Authoritarianism 4

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 4

การเมืองอำนาจนิยม: บุคลาภิวัต (จบ)

โดย เกษียร เตชะพีระ

ชำแหละสภา'พี่ องผองเพื่อน'พ อมโหวตบิ๊ก นั่งนายกฯ


(https://www.posttoday.com/politic/news/589103)
สัญญาณบอกอาการบุคลาภิวัต
นอกจากการที่ นำ ๑) กระชับวงในอำนาจใ แคบเล็กลง และ ๒) บรรจุแ งตั้ง จงรักภักดีไ ใน
ตำแห งกุมอำนาจสำคัญทั้งหลายแ ว สัญญาณอีก ๔ ประการที่ งชี้อาการบุคลาภิวัต (Personalization)
ของระบอบอำนาจนิยม ไ แ :
๓) งเสริมญาติพี่ องใ เ า ตำแห งอันทรงอำนาจ
ปกติแ วเครือญาติพี่ องก็เฉกเ นเพื่อน องบริวารทั้งหลายคือเ นพันธมิตรที่เชื่อถือไ วางใจไ
สำหรับ นำอำนาจนิยมยิ่งก าพวกเทคโนแครต เชี่ยวชาญ ฉะนั้น นำจึงพยายามแ งตั้งเครือญาติพี่ องใ
เ า ตำแห งอันทรงอำนาจอิทธิพลแ จะ อห อนประสบการ ไป างก็ตาม การเอาเครือญาติพี่ องมา
อมวงตนเองไ ในอำนาจ วยใ นำมั่นอกมั่นใจ าตนมีเห าบุคคลที่พึ่งพาอาศัยใ ทำตามวิสัยทัศ การ
บริหารปกครองของตัวเองไ
ดังที่อดีตประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซนแ งอิรัก งเสริมเครือญาติใ เ ากุมตำแห งสำคัญในกองกำลัง
ความมั่นคงแ าคนเห านั้นจะขาดคุณวุฒิและประสบการ ก็ตามที เ น คูเซ ฮุสเซน ลูกชายคนรองของ
ซัดดัมไ รับแ งตั้งจาก อใ เ นหัวห าห วยงาน าวกรองและกองกำลังพิทัก ปฏิวัติของอิรัก (https://
rewardsforjustice.net/thai/qusay_hussein.html), อูเด ฮุสเซน ลูกชายคนโตไ ควบคุม กองกำลัง

!"#$%&'()*+%,"-.$/&0**% ()*+%,"-" &)2&34%5 +(674* +89:;7*: 1


ล้
ข้
สู่
น่
ด้
ผู้
น่
ส่
ม้
ต่
น้
ว้
ว่
ล้
พ่
ล่
ผู้
ด้
ช่
น้
ห้
ด้
ว่
ร้
ก่
ป็
น้
ห้
ห้
น์
ผู้
ข้
น์
ล้
สู่
ม้
น้
ตู่
ช่
ย่
น่
น่
ย่
ผู้
ห่
ว่
พ้
ข่
ห้
ส่

