จิตวิทยา บทที่ 3

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 8

จิตวิทยา

General Psychology ทั่วไป

หน่วยที่ 3
สรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม

ต้นกำเนิดของพฤติกรรมหรือกิจกรรมทั้งหลำยทั้งปวงของชีวิต คือ เซลล์ ซึ่งมีกำรประสมประสำนกำรทำงำน


เข้ำด้วยกัน เซลล์ชนิดเดียวกัน รูปร่ำงเหมือนกัน ร่วมกันทำหน้ำที่ใดหน้ำที่หนึ่งเป็นกลุม่ ของเซลล์เรียกว่ำ เนื้อเยื่อ (tissue)
เนื้อเยื่อหลำยชนิดร่วมกันทำงำนเป็นกลุ่ม เรียกว่ำ อวัยวะ (Organ) อวัยวะหลำยๆชนิดที่ร่วมกันทำหน้ำที่เฉพำะอย่ำงใด
อย่ำงหนึ่งในร่ำงกำยเรำเรียกว่ำ ระบบ (System) มีหลำยระบบด้วยกัน เช่น ระบบเครื่องห่อหุ้มร่ำงกำย ระบบโครงกระดูก
ระบบกำรหมุนเวียนของโลหิต ระบบประสำท ฯลฯ เป็นต้น
ภำยในร่ำงกำยของเรำมีอวัยวะหลำยอย่ำงซึ่งช่วยกันปฏิบัติหน้ำที่เพือ่ กำรดำรงชีวิต ถ้ำอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งบกพร่อง
หรือเสียหำยเป็นอันตรำย ร่ำงกำยก็ไม่ปกติเป็นอันตรำยถึงชีวิตได้ กำรศึกษำหน้ำที่ของอวัยวะต่ำงๆ ของร่ำงกำย เรียกว่ำ
สรีรวิทยำ (Physiology)

3.1 ระบบของโครงกระดูกและกล้ามเนื้อ

3.1.1 กระดูกและข้อต่อ (The Skeletaland Joints System)


กระดูก เป็นส่วนของร่ำงกำยที่แข็งแรง ทนทำน มีรูปทรงหลำยหลำก เป็นส่วนที่ประกอบขึ้นเป็นโครงร่ำงของ
ร่ำงกำย ( flame of the body) และช่วยให้ร่ำงกำยเคลื่อนไหวได้ กระดูกประกอบขึ้นจำกเนื้อเยื่อที่มีชีวิต ซึ่งทำงำนอย่ำง
แข็งขันตลอดเวลำ มีแร่ธำตุตำ่ งๆ สะสมอยู่ในกระดูก ทำให้กระดูกมีควำมแข็งแรงอย่ำงที่ปรำกฏอยู่ กระดูกจะมีกำร
เสริมสร้ำงและสลำยตัวตลอดเวลำ เซลล์กระดูกชนิดหนึ่ง เรียกว่ำ เซลล์สร้ำงกระดูก (Osteoblast) จะเป็นตัวสร้ำงโครง
กระดูกก่อน ซึ่งประกอบด้วยเส้นใยคอลลำเจน จำกนั้นจะมีแร่ธำตุ เช่น แคลเซียม ฟอสฟอรัสมำเกำะและห่อหุ้มทำให้
กระดูกแข็งแรง เซลล์ที่มีแร่ธำตุหอ่ หุ้มนี้ เรียกว่ำ เซลล์กระดูก
โดยทั่วไปแล้วร่ำงกำยของคนเรำมีกระดูกทั้งสิ้น 208 ชิ้น แต่จำนวนดังกล่ำวนี้ มิได้เป็นจำนวนที่แน่นอนตำยตัว
บำงครั้งอำจมีกระดูกชิ้นเล็กๆ เกิดขึ้นระหว่ำงกระดูกของกะโหลกศีรษะ หรือระหว่ำงข้อนิ้วมือ กระดูกมี 3 ชนิด คือ กระดูก
ยำว กระดูกสั้นและกระดูกแบน ที่บริเวณพื้นผิวของกระดูกมีหลอดเลือดแดงเลี้ยงเยื่อหุม้ กระดูก ส่วนภำยในจะมีหลอด
เลือดแดงขนำดเล็กและแตกกิ่งก้ำนออกเป็นเส้นเลือดฝอยไปทั่วกระดูก
โครงกระดูกของร่ำงกำยมีควำมสมมำตรที่เที่ยงตรง หำกเรำแบ่งครึง่ โครงกระดูกตำมยำงลงมำตำมแนวดิ่ง โครง
กระดูกทั้งสองซีกจะเหมือนกันทุกประกำร ด้วยเหตุนี้ กระดูกที่มเี พียงอันเดียวก็จะมีรูปทรงสมมำตร ในขณะที่กระดูกที่มี
เป็นคู่จะมีรูปทรงไม่สมมำตร แต่จะวำงอยู่ในตำแหน่งตรงข้ำมได้อย่ำงสมมำตรซึ่งกันและกันบนร่ำงกำยซีกซ้ำยและขวำ
ระบบของโครงกระดูกรวมทั้งกะโหลกศีรษะ ซึ่งแบ่งเป็นสองส่วนคือ ส่วนด้ำนหลังห่อหุม้ สมองและส่วนหน้ำคือเป็นส่วนของ
ใบหน้ำ รวมทั้งกระดูกชิ้นเล็กของหู นอกจำกนั้นมีกระดูกสันหลังเป็นแกนกลำงของร่ำงกำยเริม่ ตั้งแต่ฐำนกะโหลกถึงอุ้งเชิง
กรำน
หน้ำที่ของกระดูก
1. กระดูกประกอบเป็นโครงสร้ำงแข็ง เป็นโครงร่ำงของสิ่งมีชีวิต กำหนดขนำดของรูปร่ำงรูปทรงของสิ่งมีชีวิต
2. กระดูกป้องกันอวัยวะภำยในมิให้บำดเจ็บจำกแรงกระเทือน
3. กระดูกเป็นส่วนที่แข็งของระบบกำรเคลื่อนไหว มีจดุ พยุงกล้ำมเนื้อ จุดหมุนสำหรับกำรเคลื่อนไหวของ
อวัยวะส่วนต่ำงๆ
4. กระดูกเป็นทีเ่ ก็บสะสมแร่ธำตุ และมีไขกระดูก เป็นแหล่งสร้ำงเม็ดเลือด

