนับสนุนการตัดสินใจของผูอ้ อกแบบ
ซึงทําให้ได้ผลลัพธ์ทีหลากหลายและเหมาะสมมากกว่าจากนันนําผลลัพธ์ทีได้มาประเมินผลโดยใช้เกณฑ์พลังงาน
ความเครียดตําสุดเป็ นเกณฑ์ในการวิเคราะห์คา่ เหมาะทีสุด
ผลการวิจยั พบว่าวิธีผสมผสานของทอพอโลยีเหมาะทีสุดสามารถใช้ในการค้นแบบจําลองโครงถักทีเหมาะ
ทีสุดได้อย่างมีประสิทธิ ภาพ โดยพิจารณาผลลัพธ์จากกระบวนการ CTO มีค่าพลังงานความเครียดสะสมเท่ากับ
เท่า กับ 78.99,119.76 และ 158.46 J. ซึงมี ค่า น้อยกว่ากระบวนการทอพอโลยี แ บบดังเดิมซึงมี ค่าเท่ า กับ 87.74,
138.80 และ 183.20 J. และ กระบวนการ Truss Arch กับ Truss Action 86.64, 135.08 และ 180.17 J. สําหรับช่วง
ความยาว 3.0, 4.0 และ4.8 เมตรตามลําดับ
คําสําคัญ :ทอพอโลยีเหมาะทีสุดของโครงสร้าง,การออกแบบเชิงกําเนิด, โครงถัก

Abstract
This research aims to examine the optimal layout of steel trusses utilizing a hybrid approach that
integrates Combined Topology Optimization (CTO) with traditional topology optimization methods. The
study employs a truss and the minimum power threshold to evaluate the performance of the truss model,
comparing the integrated CTO process with conventional topological optimization.

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ


1,2

Department Civil Engineering, Faculty of Engineering, Kasetsart University, Bangkok 10900, Thailand
ภาควิชานวัตกรรมอาคาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ
3

Department of Building Innovation, Faculty of Architecture, Kasetsart University, Bangkok 10900, Thailand

1
The research conducted a 2D modeling of the topologies for three trusses with span lengths of 3.0, 4.0,
and 4.8 meters and a height of 1.0 meter. These trusses were designed to support a central load of
50,000 kg. A preliminary truss shape was first established, followed by a process to identify the best-
fitting truss model. This generative design process assists in decision-making, leading to a broader range
of more suitable outcomes. Subsequently, the minimum strain energy criterion was employed to assess
optimal values in the resulting models.
The findings demonstrated the potential of the hybrid method to efficiently locate the most
appropriate truss model. According to the results derived from the CTO process, the cumulative strain
energies were found to be 78.99, 119.76, and 158.46 J, respectively. These values were notably lower
than those observed in traditional topological optimization processes (87.74, 138.8, and 183.20 J) and in
both the Truss Arch and Truss Action processes (86.64, 135.08, and 180.17 J) for span lengths of 3.00,
4.00, and 4.80 meters, respectively.
Keywords: Structural Topology Optimization, Generative Design, Truss