ล่
ณ์
ณ์
บ่
ย์
ผู้
บ้
ช่
ป็
ห้
ข้
ย์
ษ์
ห้
ต่
ต่
น์
ผู้
น่
ด้
ว้
น้
น์
ว้
น้
ด้
ห้
เฟดายีน ซัดดัม ( เสียสละของซัดดัม) ซึ่งเ นห วยอาสาสมัครพิเศษติดอาวุธจำนวน ๓ - ๔ หมื่นคน ไ ขึ้น อ
สายการบังคับบัญชาของกองทัพประจำการ หากขึ้นตรง อทำเนียบประธานาธิบดี (https://
rewardsforjustice.net/thai/uday_hussein.html & https://wikipang.com/wiki/
Saddam_Fedayeen)
ใก านเราเ ามา สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน นายกรัฐมนตรีกัมพูชา ก็ผลักดัน งเสริมจน
ลูกชายคนโต ฮุน มาเนต เรียนจบวิทยาลัยการทหารเวส พอย ของสหรัฐฯเ นคนแรกของประเทศ ไ ครอง
ยศพลเอกเพียงวัยสี่สิบ น ๆ ในตำแห ง บัญชาการทหารบกและรอง บัญชาการทหารสูงสุด (https://
workpointtoday.com/ลูกชายคนโต-ฮุน-เซน-นั่ง-2-ต/)
และในทำนองเดียวกัน วุฒิสภาชุด จจุบันซึ่งมีอำนาจโหวตเลือกนายกรัฐมนตรี วยจึงปรากฏชื่อ
สมาชิกที่ไ วางใจไ ของ าน นำและคสช.อ าง พล.อ.ปรีชา จันท โอชา, พล.ร.อ.ศิษฐวัชร วง สุวรรณ, นาย
สม จาตุศรีพิทัก และนพ.เฉลิมชัย เครืองาม เ น น (https://workpointtoday.com/family-
senator2/)
๔) การ อตั้งพรรคหรือขบวนการการเมืองให ขึ้นมา
การที่ นำอำนาจนิยมริเริ่มหาทาง อตั้งอง การหรือขบวนการการเมืองให ขึ้นมานั้นก็เพื่อเ นวิธีการ
ลดทอนอิทธิพลของสถาบันอำนาจการเมืองแ ดั้งเดิมลง และเบียดขับบรรดา แ งที่อาจ าทายตนไ ใ ไปอ
ชายขอบเสีย นอกจากนี้ นำยังสามารถใ พรรคหรือขบวนการให ดังก าวเ นพาหะจัดตั้ง สนับสนุนตน วย
อาทิ การที่ประธานาธิบดีอัลแบ โต ฟูจิโมริ นำอำนาจนิยม-ประชานิยม ายขวาที่มาจากการเลือก
ตั้งแ งเปรู (ครองตำแห ง ค.ศ. ๑๙๙๐ - ๒๐๐๐) ทยอย อตั้งพรรคและขบวนการการเมือง าง ๆ ขึ้นมาเพื่อ
เ นพาหนะเลือกตั้ง วนตัวบุคคล (personalist electoral vehicle) ของตนในการเ าชิงชัยทั้งการเลือกตั้ง
ประธานาธิบดีและสมาชิกสภาคองเกรสตามลำดับ ไ แ Cambio 90 (เปลี่ยน ๙๐) ใน ค.ศ. ๑๙๙๐,
Nueva Mayoría (เสียง างมากให ) ใน ค.ศ. ๑๙๙๕, และแนว วมอิสระเปรูใน ค.ศ. ๒๐๐๐ โดยใ เสร็จ
แ วก็ยุบทิ้งเสีย (คาส มู เด, ประชานิยม: ความ ฉบับพกพา, น. ๙๙ - ๑๐๒)
หรือกรณีที่ฮูโก ชาเวซ อตั้งขบวนการสาธารณรัฐที่ าขึ้นในเวเนซุเอลาเมื่อ ค.ศ. ๑๙๙๗ และคลี่
คลายขยายตัวมาเ นพรรคสังคมนิยมเอกภาพแ งเวเนซุเอลาในทศวรรษ อมาซึ่งเขาอาศัยเ นฐานสนับสนุน
ขึ้น ตำแห งประธานาธิบดีตั้งแ ค.ศ. ๑๙๙๙ - ๒๐๑๓ (https://www.britannica.com/biography/
Hugo-Chavez)

!"#$%&'()*+%,"-.$/&0**% ()*+%,"-" &)2&34%5 +(674* +89:;7*: 2


ป็
ล้
สู่
ห่
ว้
น่
ล้
บ้
ผู้
ษ์
ก่
ผู้
ป็
ด้
ส่
ข้
ต้
น่
ด์
ท่
ข้
ผู้
ผู้
ผู้
ก่
ต่
ม่
น่
ร์
ผู้
ช้
ปี
ป็
ก่
ปั
ย่
ต่
ป็
น่
ห่
รู้
ต้
ค์
ด้
ผู้
ม่