23
จิตวิทยาทัว่ ไป General Psychology

ภำพประกอบ 3.1 แสดงระบบโครงกระดูก

ข้อต่อ (Joints) เป็นจุดเชื่อมระหว่ำงกระดูก 2 ชิ้น ในร่ำงกำยเรำมีขอ้ ต่อมำกกว่ำ 200 แห่งแบ่งได้หลำยชนิด


และทำหน้ำที่ตำ่ งกัน ข้อต่อบำงชนิดเกี่ยวกับกำรเคลื่อนไหว บำงชนิดเป็นข้อตรึงติดไม่เคลื่อนไหวทำหน้ำที่เกำะเกี่ยวให้
กระดูกติดกัน นอกจำกนั้น ยังมีองค์ประกอบอื่นที่ทำให้ข้อต่อมีควำมมั่นคงไม่เคลื่อนหลุดง่ำย เช่น กระดูกอ่อนของข้อต่อ
ปลอกหุ้มข้อต่อ เยื่อสร้ำงไขข้อ เอ็นยึด

3.1.2 กล้ำมเนื้อ (Muscles)


กล้ำมเนื้อ เป็นส่วนสำคัญที่ช่วยควบคุมกำรเคลื่อนไหวของร่ำงกำย ทำให้บุคคลสำมำรถแสดงพฤติกรรม
ต่ำงๆได้ กล้ำมเนื้อเป็นส่วนประกอบของอวัยวะต่ำงๆ เช่น ปำก หู ตำ จมูก หัวใจ แขน ขำ ฯลฯ กล้ำมเนื้อในร่ำงกำยมนุษย์
แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ
1. กล้ำมเนื้อลำย (Striped Muscles) มีหน้ำที่ช่วยให้อวัยวะต่ำงๆ ภำยในร่ำงกำยสำมำรถเคลื่อนไหวได้ โดยกำร
รับคำสั่งจำกระบบประสำทส่วนกลำง กล้ำมเนื้อลำยมีลักษณะเป็นเส้นยำวอยู่ใต้ผิวหนัง ประกอบด้วยเซลล์จำนวนมำกมำย
รวมกันเป็นมัด กล้ำมเนื้อเหล่ำนี้ ได้แก่ กล้ำมเนื้อแขนขำ ซึ่งมีเอ็นติดอยู่กับกระดูกเป็นกล้ำมเนื้อที่ยดึ กระดูก เมื่อหดตัวทำ
ให้เคลื่อนไหวได้ กล้ำมเนื้อส่วนที่ใหญ่ที่สุดคือ กล้ำมเนื้อหัวไหล่ ส่วนที่เล็กที่สุด คือ กล้ำมเนื้อที่ทำหน้ำที่ยึดแก้วตำ
2. กล้ำมเนื้อเรียบ (Smooth Muscles) ทำงำนโดยไม่ขึ้นอยู่กับประสำทส่วนกลำง อยู่ภำยนอกกำรควบคุมของ
จิต ทำงำนอัตโนมัติโดยไม่ต้องรอรับคำสั่งจำกสมอง มีลักษณะเป็นเซลล์ใยเล็กๆ ยำวเรียวประสำนกันสนิทเป็นเนื้อเดียวกัน
กล้ำมเนื้อชนิดนี้ทำหน้ำที่ควบคุมระบบกำรย่อยอำหำร มีอยู่มำกตำมผนังคอหอย กระเพำะอำหำร ลำไส้ หลอดลม หลอด
เลือด หัวใจ ผนังเส้นเลือดและในอวัยวะอื่นๆ

24
จิตวิทยา
General Psychology ทั่วไป