บทนํา
โครงถัก (Truss) เป็ นระบบโครงสร้างทีมีประสิทธิภาพสูงสามารถใช้งานในโครงสร้างทีมีช่วงพาด (span)
ระยะระหว่า งจุด รองรับ ที มี ค วามยาวตังแต่ 10 เมตร ถึ ง 20 เมตร โดยทัวไปกระบวนการออกแบบเชิ ง แนวคิ ด
(Conceptual Design) ของโครงถักนิยมใช้การประมาณค่าความสูงโครงถัก และ ระยะระหว่างคํายันแนวดิง เช่น
L/20 ถึง L/12.5 เป็ นระยะทีมีความอนุรกั ษ์และอาจไม่สะท้อนถึงรู ปทรงของโครงถักเนืองจากมีช่วงการประมาณที
กว้างและหลากหลายรวมถึงไม่ได้ให้คาํ ตอบถึงรูปแบบการวางผัง (Layout) ของโครงถักซึงเกียวข้องกับพฤติกรรมการ
รับนําหนัก
ทีผ่านมากระบวนการออกแบบเชิงแนวคิดโดยการประยุกต์ใช้ทอพอโลยีเหมาะทีสุดเพือหาผังของโครงถักที
เหมาะทีสุด โดยการวิเคราะห์ทอพอโลยีเหมาะทีสุดซึงเป็ นกระบวนการทางคณิตศาสตร์ทีทําให้วสั ดุมีแผนผังหรือแบบ
โครงสร้างทีมี ความเหมาะสมในพืนทีออกแบบกับนําหนักบรรทุกร่วมกับเงือนไขขอบเขต ตามความต้องการของ
โครงสร้าง กล่าวคือเป็ นกระบวนการวิเคราะห์แผนผัง ทีได้จากกระบวนการทําให้เหมาะทีสุดร่วมกับฟั ง ก์ชัน การ
กระจายความหนาแน่นของวัสดุในพืนทีออกแบบ (Bendsøe, M. & Sigmund, O., 1999) การประยุกต์กระบวนการ
วิเคราะห์ทอพอโลยีเหมาะทีสุดสามารถสร้างรู ปแบบแนะนํา (Form-suggestion) (Siradech., S, & Benjapon., W.
2006) ในกระบวนการออกแบบเชิงแนวคิด ในด้านการออกแบบโครงถักกระบวนการวิเคราะห์ทอพอโลยีเหมาะทีสุด
และสามารถนํามาประยุกต์ใช้การวิเคราะห์ผงั การเสริมเหล็กในโครงสร้าง (Siradech., S, & Benjapon., W., 2011 )
และ แบบจําลองแขนคํายันและตัวยึด (Strut-and-Tie Model, STM) (Liang, QQ., et al., 2000) ทีเหมาะทีสุดเพือใช้
ในการวิเคราะห์โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยเฉพาะในกรณีบริเวณแรงกระทําซับซ้อน (Disturbed regions, D-
Region) ไม่เป็ นพฤติกรรมคานทีชัดเจน เช่น ส่วนของคานลึกทีมีช่องเปิ ด หรือ ระบบผนังสําเร็จรูป

2
จากงานวิจัยของ (Hardjasaputraa, H., 2015) แสดงถึงการวิเคราะห์แบบจําลองโครงถักของการสร้า ง
แบบจําลองแขนคํายันและตัวยึด (รู ปที 1 และ 2) ทีเหมาะทีสุดโดยอ้างอิงรู ปแบบผังของ STM จากกระบวนการ
วิเคราะห์ทอพอโลยีเหมาะทีสุด อย่างไรก็ตามในกรณีศกึ ษา B อาจเห็นได้วา่ ผูอ้ อกแบบไม่ได้ทาํ การจําลองแบบจําลอง
โครงถักตามขอบเขตของกระบวนการทอพอโลยีเหมาะสมทังหมด อาจกล่าวได้วา่ การใช้งานรูปแบบแนะนํา อาจมีการ
อคติ (bias) จากผูอ้ อกแบบรวมอยู่ ทําให้มีความเป็ นไปได้ว่าอาจมีผลลัพธ์อืนทีเหมาะสมมากกว่าดังนันการนําทอ
พอโลยี เหมาะทีสุดมาประยุกต์ใช้กับการวิเคราะห์ผังทีเหมาะทีสุดของโครงถักอาจทําได้โดยการปรับเปลียนการ
กระจายตัวของเนือวัสดุซงวิ
ึ ธีนีสามารถเป็ นแนวทางสําหรับการสร้างแบบจําลองเบืองต้นให้สอดคล้องกับหน่วยแรงที
เกิดขึนจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพแต่ยงั คงต้องอาศัยการตัดสินใจจากผูอ้ อกแบบ

รูปที1ทอพอโลยีของแบบจําลองแขนคํา รูปที2แผนผังโครงสร้างจากระบวนการ
ยันและตัวยึด ทอพอโลยีทีเหมาะทีสุด
ทีมา(Hardjasaputraa, H., 2015) ทีมา: (Hardjasaputraa, H., 2015)

เพือลดอคติจากผูอ้ อกแบบทีอาจเกิดขึน ในงานวิจยั นีจึงประยุกต์ใช้การออกแบบเชิงกําเนิด (Generative


