Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 6

เครื่องมือประเมินจุดเน้นและนโยบาย สพป.

ระยอง เขต 1 ประจาปีการศึกษา 2566-2567


“ปลอดภัยอันดับหนึ่ง คานึงถึงโอกาส สมาร์ททั้งระบบ สอนครบสมรรถนะ เน้นทักษะอาชีพ
ACTIVE LEARNING อิงประวัติศาสตร์ เก่งกาจนวัตกรรม ก้าวนานวัตกร”
****************************************
โรงเรียน : ..................................................................... วันที่ประเมิน : ......................................
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
คาชี้แจง: โปรดให้คะแนนตามระดับคุณภาพ ดังนี้
5 คะแนน หมายถึง มีการปฏิบัติครบถ้วนในด้านนั้น 5 รายการ
4 คะแนน หมายถึง มีการปฏิบัติในด้านนั้นครบถ้วน 4 รายการ
3 คะแนน หมายถึง มีการปฏิบัติในด้านนั้นครบถ้วน 3 รายการ
2 คะแนน หมายถึง มีการปฏิบัติในด้านนั้นครบถ้วน 2 รายการ
1 คะแนน หมายถึง มีการปฏิบัติในด้านนั้นครบถ้วน 1 รายการ
ประเด็นที่ 1 : ปลอดภัยอันดับหนึ่ง
ตัวชี้วัด : โรงเรียนดาเนินการด้านความปลอดภัยอย่างมีประสิทธิภาพ
คาอธิบาย : โรงเรียนดูแลความปลอดภัยของทุกคนในสถานศึกษาให้มีความปลอดภัยสูงสุด โดยมีมาตรการ
รักษาความปลอดภัยและนวัตกรรมตามหลัก 3 ป. ได้แก่ “ป้องกัน ปลูกฝัง ปราบปราม” เพื่อให้นักเรียนเกิดการ
เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มีความสุข และได้รับการปกป้องคุ้มครองความปลอดภัยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ รวมถึงการ
สร้างทักษะให้นักเรียนความสามารถในการดูแลตนเองจากภัยอันตรายต่าง ๆ ท่ามกลางสภาพแวดล้อมทางสังคม

เกณฑ์การพิจารณาผลการปฏิบัติของสถานศึกษา คะแนน ร่องรอย/หลักฐาน


1) มีการกาหนดรูปแบบ/โมเดล/วงจรงานความปลอดภัยของสถานศึกษา
ตามบริบทของพื้นที่
2) มีการจัดแผนการป้องกันและเผชิญเหตุจากภัยต่าง ๆ ทุกรูปแบบ
ของสถานศึกษาและมีกิจกรรมซักซ้อมการเผชิญเหตุกับภัยต่าง ๆ ตามแผน
ที่กาหนดไว้อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง
3) กาหนดมาตรการป้องปรามด้านความปลอดภัยเพื่อให้นักเรียนเกิดการ
เรียนรู้อย่างมีคุณภาพและมีความสุข และตรวจสอบเครื่องมือ เครื่องใช้
เครื่องเล่น ตลอดจน กากับดูแลนักเรียนในระหว่างการใช้งานได้อย่างปลอดภัย
4) มีกิจกรรมส่งเสริม สร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักถึง
ความปลอดภัยทางร่างกายและจิตใจภายในทั้งในและนอกสถานศึกษา และ
มีการประชาสัมพันธ์ ทา MOU ในการป้องกัน เผชิญเหตุ ช่วยเหลือ
กับทุกภาคส่วน หน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ ที่จาเป็น
5) มีการบูรณาการร่วมกันกับหน่วยป้องกัน เจ้าหน้าที่รักษา
ความปลอดภัยของรัฐและเอกชนในพื้นที่ ในการดูแลรักษาทรัพย์สินของ
ทางราชการ
ประเด็นที่ 2 : คานึงถึงโอกาส
ตัวชี้วัด : ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสและเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน
ค าอธิ บ าย : โรงเรี ย นเพิ่ ม โอกาสและการเข้ า ถึ ง การศึ ก ษาที่ มี คุ ณ ภาพของทุ ก คนอย่ า งเสมอภาค
และเท่าเทียมกันโดยยึดหลักการเรียนรู้ตลอดชีวิตและการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
เกณฑ์การพิจารณาผลการปฏิบัติของสถานศึกษา คะแนน ร่องรอย/หลักฐาน
1) กาหนดรูปแบบ/โมเดล/วงจรการทางานติดตามเด็กตกหล่น/ติดตามเด็ก
กลับเข้ามาเรียนของสถานศึกษา
2) จัดทาแผน มาตรการติดตามกลุ่มเป้าหมายที่สอดคล้องกับบริบทของ
สถานศึกษา และดาเนินการติดตามตามแผน/มาตรการอย่างต่อเนื่องและชัดเจน
3) จัดทาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างเป็นรูปธรรมโดยเน้น
การเยี่ยมบ้าน การช่วยเหลือและเยียวยา
4) มีการบูรณาการความช่วยเหลือร่วมกับองค์กร หน่วยงาน ชุมชน ที่
เกี่ยวข้องตามบริบทพื้นที่
5) มีการจัดทาหลักสูตร กิจกรรม ชมรม หรืออื่นๆที่เป็นการส่งเสริม
สนับสนุนร่วมกับภาคีเครือข่าย เพื่อให้เด็กได้รับการพัฒนาตามศักยภาพ
พหุปัญญา หรือตามความถนัดตลอดจนทักษะอาชีพ สมรรถนะที่เด็กสนใจ
ตามบริบทของพื้นที่