3. กล้ำมเนื้อหัวใจ (Cardiac) ลักษณะคล้ำยกล้ำมเนื้อลำย แต่มลี ำยน้อยกว่ำ กล้ำมเนื้อชนิดนี้มเี ฉพำะในหัวใจ


เท่ำนั้น เป็นกล้ำมเนื้อที่ทำงำนอยูน่ อกเหนืออำนำจจิตหรือสมอง ไม่อยู่ภำยใต้กำรควบคุมประสำทส่วนกลำง ทำงำนโดยกำร
หดตัวเป็นจังหวะ ถูกควบคุมโดยประสำทอัตโนมัติ ทำหน้ำที่หดและขยำยตัวได้เวลำสูบฉีดโลหิต กล้ำมเนื้อชนิดนี้
จะทำงำนอยู่ตลอดเวลำในขณะทีม่ ีชีวิตอยู่

ภำพประกอบ 3.2 แสดงกล้ำมเนื้อรูปแบบต่ำงๆ

3.2 ระบบต่อมในร่างกาย (Glands System)

ต่อม (Glands) เป็นระบบอวัยวะที่สำคัญซึ่งมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของมนุษย์ ต่อมทำหน้ำที่ผลิตฮอร์โมน และ


สร้ำงเคมีให้กับร่ำงกำย ซึ่งจะมีปฏิกิริยำตอบสนองต่อสิ่งเร้ำภำยในร่ำงกำยเป็นส่วนมำก ฮอร์โมนที่ตอ่ มสร้ำงขึ้นมำบำงชนิด
มีผลต่อกำรเจริญเติบโต บำงชนิดมีผลต่อสติปัญญำ บำงชนิดมีผลต่อบุคลิกภำพได้เช่นกัน
ต่อมแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ ต่อมมีท่อ และต่อมไร้ท่อ

3.2.1 ต่อมมีท่อ (Duct Glands)


ต่อมมีท่อ (Duct Glands) ทำหน้ำที่ผลิตสำรเคมีและสิ่งอื่นๆ แล้วส่งไปเลี้ยงส่วนต่ำงๆของร่ำงกำยต่อมมีท่อ
แบ่งได้หลำยชนิด
1. ต่อมเหงื่อ (Sweat Gland) มีลักษณะเป็นหลอดยำวๆ ทำหน้ำที่สร้ำงสำรเคมีแล้วปล่อยเหงื่อออกร่ำงกำย
ช่วยในกำรปรับอุณหภูมิของร่ำงกำยให้อยู่ในระดับปกติ
2. ต่อมน้ำนม (Mammary Gland) เป็นต่อมพิเศษมีเฉพำะเพศหญิง ทำหน้ำที่สร้ำงน้ำนมส่งออกมำเลี้ยงทำรก
3. ต่อมน้ำตำ (Lachrymose Gland) เป็นต่อมที่อยู่ขอบตำ ทำหน้ำที่ผลิตน้ำตำเพื่อมำหล่อเลีย้ งดวงตำและ
ช่วยชะล้ำงตำ ช่วยทำให้ตำชุ่มชื้นอยู่เสมอ
4. ต่อมน้ำลำย (Salivary Gland) อยู่ในปำกใต้ลิ้น ทำหน้ำที่ขับน้ำลำยและช่วยในกำรย่อยอำหำร
5. ต่อมน้ำมันใต้ผิวหนัง (Sebaceous Gland) อยู่ใต้ผิวหนังจะมีช่องเปิดออกตำมขุมขน ทำหน้ำที่ผลิตน้ำมัน
ออกมำหล่อเลี้ยงผิวหนังให้ชุ่มชื้น ทำให้ผมและขนไม่เปรำะหักง่ำย
25
จิตวิทยาทัว่ ไป General Psychology