Design) เป็ นเครืองมือสนับสนุนในขันตอนทีตัดสินใจโดยผูอ้ อกแบบ โดยทีการออกแบบเชิงกําเนิดซึงมีวตั ถุประสงค์
เพือสร้างกระบวนการออกแบบทีสร้างผลลัพธ์เชิงปริมาณภายใต้เงือนไขทีกําหนดและยังคงมี ประสิทธิ ภาพตาม
เงือนไขการออกแบบ (Frazer.J.,2002) การออกแบบเชิงกําเนิดมีหลักการคือการสร้างทางเลือกการออกแบบจํานวน
มาก ผ่ า นกฎการออกแบบ (Rule) และ อัล กอริทึ ม (Algorithm) ประกอบกับ ความรวดเร็ว ของคอมพิ ว เตอร์เพือ
ตรวจสอบทุกตัวเลือกการออกแบบและประเมินเพือหาผลลัพธ์ทีเหมาะทีสุดตามเงือนไขการออกแบบ ทีผ่านมามีการ
ประยุกต์ใช้การออกแบบเชิงกําเนิดในการออกแบบทางวิศวกรรมหลากหลายสาขา เช่น การวิเคราะห์ระบบโครงสร้าง
เฟรมในระบบพิกดั ฉากทีเหมาะทีสุด (วิเศษ ฝากาทอง, 2564) การประมาณนําหนักเหล็กโครงสร้างอาคารโครงเฟรม
เหล็กเตียด้วยการออกแบบเชิงกําเนิด ( วิเศษ ฝากาทอง และ ศิรเดช สุริต, 2567) การออกแบบข้อต่อสําหรับเสา
โครงสร้า งแบบต้ น ไม้ (Joints for treelike column structures) โดย (Wang, H., et al., 2021) ประยุ ก ต์ใ ช้ ก าร
ออกแบบเชิงกําเนิดเพือออกแบบข้อต่อ สําหรับเสาโครงสร้างแบบต้นไม้ (Joints for treelike column structures)
สามารถสร้างแบบจําลองจํานวนมากได้อย่างรวดเร็วในคราวเดียว และ เมือเปรียบเทียบประสิทธิ ภาพกับ ข้อต่อ
สําหรับเสาโครงสร้างแบบต้นไม้ทีสร้างด้วยกระบวนการ อืน ๆ พบว่าการออกแบบเชิงกําเนิดให้ผลลัพธ์ทีมีนาหนั
ํ กเบา
และ ยังคงได้มีพฤติกรรมทีดีทีสุด (Djokikj, J.,et.al., 2021) ได้ประยุกต์ใช้การออกแบบเชิงกําเนิดในการออกแบบ
โครงสร้างทีไม่เป็ นเนือเดียว (Nonhomogeneous Structures) โดยทีรู ปร่างของโครงสร้างเหล่านีขึนอยู่กับประเภท
3
ของการใช้งาน และ นําหนักบรรทุกภายนอกเมื อประยุกต์ใช้การออกแบบเชิ ง กําเนิดในการออกแบบโครงสร้าง
ดังกล่าวทําให้ได้ผลลัพธ์ทีมีประสิทธิ ภาพทีครอบคลุมในภาพรวมตังแต่ การประหยัดวัสดุ, ความเสถียรภาพของ