ประเด็นที่ 3 : สมาร์ททั้งระบบ
ตัวชี้วัด : โรงเรียนพัฒนาระบบการบริหารจัดการอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ
คาอธิบาย : โรงเรียนบริหารจัดการทุกระบบในโรงเรียนอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ เช่น ระบบ
ประกันคุณภาพการศึกษา ระบบการเรียนรู้ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ระบบบริหารจัดการสถานศึกษาทั้ง 4 ฝ่าย
(วิชาการ งบประมาณ บุคคล บริหารงานทั่วไป) และระบบข้อมูลสารสนเทศ การจัดการศึกษา การบริหารจัดการ
ด้านการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย
เกณฑ์การพิจารณาผลการปฏิบัติของสถานศึกษา คะแนน ร่องรอย/หลักฐาน
1) มีการดาเนินการระบบประกันคุณภาพอย่างต่อเนื่องและชัดเจนครอบคลุม
กระบวนการ ขั้นตอน การนิเทศ ติดตาม และประเมินผล
2) มีการดาเนินการระบบการนิเทศภายในอย่างต่อเนื่องและชัดเจนครอบคลุม
กระบวนการ ขั้นตอน การนิเทศ ติดตาม และประเมินผล
3) มีการดาเนินการระบบดูแลช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องและชัดเจนครอบคลุม
กระบวนการ ขั้นตอน การนิเทศ ติดตาม และประเมินผล
4) มีการดาเนินการระบบบริหารจัดการสถานศึกษาทั้ง 4 ฝ่าย อย่างต่อเนื่อง
และชัดเจนครอบคลุมกระบวนการ ขั้นตอน การนิเทศ ติดตาม และประเมินผล
5) มีการดาเนินการระบบระบบข้อมูลสารสนเทศ การจัดการศึกษา การ
บริหารจัดการด้านการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายอย่างต่อเนื่องและชัดเจน
ครอบคลุมกระบวนการ ขั้นตอน การนิเทศ ติดตาม และประเมินผล
ประเด็นที่ 4 : สอนครบสมรรถนะ
ตัวชี้วัด : ครูพัฒนานักเรียนให้มีสมรรถนะที่พร้อมและสามารถตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
คาอธิบาย : โรงเรียนส่งเสริมให้ครูพัฒนานักเรียนให้มีสมรรถนะที่พร้อมและสามารถตอบสนองต่อ การ
เปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 มุ่งเน้นให้นักเรียนเกิดสมรรถนะที่จาเป็นตามหลักสูตร สมรรถนะสาหรับการทางาน
การแก้ปัญหาและการดารงชีวิต นอกจากนี้ ครูผู้สอนยังปรับวิธีการเรียนเปลี่ยนวิธีการสอนที่ส่งผลต่อการพัฒนา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยกาหนดให้นักเรียนชั้น ป.6 และ ม.3 มีค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน
(O-NET) ปีการศึกษา 2566 อย่างน้อย 2 รายวิชา ไม่ต่ากว่าร้อยละ 50 (ไม่รวมรายวิชาภาษาไทย) และรายวิชา
ที่เหลือมีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจากปีการศึกษาที่ผ่านมา
เกณฑ์การพิจารณาผลการปฏิบัติของสถานศึกษา คะแนน ร่องรอย/หลักฐาน
1) จัดกระบวนการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดทักษะ สมรรถนะที่จาเป็น
ตามหลักสูตร
2) นักเรียนชั้น ป.6 และ ม.3 มีค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติ
ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2566 อย่างน้อย 2 รายวิชา
ไม่ต่ากว่าร้อยละ 50 (ไม่รวมรายวิชาภาษาไทย) และรายวิชาที่เหลือ
มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจากปีการศึกษาที่ผ่านมา
3) ครูปรับกระบวนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อ เทคโนโลยี นวัตกรรม ที่มุ่ง
ให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะและสามารถตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงใน
ศตวรรษที่ 21
4) ครูออกแบบการจัดการเรียนรู้เป็นหน่วยบูรณาการที่ให้เกิดการเรียนรู้
แบบองค์รวมโดยเห็นความสัมพันธ์ระหว่างวิชา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆและ
สอดแทรกสมรรถนะที่ส่งเสริมในการทากิจวัตรประจาวันต่าง ๆ
ของผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพและคุณภาพ
5) ครูสวมบทบาทเป็นผู้ชี้แนะ (coach) หรือโค้ชให้คาแนะนา
ใช้การตั้งคาถาม เพื่อให้นักเรียนคิดหาวิธีแก้ปัญหาด้วยตนเอง