3.2.2 ต่อมไร้ท่อ (Ductless Glands or Endocrine Glands)


ต่อมไร้ท่อ ทำหน้ำที่ผลิตสำรฮอร์โมนส่งตรงไปยังส่วนต่ำงๆของร่ำงกำย โดยส่งผ่ำนกระแสโลหิตและน้ำเหลือง
ต่อมไร้ท่อมีผลต่อกำรเจริญเติบโต บุคลิกภำพ และพฤติกรรมของมนุษย์ทั้งร่ำงกำยและจิตใจ ได้แก่
1. ต่อมพิทูอิทำรี (Pituitary Gland) มีขนำดเล็กเท่ำเมล็ดถั่วลันเตำ อยู่ที่ฐำนของสมองด้ำนซ้ำย มีอทิ ธิพลในกำร
สร้ำงฮอร์โมนของต่อมไร้ท่ออื่นๆ ทำหน้ำที่ควบคุมกำรเจริญเติบโต ช่วยกระตุ้นให้เส้นเลือดบีบตัว กระตุ้นให้กล้ำมเนื้อเรียบ
หดตัว เป็นต่อมทีส่ ำคัญทีส่ ุด
2. ต่อมไทรอยด์ (Thyroid Gland) ตั้งอยู่ข้ำงๆ หลอดลม ทั้งสองด้ำน ช่วยผลิตฮอร์โมนไทรอคซิน ซึ่งมีธำตุ
ไอโอดีนอยู่ด้วย ถ้ำผู้ใหญ่ขำดฮอร์โมนนี้ จะเป็นโรคคอหอยพอก อ่อนเพลีย เหงำหงอย ไม่ว่องไว ผมร่วง ผิวหนังแห้ง
ควำมจำเสื่อม ถ้ำเด็กขำดจะทำให้ร่ำงกำยหยุดกำรเจริญเติบโต ปัญญำอ่อน แต่ถ้ำร่ำงกำยผลิตมำกเกินไปจะทำให้ตื่นเต้น
ตกใจง่ำย หัวใจเต้นเร็ว ใจสั่น
3. ต่อมพำรำไทรอยด์ (Parathyroid Gland) ตั้งอยู่หลังต่อมไทรอยด์ ทำหน้ำที่ควบคุมแคลเซีย่ ม ฟอสฟอรัส
ในร่ำงกำยให้อยู่ในระดับทีเ่ หมำะสม รักษำควำมสมดุลของกรดและด่ำง ควบคุมกำรเจริญเติบโตของกระดูก ถ้ำทำงำนมำก
ไปแคลเซียมในเลือดจะสูง ทำให้เลือดแข็งตัวเร็วและมีอำกำรผิดปกติที่กระดูก กระดูกจะขำดแคลเซียมเพรำะถูกดึงไปที่
เลือดจะเกิดปวดกระดูก ปวดกล้ำมเนื้ออ่อนเพลีย
4. ต่อมตับอ่อน (Pancreas Gland) อยู่ในช่องท้องบริเวณตับอ่อน ขนำนไปกับด้ำนล่ำงของกระเพำะอำหำร
ทำหน้ำที่สร้ำงและขับฮอร์โมนอินซูลินเข้ำไปในกระแสโลหิต ทำหน้ำที่กระตุ้นตับให้เปลีย่ นน้ำตำลเป็นกลูโคสที่เหลือใช้ให้
เป็นแป้ง ช่วยควบคุมกำรเผำผลำญไขมันและน้ำตำลในกระแสโลหิต ถ้ำทำงำนน้อยไปมีผลให้น้ำตำลในกระแสโลหิตสูง ไต
ทำงำนหนักที่จะต้องขับปนออกมำทำงปัสสำวะกลำยเป็นโรคเบำหวำนได้ ถ้ำทำงำนมำกไปก็มีผลทำให้เป็นลมวิงเวียนศีรษะ
5. ต่อมหมวกไตหรือต่อมอะดรีนำล (Adrenal Glands) อยู่เหนือไต แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ เมดูล่ำ อยู่ส่วนกลำง
จะผลิตอะดรีนำลีน เกี่ยวข้องกับอำรมณ์มักเกิดในเวลำกะทันหันเช่น เครียด โกรธ ตกใจ ก็จะกระตุ้นร่ำงกำยเกิดกำลัง
มหำศำล และคอร์เทค ทำหน้ำทีผ่ ลิตฮอร์โมนหลำยชนิด เช่น รักษำระดับแคลเซียม เกลือ โปตัสเซียมในเส้นเลือด ฮอร์โมน
ที่แสดงควำมเป็นชำย
6. ต่อมไทมัส (Thymus Gland) อยู่ตรงขั้วหัวใจมีขนำดใหญ่มำก ขณะที่อำยุยังน้อยต่อมนีจ้ ะสร้ำงฮอร์โมนไท
โมวิดิน ควบคุมพฤติกรรมของควำมเป็นเด็กไม่ให้เกิดพฤติกรรมหนุม่ สำวเร็วกว่ำปกติ ต่อมนี้จะค่อยๆเล็กลงเมื่อโตขึ้นและฝ่อ
หำยไป
7. ต่อมไพเนียล (Pineal Gland) ตั้งอยู่เหนือสมองทำหน้ำทีผ่ ลิตฮอร์โมนเมลำโทนิน ต่องมนี้จะถูกกระตุ้นจำก
แสงสว่ำงที่ผ่ำนเข้ำมำทำงตำ ต่อมนี้จะมีอยู่ในวัยเด็กจนถึงอำยุ 7 ปี แล้วจะหำยไปถ้ำผิดปกติยังมีอยู่ก็จะมีพฤติกรรมกำร
แสดงออกเหมือนเด็ก
8. ต่อมโกแนด (Gonad Gland) หรือต่อมเพศ ทำหน้ำที่เมื่อต่อมไทมัสและไพเนียลเสื่อมลงแล้ว จะผลิตไข่และ
เซลล์สืบพันธุ์ในเพศหญิง และสร้ำงสเปอร์ม ในเพศชำย