โครงสร้าง, การดูดซับพลังงาน , การออกแบบภายใต้เงือนไขทีกําหนด และ ทําให้ได้รูปทรงของโครงสร้างทีเหมาะสม
ทีสุดต่อการใช้งานตามรูปแบบของนําหนักบรรทุกนันๆดังนันการประยุกต์ใช้การออกแบบเชิงกําเนิดช่วยสนับสนุนการ
ตัด สิ น ใจโดยผู้อ อกแบบนันทํา ให้ไ ด้ผ ลลัพ ธ์ที เหมาะที สุด ภายใต้เ งื อนไขการออกแบบและเงื อนไขการประเมิน
ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ทีกําหนด
ในด้า นการประเมิน ประสิ ท ธิ ภ าพการออกแบบ (Design Evaluation) ฟั ง ก์ชัน วัตถุป ระสงค์ (Objective
Function) ในงานวิจัยนีใช้เกณฑ์พลังงานความเครียดสะสมเป็ นเงือนไขการประเมินประสิทธิ ภาพของแบบจําลอง
โครงถักการวิเคราะห์พลังงานความเครียดคือเมือวัตถุยืดหยุ่นภายใต้ได้รบั แรงกระทําจะเกิ ดแรงภายในและการ
เปลียนรู ปสะสมเป็ น พลัง งานภายในซึงเรียกว่า พลัง งานสะสม สํา หรับ วัสดุอีลาสติกเชิง เส้น มี พ ลังงานสะสมต่อ
ปริมาตรหนึงหน่วยเท่ากับ 𝜎𝜀 ดังนัน เมือพิจารณาพลังงานสะสมทังหมดของชินส่วน (u) มีคา่ ดังสมการที (1)
𝑢 𝜎𝜀 𝑑𝑣 (1)
สําหรับกรณีแท่งเหล็กได้รบั แรงตามแนวแกน N โดยที 𝝈 และ 𝜺 แทน ความเครียด และ ความเค้นในแนวแกนแท่ง
เหล็ ก จากกฎของฮุ ค 𝜺 𝝈 /𝐸 และ dV = Adx โดยที V คื อ ปริ ม าตรหน้า ตั ด ของแท่ ง เหล็ ก และ A คื อ
พืนทีหน้าตัดของแท่งเหล็ก สมการ (1) เปลียนรูปเป็ น
𝑢 0
(2)
โดยค่า A ทําการคํานวนตามมาตรฐานวิธีการออกแบบโดยวิธีหน่วยแรงทียอมให้ (Allowable Stress Design Stress)
โดย A=N/0.6fy ดังนันจากสมการที(2) จะเปลียนรูปเป็ นสมการที (3)
.
𝑢 (3)
เนืองจากในงานวิจยั นีผลลัพธ์จากการออกแบบเชิงกําเนิดต้องการผลลัพธ์เชิงปริมาณ ผูว้ ิจยั จึงต้องทําการประเมินหา
ผลลัพธ์ทีเหมาะทีสุดโดยเกณฑ์พลังงานความเครียดสะสมตําสุด ซึงสะท้อนถึงความสามารถในการสะสมพลังงาน
ศักย์ทีอยู่ในโครงสร้างน้อยที สุดซึงหมายถึงครอบคลุม (Governing) ถึงเงือนไขสภาพสมดุล และแผนผังทีดีข อง
โครงสร้างโดยรวม

