Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 4

1

The Current Issues and Trend of Folk Culture

พิธีกรรมของประเทศไทย

จะเกี่ยวเนื่องกับคนไทยตั้งแต่เกิด เพราะวัฒธรรมต่างๆ ของ ประเทศไทย จะขึ้นอยูก่ บั


ศาสนาเป็ นหลัก หรื อใช้ในการเฉลิมฉลองในโอกาสต่างๆ อีกด้วย
พิธีกรรมในประเทศไทยมีดงั นี้
- งานบวชต่างๆ รวมถึงงานศพ เป็ นต้น
- งานไหว้ครู งานไหว้ครู มวย งานบายศรี หรื อ เกี่ยวข้องกับการนวดแผนโบราณของ
ไทยอีกด้วย
- งานเฉลิมฉลองในโอกาสต่างๆ เช่น งานแต่งงาน
โดยงายต่างๆ เหล่านี้ จะเกี่ยวข้องกับศาสนาพุทธเป็ นอันมาก และจะใช้วงดนตรี ไทยในการ
เล่นประกอบพิธีกรรม
งานดนตรี และพิธีกรรมของจังหวัด เชียงใหม่ มีงานประจาท้องถิ่นคือฟ้อนเจอง และฟ้อน
ดาบและจะมีพิธีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาคือการผูกข้อมือ ก่อนเข้ารับการศึกษาและ การจบการศึกษา
โดยครู ผสู ้ อนเป็ นผูท้ ี่ทาพิธีกรรมนี้ข้ นึ
ส่ วนทางด้านของดนตรี ได้มี การเล่น ชะล้อ ซอ ซึง ซึ่งเป็ นเครื่ องดนตรี ทอ้ งถิ่นของชาว
เชียงใหม่ หรื อการทาวงปี่ จุ่ม
งานดนตรี และพิธีกรรมของภาคอีสาน โดยมีการรากลอนและมีการแสดงในงานต่างๆ เพื่อ
ความสวยงามและเพลิดเพลิน โดยพิธีกรรมนี้จะเกิดขึ้นคู่กบั ชุมชนของชาวอีสาน เพื่อให้ผฟู ้ ังได้รับ
ความสนุกสนานเพลิดเพลิน โดนใช้ลีลาการพูด และใส่อารมณ์กบั บทที่จะเล่า และเครื่ องดนตรี ที่ใช้
ประกอบคือ แคน
องค์ประกอบของการแสดงลากลอน จะมีผแู ้ ต่งลากลอน ซึ่งเป็ นบุคคลที่มีบทบทาสาคัญใน
การเสนอแนวทางในการแสดงเพื่อใช้ในโอกาสต่างๆ และหมอลากลอน เป็ นผูช้ ายและผูห้ ญิง แต่ใน
สมัยก่อนใช้แต่ผชู ้ ายล้วนและโอกาสในการแสดง สามารถทาได้ทุกโอกาสและได้ท้ งั กลางวันและ
กลางคืน

ละครชาตรี จ.เพชรบุรี คณะเบญจา ศิษย์ ฉลองศรี


มีการแสดงทั้งหมด 2 รายการดังนี้
1.ราซัดชาตรี เป็ นการราถวายมือครู พระเทพสิ งขร อันเป็ นบรมครู ของละครชาตรี
2.แสดงละครชาตรี
2

ละครชาตรี คณะเบญจา ศิษย์ฉลองศรี มีประวัติความเป็ นมาคือได้ต้ งั ขึ้นเทื่อปี 2538 โดย


นางเบญจา แก้วอินทร์ เป็ นศิษย์คุณย่าบุญมา ปาศบุตร คณะฉลองศรี และได้ถ่ายทอดความรู ้ไว้
ตามลาดับและยังรับการแสดงอยูจ่ นถึงปัจจุบนั