26
จิตวิทยา
General Psychology ทั่วไป

ภำพประกอบ 3.3 แสดงตำแหน่งของต่อมไร้ท่อ


3.3. ระบบประสาท (Nervous System)

ระบบประสำท เป็นอวัยวะที่สำคัญของร่ำงกำยทำหน้ำที่ควบคุมกล้ำมเนื้อ กำรเต้นของหัวใจและกำรทำงำนของ


ต่อม ควบคุมกำรหำยใจ กำรหมุนเวียนของโลหิต สำมำรถสั่งงำนให้อวัยวะต่ำงๆปฏิบตั ิ ระบบประสำทประกอบด้วย
เส้นประสำทจำนวนมำก ระบบประสำทแบ่งออกเป็น 3 ระบบ คือ ระบบประสำทส่วนกลำง ระบบประสำทส่วนปลำยและ
ระบบประสำทอัตโนมัติ

3.3.1 ระบบประสำทส่วนกลำง (Central Nervous System) ระบบประสำทส่วนกลำง ประกอบด้วย 2


ส่วน คือ สมองและไขสันหลัง
1. สมอง (Brain)
อยู่ภำยใต้ระบบประสำทส่วนกลำง เป็นศูนย์กลำงของกำรแสดงพฤติกรรมและกำรแสดงออกอื่นๆ เช่น
กำรรับรู้ กำรเรียนรู้ ควำมรูส้ ึก ควำมคิด ควำมจำ ฯลฯ สมองประกอบขึ้นด้วย 3 ส่วน คือ
1.1 สมองส่วนหน้ำ (Fore Brain) ตั้งอยู่ส่วนหน้ำเหนือสุดของสมอง แบ่งเป็น 2 ส่วน คือเซเรบรัม ทำ
ลำมัส และไฮโปทำลำมัส
เซเรบรัม อยู่หน้ำสุดเป็นส่วนของเนื้อสมองมีขนำดใหญ่ทสี่ ุด เป็นรอยหยักมำกกว่ำสัตว์ชนิดอื่นมนุษย์จึง
ฉลำดกว่ำสัตว์ จะมีน้ำหนักประมำณ 3 ปอนด์ ถ้ำใครหนักเกินจะฉลำดกว่ำคนธรรมดำ ทำหน้ำที่เกีย่ วกับกำรรับรูเ้ กือบทุก
ชนิด ควบคุมพฤติกรรมของบุคคล ควบคุมอวัยวะมอเตอร์ทำหน้ำที่เชื่อมโยงประสำทสัมผัส
เซเรบรัม แบ่งออกเป็น 6 บริเวณ คือ
- บริเวณมอเตอร์ อยู่ตรงสมองส่วนหน้ำ ควบคุมกล้ำมเนื้อทั่วไป
- บริเวณรับควำมรู้สึกทำงกำย อยูต่ รงกลำงใกล้บริเวณมอเตอร์ ควบคุมกำรเคลื่อนไหวของอวัยวะ
ช่วยในกำรรับควำมรู้สึกทำงกำยและกำรรับรู้อื่นๆ
- บริเวณกำรเห็น อยู่ดำ้ นหลังสุด ด้ำนขวำทำงเลนส์แก้วตำทั้งสองข้ำงจะสัมพันธ์กับกำรมองเห็น