ก่
ต่
ก่
ต์
ห้
ท์
ม่
ร์
ร่
ผู้
ล่
ต่
ป็
คู่
ป็
ข่
ฝ่
ปี
ม่
ปี
ข้
ปี
ด้
ท้
ป็
ผู้
ต่
ษ์
ส่
ด้
ป็
ห้
ม่
ช้
ด้
ด้
ต่
ยู่
รวมทั้งการที่ประธานเหมาเ อตงชี้นำปลุก นยุยงขบวนการเยาวชนเรดกา ดใ เ าถ มโจมตีโ น ม
แกนนำเดิมของพรรคคอมมิวนิส จีนในฐานที่เ น “กองบัญชาการให ” ของพวกเดินแนวทางลัทธิแ -
ทุนนิยมที่คัด านแนวทางการเมือง ายจัดของเหมาเองใน วงการปฏิวัติวัฒนธรรม (Frank Dikötter, The
Cultural Revolution: A People’s History, 1962-1976, 2016)
สำหรับ นำอำนาจนิยมไทยเรา การ อตั้งพรรคการเมืองเพื่อเ นพาหนะเลือกตั้ง วนตัวบุคคลชั่ว
คราว ใ เสร็จสิ้นภารกิจแ วก็ยุบทิ้งเสียนั้น มีใ เห็นเ นประจำ ตั้งแ พรรคเสรีมนังคศิลาของจอมพล ป. พิบูล
สงคราม, พรรคชาติสังคมของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัช , พรรคสหประชาไทยของจอมพลถนอม กิตติขจร, พรรค
สามัคคีธรรมของแกนนำ รสช. ในอดีต และ าสุดพรรคพลังประชารัฐของแกนนำ คสช. ใน จจุบัน
๕) การใ การลงประชามติเ นวิธีการตัดสินชี้ขาดเรื่องให ทางการเมือง
เ นแบบฉบับเลย า นำอำนาจนิยมทั้งหลายมักใ ยุทธวิธีนี้มาฉาบปูน ดผนึกการเปลี่ยนแปลงแ ไข
รัฐธรรมนูญและหมากกลอื่น ๆ ซึ่งมอบหมายอำนาจแ ตัวเองเพิ่มขึ้นใ หนาแ นแข็งแก งมั่นคง วยการ
เรียก องมหาชนใ เ า วมลงมติเองโดยตรง คะแนนเสียงประชามติเห านี้ก็ทำใ การตัดสินชี้ขาดเรื่องเปลี่ยน
ายริบฉวยอำนาจทางการเมืองมาไ ในมือ นำดูชอบธรรมยิ่งขึ้น ถึงแ อยนักที่ประชามติจัดเองชงเองดัง
ก าวจะสะ อนเจตจำนงของประชาชนไ อ างแ จริง
ตัวอ างคลาสสิกไ แ นาซีเยอรมนี รัฐบาลเยอรมันจัดลงประชามติใน ค.ศ. ๑๙๓๔ เพื่อใ มหาชน
แสดงความเห็นชอบการหลอมรวมอำนาจห าที่ของ [ตำแห งประธานาธิบดีแ งสาธารณรัฐ+ตำแห งนายก-
รัฐมนตรี+ตำแห งหัวห ากองทัพ] เ า วยกันเ นหนึ่งเดียว ปรากฏ าคะแนนเสียงเกือบ ๙๐% โหวต “เห็น
วย” ทำใ อำนาจของฮิตเลอ เ าสวมตำแห ง “ นำ” (Führer) หนึ่งเดียวให ดังก าวรวมศูน เพิ่มพูน
ขึ้นไ เทียมทานหลังจากนั้น (https://www.bbc.co.uk/bitesize/guides/zxs2pbk/revision/9)
ในประเทศไทยระยะใก นี้มีการใ ประชามติมาแสดงความเห็นชอบกับ างรัฐธรรมนูญ ๒ ฉบับโดย
คณะรัฐประหาร ไ แ รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. ๒๕๕๐ ของ คมช. และรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. ๒๕๖๐ ของ คสช.
ลักษณะและน้ำหนักของประชามติซึ่งจัดโดยคณะ นำอำนาจนิยมไทยดังก าวเ นอ างไร พิจารณาไ จาก
การนำเสนอของคุณหทัยกาญจ ตรีสุวรรณ นัก าวบีบีซีไทย สำรวจวิจัย นเขียนวิทยานิพน มหาบัณฑิต
เกี่ยวกับประชามติครั้งหลังโดยตรงในหัว อ “รัฐธรรมนูญ อนกลกับกลยุท การสื่อสารเพื่อครองอำนาจนำ ใน
สนามประชามติ” เมื่อ ๑๔ ก.พ. ๒๕๖๓ (https://www.youtube.com/watch?v=y4AufVKtlcI)
๖) การส างกองกำลังความมั่นคงให ขึ้นมาแยก างหากจากกองทัพประจำการแ งชาติเดิม

!"#$%&'()*+%,"-.$/&0**% ()*+%,"-" &)2&34%5 +(674* +89:;7*: 3


ย้
ด้
ล่
ร้
ร้
ช้
ป็
ห้
ท้
ค้
ย่
น่
ผู้
ช้
ห้
ร้
ด้
ข้
ก่
ร่
น้
ล้
ว่
ด้
ผู้
ก่
ร์
น์
ผู้
ล้
ต์
ข้
ซ้
ว้
จ๋
ป็
ข้
ด้
ข้
ด้
ช้
ผู้
น้
ล่
ย่
ก่
ม่
ป็
ห้
น่
ป็
ข่
ท้
ผู้
ปั่
ต์
ผู้
ป็
ก่