พิธีไหว้ ครู โนรา


การไหว้ครู ครู โนรา จะแสดงเมื่อคณะโนราอยูใ่ นโรงพิธีต้ งั เครื่ อง เพื่อประกาศให้ทราบว่า
โนรามาถึงแล้ว ครู หมอโนราหรื อนายโรงร้องบทกราบครู ในบทยานเอ บทชุมนุมเทวดา บทสัสดี
จนจบจึงทาพิธีกราบครู โดยให้คณะโนราและผูเ้ ข้าร่ วมพิธีกราบครู พร้อมกัน ซึ่งพิธีน้ ีจะใช้เวลา
ประมาณ 2 ชัว่ โมง เมื่อทาพิธีเสร็ จก็จะให้สมาชิกโนราในคณะจานวน 1-2 คน ราเพื่อบูชาครู
พิธีไหว้ครู โนรา มีลาดับขั้นตอนดังนี้
1. การทาพิธีเข้าโรง 2. การตั้งเครื่ อง 3. การจัดอุปกรณ์ประกอบพิธีกรรม 4. การเบิกโรง
5. การลงโรง 6. การร้องบทขานเอ 7. การร้องบทชุมนุมเทวดา 8. การร้องบทสัสดี 9. การกราบ
ครู 10. การราหน้าครู
การราเฆี่ยนพราย – เหยียบลูกมะนาว
เป็ นการราประกอบพิธีกรรมการตัดไม้ข่มนามของโนราใหญ่หรื อนายโรง สาหรับการ
ประชันโนรา เพื่อทาลายข่มขวัญโนราฝ่ ายตรงกันข้ามให้เกิดอุปสรรค การาราเฆี่ยนพรายจะต้องมี
หมอกบโรงหรื อครู หมอเฒ่าเป็ นผูท้ าพิธีขณะร่ ายรา

ประเทศเวียดนาม
ประชากรส่ วนใหญ่ของประเทศมีความเชื่อว่าโลกมีท้ งั 4 ขั้นได้แก่ โลกบนท้องฟ้า โลก
ใต้น้ า โลกในป่ า โลกบนพื้นดิน กลุ่มชาติพนั ธุ์ชาวเวียดนามจะจัดพิธีกรรมประจาปี ในช่วงฤดู
ใบไม้ผลิ ซึ่งส่ วนใหญ่คือช่วงเดือนอ้ายตามปฏิทิน ดดยทัว่ ไปจะมีการเซ่นไหว้และอัญเชิญเทพเจ้า
ทุกพระองค์รวมทั้งบรรพบุรุษ และเทพเจ้าที่สาคัญที่สุดคือ เทพารักษ์ ในช่วงพิธีมกั จัดให้มีการ
แสดงละคร การร้องเพลง และการเต้นระบา การเล่าเรื่ องเกี่ยวกับความกล้าหาญหรื อการต่อสู้ที่
เป็ นประวัตืศาสตร์ของหมู่บา้ น มีการสักการบูชาเทพารักษ์และเทพเจ้าองค์อื่นๆ ซึ่งการแสดงใน
ระหว่างพิธีบูชาเทพเจ้านี้ มีดนตรี ระบา ละคร การละเล่น และการแสดงที่หลากหลาย
การแสดงในพิธีกรรม
ฮัดฉวน (Hat Xoan) เป็ นการร้องเพื่อชื่นชมฤดูใบไม้ผลิของทุกปี แต่ละหมู่จะมีคณะฉวนของ
ตนเอง ซึ่งมีหน้าจัดการแสดงหน้าแท่นบูชาเทพารักษ์ประจาหมู่บา้ นและบางครั้งมีการแสดงที่
หมู่บา้ นใกล้เคียงด้วย รายการแสดงฉวน จะประกอบด้วย 4 ส่วนคือ
1.การร้องเพลงสวดมนต์
2.การบรรยายถึงสิ่ งต่างๆ ที่แตกต่างกัน
3

3.การร้องเพลงและการแสดงท่าทางประกอบการเต้น
4.การตกปลา เป็ นส่วนสุดท้ายของการแสดง ปลาที่จบั ได้ถูกนามาเป็ นเครื่ องสังเวยเทพเจ้า

สถานการณ์ ปัจจุบันของฮัดฉวน
พิธีน้ ีมีแนวโน้มจะสู ญหายไป ในช่วง 30 ปี ที่มีสงคราม เพราะไม่มีการจัดพิธีฉวน แต่เมื่อ
ที่สิบปี ที่ผา่ นมา ชาวบ้านได้ร้ื อฟื้ นประเพณี น้ ีข้ นึ มาใหม่ โดยมีผอู ้ าวุโสที่ยงั จาขั้นตอนการแสดง
ได้มาฝึ กเด็กรุ่ นใหม่ที่มีอายุตามที่กาหนดไว้ตามประเพณี การแสดงให้สืบทอดประเพณีต่อไป คณะ
แสดงเหล่านี้ได้แสดงในพิธีในฤดูใบไม้ผลิและยังจัดการแสดงในเทศกาล งานบันเทิงต่างๆ
นอกจากนี้นกั แต่งเพลงร่ วมสมัยบางคนได้ใช้ดนตรี และรู ปแบบของฮัดฉวนมาสร้างสรรค์ผลงาน
เพลงใหม่ เพื่อใช้ในการแสดงประเภทต่างๆ และยังมีการแสดงฮัดฉวน ประยุกต์ ซึ่งร้องและมี
ดนตรี ที่มีลกั ษณะเป็ นวงสากลประกอบ