วัต ถุป ระสงค์


1. เพือวิเคราะห์แบบจําลองโครงถักเหมาะทีสุดโดยใช้วิธีผสมผสานของทอพอโลยีเหมาะทีสุด (Combine
Topology Optimization)
2. เปรียบเทียบประสิทธิภาพของแบบจําลองโครงถักระหว่างกระบวนการผสมผสานทอพอโลยีเหมาะทีสุดกับ
กระบวนการทอพอโลยีเหมาะทีสุดแบบดังเดิม โดยใช้เกณฑ์พลังงานตําสุด

อุป กรณ์แ ละวิธ ีก าร


อุปกรณ์
1. เครืองคอมพิวเตอร์สว่ นบุคคล จํานวน 1 เครือง

4
2. ซอฟต์แวร์โปรแกรม Autodesk Fusion 360 จํานวน 1 ชุด
3.ซอฟต์แวร์โปรแกรม Google Collaboratory จํานวน 1 ชุด

วิธีการ
ในงานวิจยั นีได้ศกึ ษาและสร้างแบบจําลอง กระบวนการคือ .กระบวนการทอพอโลยีเหมาะทีสุดแบบ
ดังเดิม .กระบวนการผสมผสานทอพอโลยีเหมาะทีสุด และ .กระบวนการ Truss Arch กับ Truss Action โดยทัง
กระบวนการศึกษาในช่วงพาด . . และ . ความสูง . เมตร โดยช่วงพาดและความสูงของแบบจําลองอ้างอิง
ตามกระบวนการTruss Arch และ Truss Action (He, ZQ., et al.,2020) และ สมมุติใช้คา่ นําหนักบรรทุก 50,000 กก.
ขันตอนที 1 กําหนดรูปร่างของโครงสร้าง, นําหนักบรรทุก, ฐานรองรับ และ ชนิดของวัสดุ
ขันตอนที 2 หาแผนผังของแบบจําลองโครงถักด้วยกระบวนการวิเคราะห์ทอพอโลยีเหมาะทีสุด
ขันตอนที 3 สร้างแบบจําลองโครงถักโดยใช้ Python ร่วมกับ Library anaStruct (Vink, R.,2023) (ศิรเดช สุริต,
2564)
ขันตอนที 3.1 สําหรับวิธีผสมผสานทอพอโลยีเหมาะทีสุด (Combine Topology Optimization) สร้างแบบจําลอง
ตามขันตอนต่อไปนี
ขันตอนที 3.1.1 กําหนดรูปร่างแบบจําลองตามทอพอโลยีเหมาะทีสุดทีได้จาก ขันตอนที 2
ขันตอนที 3.1.2 กําหนดตําแหน่งของจุดต่อทีเป็ นไปได้แบบตาราง (Grid) โดยใช้ระยะชดเชย (Offset) จากจุดต่อตัง
ต้น P(x,y) ตามแกน x และ แกน y เป็ นค่า dx และ dy ตามลําดับ ทีองศาความอิสระ โดยตําแหน่ง
ของจุดต่อทีเป็ นไปได้มีคา่ เท่ากับ P(x,y)±({x-mdx,…,x-2dx,x-1dx,x,x+1dx,x+2dx,…,x+mdx},{y-
ndy,…,y-2dy,y-1dy,y,y+1dy+2dy,… +ndy}) โดย m คือจํานวนการขยับจุดต่ออิสระตามแกน x
จากค่าตังต้น และ n คือจํานวนการขยับจุดต่ออิสระตามแกน y จากค่าตังต้นดังแสดงดังรูปที 3 โดย
ในการวิจยั นีเมทริกซ์ของระยะชดเชย มีคา่ m = n = 5 และ dx = dy = 0.05 m. ทําให้ได้ระยะ
ชดเชยคือ {-0.25, -0.20, -0.15, -0.10, -0.05, 0, 0.05, 0.10, 0.15, 0.20, 0.25}

รูปที 3 ตารางจุดต่อทีเป็ นไปได้ของแบบจําลองโครงถัก


ขันตอนที 3.1.3 สร้างกรณีศกึ ษาโดยใช้การออกแบบเชิงกําเนิดจากผลการคูณไขว้ (Cross Product) ของตําแหน่งจุด
ต่อทีเป็ นไปได้ตาม . . โดยยังคงรักษาทอพอโลยีดงเดิ ั มของโครงถักตาม . .
ขันตอนที 3.1.4 วิเคราะห์หาค่าพลังงานความเครียดสะสมจากทุกกรณีศกึ ษาทีได้จาก . . บันทึกรูปแบบเซ็ตของ
จุดต่อทีให้คา่ พลังงานความเครียดสะสมตําสุด
ขันตอนที 3.2 สําหรับวิธีทอพอโลยีเหมาะทีสุดแบบดังเดิมสร้างแบบจําลองโครงถักโดยการตัดสินใจโดยผูอ้ อกแบบ
ขันตอนที4 ทําการประเมินประสิทธิภาพของแบบจําลองโครงถักโดยใช้พลังงานความเครียดสะสมของ
โครงสร้างโดยทีผลรวมของพลังงานความเครียดมีคา่ ตามสมการที ( )
5
ขันตอนที 5 เปรียบเทียบผลลัพธ์ทงสองกระบวนการ

รูปที4 วิธีการดําเนินงาน

ผลและวิจ ารณ์

รูปที5 ผลการวิเคราะห์ทอพอโลยีเหมาะทีสุดของโครงถักตังต้นโดยโปรแกรม Autodesk Fusion 360.