ด้ำนขวำ และด้ำนซ้ำยก็เช่นกัน
- บริเวณกำรรับฟัง อยู่ตรงด้ำนข้ำงซึ่งประสำทหูจะทำงำนร่วมกันทั้งสองข้ำง
- บริเวณกำรพูด อยูต่ รงส่วนหน้ำตอนล่ำงในบริเวณนี้กระแสประสำทจะแยกกระจำยออกถึงเขต
ศูนย์กลำงกำรพูด ช่วยบังคับกล้ำมเนื้อเปล่งเสียงพูดได้
- บริเวณสัมพันธ์ อยูต่ อนหน้ำสุด ควบคุมควำมรูส้ ึกภำยในให้ประสำนกันเกี่ยวข้องกำรเรียนรู้
ควำมคิด
ส่วนทำลำมัส ทำหน้ำที่ควบคุมพฤติกรรมของเด็กเกิดใหม่ ซึ่งเซเรบรัมยังเจริญไม่เต็มที่ ทำลำมัส จะทำ
หน้ำที่สั่งกำรแทนควบคุมกำรแสดงออกทำงอำรมณ์ กำรย่อยอำหำร ควำมรู้สึก
ไฮโปทำลำมัส ทำหน้ำที่ควบคุมควำมรู้สึกร้อนหนำว ควำมหิวกระหำย ควำมรูส้ ึกทำงเพศ
สมองส่วนกลำง (Mid Brain) อยู่ตรงกลำงระหว่ำงสมองส่วนหน้ำและส่วนหลัง เป็นตัวเชื่อมโยงรับส่งกระแส
ประสำท เส้นประสำทจำกไขสันหลังและส่วนล่ำงของสมอง
สมองส่วนหลัง (Hind Brain) ทำหน้ำที่ควบคุมพฤติกรรมต่ำงๆ ที่ใช้กล้ำมเนื้อให้สำมำรถทำงำนร่วมกันจนดู
เหมือนเป็นพฤติกรรมเดียวกัน และควบคุมกำรทรงตั

ภำพประกอบ 3.4 แสดงกำรทำหน้ำที่ของสมองส่วนต่ำงๆ

27
จิตวิทยาทัว่ ไป General Psychology

ภำพประกอบ 3.5 แสดงส่วนต่ำงๆของสมอง

ภำพประกอบ 3.6 แสดงกำรทำงำนของสมองซีกซ้ำย-ขวำ


2. ไขสันหลัง (Spinal Cord)
ไขสันหลังอยู่ถัดจำดเมดูล่ำไปทำงด้ำนลำตัวมีควำมยำวตลอดลำตัว อยู่ในโพรงของกระดูกสันหลัง โดยส่วนที่
ติดกับสมองจะกว้ำงสุดและค่อยๆเรียวเล็กลง จนปลำยสุดมีลักษณะเป็นเส้นเล็กไม่มเี ยื่อประสำทเลย ซึ่งผิดกับตอนบนจะมี
เยื่อประสำทจำนวนมำก มีหน้ำที่ส่งกระแสประสำทสัมผัสไปยังสมอง รับคำสั่งส่งไปอวัยวะทำหน้ำที่เป็นศูนย์กลำงกำร
สะท้อนกลับ รับควำมรูส้ ึกจำกอวัยวะสัมผัส แล้วตอบสนองให้เกิดพฤติกรรมทันทีโดยไม่ผำ่ นสมอง