ประเทศลาว
เป็ นประเทศที่อุดมสมบูรณ์ดว้ ยป่ าไม้และภูเขา และมีประชากรที่เป็ นเชื้อชาติลาวเกือบ 50
ชนเผ่า และมีภาษาเป็ นของตนเอง วัฒนธรรมจะเน้นเรื่ องประเพณีที่แตกต่างกัน ดนตรี จะมี
ลักษณะหวานๆ การฟ้อนไม่แข็งกระด้าง ประเทศลาวแบ่งเป็ น 27 แขวง ทาให้ดนตรี มีทานองและ
เสี ยงขับลาที่เป็ นเอกลักษณ์ของตนเอง เช่น แขวงหัวพันธ์ มีขบั ชาเหนือเพราะแขวงนี้มีลาน้ าที่ดีต่อ
การดารงชีวิต และแขวงเวียงจันทร์ มีขบั งึ่ม เป็ นเสี ยงขับของชุมชนที่ดารงชีวิตอยูต่ ามสายน้ างึ่ม
ประเพณีและความเชื่อของคนในประเทศลาว เชื่อว่าหากขาดดนตรี ก็ไม่สามารถดาเนิน
ชีวิตได้ เนื่องจากไม่สามารถดาเนินพิธีกรรมต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง เช่น พิธีเรี ยกขวัญของชน
เผ่าม้ง ต้องมีฆอ้ งเล็กตี
เครื่ องดนตรี ที่ใช้ประกอบพิธีกรรมของชาวลาวประกอบด้วย เสี ยงแคนเสี ยงกลอง เสี ยงปี่
เสี ยงเบาใบไม้ ซึ่งเสี ยงเหล่านี้ได้มาจากธรรมชาติ

วัฒนธรรมเขมร
ดนตรีสาหรับการบวงสรวงและการบูชา
เป็ นดนตรี ทีมีหน้าที่ (Function) ในชีวิตชุมชนของชาวบ้าน เป็ นพิธีกรรมที่มีบทบาทใน
การสื่ อสารกับสิ่ งศักดิ์ สิ ทธ์ และยังมี ความหมายตามความเชื่ อในชุ ม ชนในด้านอื่ นๆ เช่ น การหา
สาเหตุ ข องความเจ็บ ป่ วย จะมี บ ทเพลงที่ ใช้เฉพาะในแต่ ล ะช่ วงของพิ ธี ก รรมดนตรี ที่ เรี ย กว่า
“ARAKK MUSIC” สาหรับชาวเขมรนั้น ใช้เพื่อประกอบพิธีกรรมสาหรับปั ดเป่ าความทุกข์
ยาก หาสาเหตุการป่ วยและบอกถึงอนาคตข้างหน้าของชุมชน
4

นอกจากนี้ยงั มีดนตรี ที่ใช้ในงานแต่งงาน ที่เรี ยกว่า เพลงกา(KAR) โดยจะมีวงที่ทา


หน้าที่น้ ีอยูท่ วั่ ไปในหมู่บา้ นของชาวเขมร หรื อแม้กระทัง่ ชุมชนเขมรในต่างแดน เพื่อใช้
ประกอบการแต่งงานโดยเฉพาะ

ดนตรีที่เป็ นการละเล่ นพื้นบ้ าน


“การเต้นราของวัวป่ า”
สถาบันศิลปะและการแสดงของเขมร ได้ทาการสารวจข้อมูลทัว่ ประเทศ และเมื่อกลับมา
ได้ทาการอนุรักษ์ ในลักษณะของการแสดงเวที ที่ได้ขอ้ มูลมาจากชุมชนพื้นบ้าน นามาเสนอต่อ
บุคคลทัว่ ไปจะเห็นได้วา่ ดนตรี เขมรไม่สามารถแยกออกจากสภาพแวดล้อมทางสังคมและ
วัฒนธรรม, ศิลปะด้านอื่นๆได้ ดนตรี ประเภทนี้ เกิดขึ้นมาในสังคมที่มีการนับถือผี

You might also like