จากกระบวนการวิเคราะห์ทอพอโลยีเหมาะทีสุดเพือสร้างรูปแบบแนะนําทําโดยการวิเคราะห์แบบจําลองโดยใช้
โปรแกรม Autodesk Fusion 360 ซึงกระบวนการวิเคราะห์ใช้ระเบียบวิธี SIMP ผลการวิเคราะห์แสดงในรูปที 5 และ
นําไปสร้างแบบจําลองโครงถักดังรูปที 6 แบบจําลองทอพอโลยีของโครงถักทีมีช่วงความยาว . , . และ . เมตร
สูง . เมตร กําหนดนําหนักบรรทุกอยู่กึงกลางช่วงความยาวเท่ากับ , กก. และ ใช้ขนาดของตาข่าย (mesh) 10
มิลลิเมตร แบบจําลองโครงถักทีถูกสร้างโดยกระบวนการทอพอโลยีเหมาะทีสุดแบบดังเดิม โดยใช้กระบวนการ
รูปแบบแนะนํา (Siradech., S, & Benjapon., W. 2006) ซึงอาศัยการตัดสินใจโดยผูอ้ อกแบบกําหนดรูปร่างของโครง
ถักให้สอดคล้องกับทอพอโลยีของโครงถักมากทีสุดจากการวิเคราะห์ในแต่ละกรณีผลรวมพลังงานความเครียดของวิธี
ผสมผสานทอพอโลยีเหมาะทีสุดมีคา่ ตําสุดเท่ากับ 158.46, 119.76, 78.99 J.เมือเปรียบเทียบกับวิธี Truss Arch กับ
Truss Action (He, Z., et al., 2020) มีผลรวมพลังงานความเครียดมากกว่าวิธี CTO มีคา่ เท่ากับเท่ากับ 180.17,
135.08, 86.94 J.และวิธีทอพอโลยีเหมาะทีสุดแบบดังเดิมมีคา่ มากกว่าวิธี CTO และ วิธี Truss Arch กับ Truss
Action ซึงมีคา่ เท่ากับ 183.20, 138.38, 87.74 J.สําหรับช่วงความยาว 3.0, 4.0, 4.8 เมตรตามลําดับ
6
รูปที แสดงทิศทางการขยับจุดต่อและแบบจําลองโครงถักของแต่ละกระบวนการออกแบบ
จากผลลัพธ์ของแต่ละกระบวนการพบว่ากระบวนการ CTO มีคา่ พลังงานความเครียดตําสุดทังนีเนืองจากระบวนการ
CTO เป็ นกระบวนการประยุกต์ใช้ การค้นจากทางเลือกการออกแบบทีได้จากการออกแบบเชิงกําเนิดซึงมีทางเลือก
กรณีศกึ ษาจํานวนมากแทนทีขันตอนทีใช้การตัดสินใจโดยผูอ้ อกแบบซึงอาจมีอคติ (bias) และ ข้อจํากัดของมนุษย์
รวมอยู่ทาํ ให้มีจาํ นวนองศาความอิสระ (Degree of freedom, DOF) ของโครงสร้างทีน้อยกว่า ทําให้ได้แบบจําลองที
ครอบคลุมความเป็ นไปได้ทงหมดซึ
ั งต่างจากวิธีทอพอโลยีเหมาะทีสุดแบบดังเดิม และ วิธี Truss Arch กับ Truss
Action ทีองศาความอิสระบริเวณจุดต่อมีจาํ กัดจึงอาจทําให้ได้ผลลัพธ์ทีจํากัดกว่าระเบียบวิธี CTO ในด้านเวลาใน
การประมวลผล ภายใต้สภาวะการทํางานของ Google Colab (Standard Version) กระบวนการออกแบบเชิงกําเนิด
สามารถสร้างกรณีศกึ ษาทีหลากหลายและรวดเร็วโดยและมีความเป็ นอัตโนมัติดงั แสดงในรูปที 7 ซึงกรณีศกึ ษาโครง
ถักทีสร้างขึนมีจาํ นวน 1,331 รูปแบบโดยใช้ระยะเวลาการคํานวณผลลัพธ์ - วินาที

รูปที7 ผลรวมพลังงานความเครียดจากกระบวนการออกแบบเชิงกําเนิดจํานวน 1,331 กรณีศกึ ษา