3.3.2 ระบบประสำทส่วนปลำย (Peripheral Nervous Systems)


ระบบประสำทโซมำติค เกี่ยวข้องกับสภำพแวดล้อมภำยนอก ประกอบด้วยเส้นประสำททั้งหลำยที่ออกมำจำก
สมอง 12 คู่ไปยังอวัยวะต่ำงๆ เช่น ตำ หู จมูก ลำคอ ฯลฯและออกจำกไขสันหลัง 31 คู่ ไปยังบริเวณคอ อก เอว เชิงกรำน
ก้นกบ ประสำทจำกไขสันหลังทุกเส้นมีทั้งชนิดรับควำมรูส้ ึกที่นำข้อมูลภำยนอกเข้ำสูร่ ่ำงกำย และประสำทสั่งงำนนำข้อมูล
จำกสมองเข้ำสู่กล้ำมเนื้อ

3.3.3 ระบบประสำทอัตโนมัติ (Automatic Nervous Systems)


28
จิตวิทยา
General Psychology ทั่วไป

เป็นระบบที่เกีย่ วข้องกับอวัยวะภำยในร่ำงกำย ควบคุมกำรทำงำนของต่อมต่ำงๆ กำรทำงำนของหัวใจและช่วย


แบ่งเบำภำระระบบประสำทส่วนกลำง แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ
ระบบประสำทซิมพำเธติค เป็นส่วนที่รับรู้กำรเร้ำของปประสำทตัง้ แต่ลำคอถึงท้อง ควบคุมระบบกำรเต้นของ
หัวใจ ต่อมน้ำลำยและต่อมไม่มีท่ออื่นๆ ซึ่งถ้ำร่ำงกำยมีสภำพตกใจ เครียด ก็จะทำงำนในอัตรำเพิ่มขึ้น
ระบบพำรำซิมพำเธติค แยกออกจำกสมองส่วนล่ำงกับไขสันหลังส่วนปลำยสุด จะทำหน้ำทีต่ รงข้ำมกับซิมพำเธ
ติคเพื่อรักษำดุลยภำพของร่ำงกำย เช่น ซิมพำเธติคเร่งให้หัวใจเต้นเร็ว พำรำซิมพำเธติคก็จะรั้งให้เต้นช้ำ เพื่อให้หัวใจทำงำน
ปกติ

3.4 ระบบประสาทการรับสัมผัส (Sensory Organ)

3.4.1 ควำมหมำยและระดับกำรรับสัมผัส
ระบบกำรรับสัมผัส คือ กำรที่บคุ คลสำมำรถรับรูส้ ิ่งเร้ำหรือสภำพแวดล้อมต่ำงๆ นั้นโดยอำศัยอวัยวะรับสัมผัส
(Sense Organs) ซึ่งจะมีเพียง 5 อย่ำง ได้แก่ ตำ หู จมูก ลิ้น ผิวหนัง แต่คนเรำยังสำมำรถรับรู้ได้ถึงควำมแตกต่ำงของ
อุณหภูมิ ควำมเจ็บปวด ควำมกดดัน กำรทรงตัว และกำรรับรู้กลไกภำยในเกี่ยวกับกำรเคลื่อนไหวซึ่งเป็นกำรทำงำนของ
กล้ำมเนื้อ เอ็นและข้อต่อ จึงเป็นกำรยำกที่จะแยกให้เห็นชัดเจนระหว่ำงกำรรู้สึกและกำรรับรู้ เนื่องจำกเป็นกระบวนกำรที่
ต่อเนื่องที่เกิดขึ้น กำรรูส้ ึกเป็นส่วนย่อยของกำรรับรู้ทไี่ ม่สำมำรถแบ่งแยกได้อีก มีลักษณะง่ำยไม่ซับซ้อน ไม่มีอิทธิพลของ
กำรเรียนรู้ ประสบกำรณ์จึงไม่มีกำรตีควำม
กลไกของกำรรูส้ ึก อำจเขียนเป็นแผนภูมิ ดังนี้