ต่
ซ่
ช่
ช้
น่
ผู้
ญ่
ต่
ญ่
ม้
ว่
ห้
ล่
ป็
น้
ค้
ล่
ธ์
น่
ห่
ปิ
ป็
ร่
ปี
ห้
ม่
ร์
ย่
ห้
ล่
ร่
ข้
ส่
ห่
ปั
ธ์
ล่
ด้
ย์
น่
ห้
ด้
ก้
ค่
ก้
ล้
เ าประสง ของ นำอำนาจนิยมในการนี้คือ วงทานกองทัพแ เดิมโดยหวัง ามันจะยับยั้งบรรดานาย
ทหารทั้งหลายไ ใ คิด อรัฐประหารยึดอำนาจ ดังที่เรียกกัน า coup-proo ng หรือมาตรการ องกัน
รัฐประหาร
จะ ากันไปแ วยุทธวิธีบุคลาภิวัต อนี้ของ นำอำนาจนิยมนับ า มเสี่ยงอ เพราะมันอาจกลาย
เ นการแห รังแตน คือทำใ ทางกองทัพที่ แกวไ กลิ่นเจตนาทำนองนี้ของ นำก็เลยพาลตัดสินใจ อ
รัฐประหารตัดห าเพื่อประ วงก็เ นไ เพราะสิ่งหนึ่งที่กองทัพแ งชาติสมัยให ถือสาก็คือตนจะ องผูกขาด
การถือครองกำลังอาวุธสงครามในชาติไ แ เพียง เดียว (monopoly of war weapons) หัวเด็ดตีนขาดก็ จะ
ป อยใ มีกองกำลังติดอาวุธสงครามกองที่สอง างหากจากตนออกไปไ ไ
ดังที่เคยเกิด ญหาทหารหาญในกองทัพ สึกไ มั่นคงและ นเคืองใจทำนองนี้ในเมืองไทยมาตั้งแ ครั้ง
การ อตั้งกองกำลังเสือ าในสมัยรัชกาลที่หก, กองกำลังเสรีไทยในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง, กองกำลัง
ตำรวจติดรถถังสมัยอธิบดีกรมตำรวจ พล.ต.อ.เ า ศรียานน เ น น (https://www.matichon.co.th/
columnists/news_72898)
อ างไรก็ตาม หาก นำ วงชิง อตั้งกองกำลังติดอาวุธให ขึ้นมาสำเร็จ มันก็เ นสัญญาณ าเขาเสริม
ส างการควบคุมอำนาจของตนไ เ น กแ น เพราะการมีกองกำลังความมั่นคงที่จงรักภักดี อตนเ น วนตัว
อ นอกเหนือสายการบังคับบัญชาของกองทัพปกตินั้น อมลดทอนโอกาสความเ นไปไ ที่ นำจะถูกโ นขับ
จากตำแห ง วยกำลังทหารและฉะนั้นจึงเพิ่มพูนอำนาจ อรองของ นำ อกองทัพขึ้นมาก
ตัวอ างของการนี้นอกจากกองกำลังเฟดายีน ซัดดัมของซัดดัม ฮุสเซนในอิรัก าง นแ ว ก็ไ แ กรณี
ฟรองซัว ดูวาลิเอ หรือ “ปา าด็อค” ประธานาธิบดีอำนาจนิยมของไฮติจาก ค.ศ. ๑๙๕๗ - ๑๙๗๑ ไ ส าง
กองกำลังตองตอง มาคุต ขึ้นใน ค.ศ. ๑๙๕๙ อันเ นก มเด็กห มติดมีดดาบ ภักดี อ “ปา าด็อค” อ าง
สุดชีวิตจิตใจมาเ นกองกำลังองครัก ของตัวเองซึ่งกลายเ นมีอำนาจเหนือกองทัพ วยซ้ำไปในเวลา อ มา
(https://www.csmonitor.com/World/Americas/2011/0120/5-reasons-why-Haiti-s-Jean-
Claude-Duvalier-is-infamous/Tonton-Macoutes)

!"#$%&'()*+%,"-.$/&0**% ()*+%,"-" &)2&34%5 +(674* +89:;7*: 4


ป็
ร้
ยู่
ล่
ก่
ห้
ส์
ป้
น่
ย่
ย่
ว่
ด้
ย่
ม่
น้
ป็
ห้
ร์
ค์
ปั
ล้
ก่
ป่
ส์
ผู้
ท้
ผู้
ห้
ป้
ช่
ปี
ด้
ป็
ป็
ษ์
ปึ
ด้
ก่
ว้
น์
ต่
ผ่
รู้
ข้
ต่
ผ่
รู้
ผู้
ด้
ป็
ผู้
ถ่
ม่

ย่
ต่
ลุ่
ป็
ท์
ว่
ป็
ห่
ม่
นุ่
ขุ่
ต้
ผู้
ต่
ม่
ต่
ว่
ด้
สุ่
ผู้
fi
ผู้
ม่
ป็
ด้
ว่
ยู่
ป็
ต่
ข้
ด้
ต้
ผู้
ต่
ป้
ล้
ป้
ต้
ว่
ก่
ป็
ต่
ด้
ค่
ส่
ด้
ก่
ต่
ย่
ร้

You might also like