สรุ ป
การใช้วิธีผสมผสานของทอพอโลยีทีเหมาะทีสุดโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงกําเนิด (CTO) สามารถเป็ นเครืองมือ
ช่วยสนับสนุนการตัดสินใจโดยผูอ้ อกแบบในขันตอนสุดท้ายของกระบวนการวิเคราะห์ทอพอโลยีเหมาะทีสุดแบบ
ดังเดิมร่วมกับกระบวนการรู ปแบบแนะนําทําให้กระบวนการ (CTO) สามารถค้นหารู ปแบบผังของโครงถักทีเหมาะ
ทีสุดได้โดยทีผลลัพธ์มีค่าพลังงานความเครียดสะสมในช่วงความยาว . , . และ . เมตรตามลําดับมีค่าเท่ากับ
78.99,119.76 และ 158.46 J. ซึงน้อยกว่ากระบวนการทอพอโลยี แบบดังเดิมซึงมี ค่าเท่ากับ . , . และ
183.20 J. และ กระบวนการ Truss Arch กับ Truss Action ซึงมีคา่ เท่ากับ . , . และ . J. อย่างไรก็

7
ตามในการศึกษานียังไม่ครอบคลุมถึงการศึกษาความละเอียดของการปรับตําแหน่งจุดต่อซึงอาจส่งผลให้ผลการ
วิเคราะห์เปลียนไป ผลจากการศึกษาแสดงให้เห็นว่ากระบวนการทีนําเสนอในงานวิจยั นีสามารถค้นหารูปแบบโครง
ถักทีมีประสิทธิภาพมากกว่าได้ และ อาจนําไปสู่แนวทางการประยุกต์การออกแบบโครงสร้างชนิดอืนๆ ซึงมีพืนฐาน
การวิเคราะห์ทอพอโลยีเหมาะทีสุดเพือเพิมประสิทธิภาพ ลดปริมาณการใช้วสั ดุ และ เอือให้เกิดการพัฒนาอย่าง
ยังยืนสืบต่อไป

เอกสารอ้างอิง
วิเศษ ฝากาทอง, 2564, วิทยานิพนธ์ คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ การประมาณนําหนักโครงสร้างอาคารเหล็กด้วยการ
การออกแบบเชิงกําเนิด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิเศษ ฝากาทอง และ ศิรเดช สุรติ , 2567,การประมาณนําหนักเหล็กโครงสร้างอาคารโครงเฟรมเหล็กเตียด้วยการ
ออกแบบเชิงกําเนิด, วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ศิรเดช สุรติ . การสร้างและวิเคราะห์แบบจําลองโครงสร้างด้วยวิธีเมทริกซ์.-- กรุงเทพฯ : คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2564.
Bendsøe, M. & Sigmund, O., 1999. Material interpolation schemes in topology optimization,
Springer- Verlag 1999
Djokikj, J., Jovanova, J., 2021 Generative design of a large-scale nonhomogeneous structures, IFAC
Papers OnlineSchlaich,
Frazer, J., 2002. Creative design and the generative evolutionary paradigm. In: Bentley PJ, Corne DW,
editors. Creative evolutionary systems. California SanFrancisco, (CA): Morgan Kaufmann
Publishers Inc. (Elsevier, p. 253–74.)
Hardjasaputraa, H., 2015. Evolutionary structural optimization as tool in finding strut-and-tie-models for
designing reinforced concrete deep beam. a Universitas Pelita Harapan, Indonesia
He, ZQ., et al., 2020. Decoupling of arch action and truss action in deep beams by
strain energy, Institution of Structural Engineers. Published by Elsevier Ltd.
Liang, QQ., et al., 2000, Topology Optimization of Strut-and-Tie Models in Reinforced Concrete
Structures Using an Evolutionary Procedure, Aci Structural Journal
Siradech., S, & Benjapon., W., 2011, Topology Optimization-Based Reinforced Concrete Beams:
Design and Experiment, American Society of Civil Engineers
Vink, R., (2023). anaStruct. Retrieves from https://anastruct.readthedocs.io/en/latest/installation.html
Siradech Surit & Benjapon Wethyavivorn. (2006). Form suggestion A practical integration of optimal
topology to the structural design. Kasetsart Engineering Journal (Thailand), 20(60), 1-9
Wang, H., et al., 2021. Joints for treelike column structures
based on generative design and additive manufacturing, Journal of Constructional Steel Research

You might also like