ระบบประสาท
สิ่งเร้า อวัยวะรับสัมผัส หน่วยปฏิบัติการ
(Nervous
(Stimulus) (Sense Organ) (Effectors)
System)

แผนภูมิ 3.1 แสงกลไกกำรรู้สึก


(สุวรี ศิวะแพทย์ 2549 : 71)

สิ่งเร้ำนี้อำจเป็นสิ่งเร้ำภำยนอกหรือภำยในก็ได้ แต่ต้องมีควำมเข้มในปริมำณที่ทำให้เกิดกำรรูส้ ึกได้ ควำมรูส้ ึกที่


เกิดขึ้นนี้เรียกว่ำ Threshold กำรศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงควำมเข้มของสิ่งเร้ำกับควำมเข้มของควำมรู้สึก เรียกว่ำ
Psychophysics แบ่งเป็น 2 ประเภทได้แก่
1. Absolute Threshold คือ ปริมำณควำมเข้มที่น้อยที่สุดที่ทำให้เกิดควำมรู้สึก ซึ่งแต่ละคนมีระดับที่แตกต่ำง
กัน เช่นระดับของกำรได้ยินแต่ละคนมีระยะห่ำงที่ไม่เท่ำกัน ปริมำณควำมที่ต่ำเกิน อำจไม่สำมำรถกระตุ้นให้เกิดกำรรู้สึกได้
2. Difference Threshold คือควำมแตกต่ำงของสิ่งเร้ำ 2 สิ่งในปริมำณระดับหนึ่งที่ทำให้เกิดกำรรูส้ ึกไม่ว่ำ
เพิ่มขึ้นหรือลดลง ควำมแตกต่ำงของสี เสียงเพลงเบำๆ

3.4.2 อวัยวะรับสัมผัสภำยนอก
อวัยวะรับสัมผัสภำยนอก เป็นอวัยวะรับสัมผัสโดยทั่วไปที่เรำรู้จักกัน คือกำรรับสัมผัสจำกกำรมองเห็น กำรได้ยิน
กำรดมกลิ่น กำรรูร้ ส ควำมรู้สึกร้อน หนำว เจ็บปวด ต่ำงๆ

3.4.3 อวัยวะรับสัมผัสภำยใน
- คีเนสทีซสี (Kinesthesis) เป็นกำรสัมผัสจำกสิ่งแวดล้อมภำยในเกีย่ วกับกำรเคลื่อนไหวของอวัยวะ

29
จิตวิทยาทัว่ ไป General Psychology

ต่ำงๆ สัมผัสโดยใช้ประสำทกล้ำมเนื้อ เอ็น ข้อต่อกระดูก สัมผัสคีเนสทีซีส ช่วยให้คนเข้ำใจรู้จักวัตถุ รูปร่ำง โดยกำรใช้มือ


คลำดูให้ทรำบถึงน้ำหนักและควำมต้ำนทำนของวัตถุ ช่วยให้เกิดควำมรู้สึกและเข้ำใจตำแหน่งหรือระยะทำงได้ด้วย เช่น เมื่อ
ก้ำวเท้ำไปข้งหน้ำจะรู้สึกได้ทันทีวำ่ ก้ำวเท้ำไปยำวเท่ำใด แม้จะหลับตำก็ตำม
- ออแกนิค (Organic) เป็นกำรสัมผัสที่เกิดจำกอวัยวะภำยในเกี่ยวกับควำมรูส้ ึก ควำมหิว กระหำย
ซึ่งจะสำมำรถทรำบกำรสัมผัสได้จำกประสำทของอวัยวะนั้นๆ
- กำรทรงตัว (Vestibular Senses) เป็นกำรสัมผัสที่เกิดจำกอวัยวะช่องหูด้ำนในช่วยในกำรทรงตัว
ถ้ำอวัยวะของกำรทรงตัวได้รับกำรกระทบกระเทือน มนุษย์จะไม่สำมำรถทรงตัวอยู่ได้ เช่น ถูกตีศีรษะอย่ำงแรง ถูกชกต่อย
ที่นัยน์ตำ จะเกิดอำกำรวิงเวียนไม่สำมำรถทรงตัวอยู่ได้

30

You might also like