ประเด็นที่ 5 : เน้นทักษะอาชีพ
ตัวชี้วัด : ผู้เรียนทักษะในการปฏิบัติจริง สามารถนาไปประกอบอาชีพในอนาคต
คาอธิบาย : โรงเรียนปลูกฝังทักษะและสร้างนิสัยการทางานให้แก่นักเรียน ให้มีทักษะในการปฏิบัติจริง
สามารถน าไปประกอบอาชี พ ในอนาคต ส่ งเสริมการค้ นหาความถนัด สร้างทางเลื อกและโอกาส และเตรี ย ม
คุณลักษณะด้านอาชีพต่าง ๆ อย่างหลากหลาย
เกณฑ์การพิจารณาผลการปฏิบัติของสถานศึกษา คะแนน ร่องรอย/หลักฐาน
1) มีโ ครงการ/กิจ กรรม/ชุ มนุ ม ที่ป ลู กฝั งทั ก ษะและสร้ างนิสั ย การ
ทางานให้ นั กเรี ย นมี กทั กษะในการปฏิบั ติจริ ง สามารถนาไปประกอบ
อาชี พในอนาคต
2) ส่งเสริมการค้นหาความถนัด สร้างทางเลือกและโอกาสอย่าง
หลากหลาย
3) ผู้เรียนมีคุณลักษณะด้านอาชีพต่างๆ อย่างหลากหลาย
4) มีโครงการ/กิจกรรม/ชุมนุม ฝึกทักษะอาชีพที่ตอบสนองความต้องการ
ของผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะพื้นฐานในการประกอบอาชีพ
5) ส่งเสริมความรู้และประสบการณ์แก่ผู้เรียนให้สามารถพัฒนาปริมาณ
และคุณภาพ ผลผลิต เข้าสู่การจาหน่ายมีรายได้ เกิดการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ผ่านกระบวนการกลุ่ม

ประเด็นที่ 6 : Active Learning


ตัวชี้วัด : โรงเรียนมีการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning )อย่างมีประสิทธิผล มีความเข้มแข็งและเกิด
การเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น
ค าอธิ บ าย : ครู ทุ ก คนมี น วั ต กรรมที่ ใ ช้ อ อกแบบการจั ด การเรี ย นการสอนเชิ ง รุ ก (Active Learning)
ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เน้นการจัดการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ เน้นการมีส่วนร่วม และ
ความท้าทาย นักเรียนมีความสุขและสนุกกับการเรียนรู้ สะท้อนความต้องการการพัฒนาและการนาไปใช้ประโยชน์
ในชีวิตจริง

เกณฑ์การพิจารณาผลการปฏิบัติของสถานศึกษา คะแนน ร่องรอย/หลักฐาน


1) ครูผู้สอนมีแผนการจัดการเรียนรู้และแผนการจัดประสบการณ์เชิงรุก
(Active Learning)
2) จัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการลง
มือทาผ่านการสืบค้นจากสื่อที่หลากหลายและนาสู่การประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
3) มีรูปแบบและกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการและทักษะการคิด
4) ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกระบวนการกลุ่ม มีความสุขและสนุกกับการเรียนรู้
ได้รับการฝึกฝนทักษะจนเชี่ยวชาญ ในบรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้
5) ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านสื่อดิจิทัลและเทคโนโลยีที่หลากหลาย
ประเด็นที่ 7 : อิงประวัติศาสตร์
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ ขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
และน้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ 10 สู่การปฏิบัติ
คาอธิบาย : โรงเรียนปลูกฝังให้ผู้เรียนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ มีกิจกรรมการขับเคลื่อนหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา น้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ 10 สู่การปฏิบัติ
มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมที่เป็นวิถีชีวิตประจาวันในโรงเรียน นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม เป็นพลเมือง
คุณภาพรู้จักรากเหง้าตัวตนและประวัติศาสตร์ชาติ ด้วยการใช้สื่อการจัดการเรียนรู้ที่ทันสมัย เหมาะสมกับเด็กยุคใหม่
เกณฑ์การพิจารณาผลการปฏิบัติของสถานศึกษา คะแนน ร่องรอย/หลักฐาน
1) มีโครงการ/กิจกรรม/การจัดการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรัก
ในสถาบันหลักของชาติ
2) มีโครงการ/กิจกรรมการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่
สถานศึกษา
3) มีโครงการ/กิจกรรม และกระบวนการจัดการเรียนรู้น้อมนาพระบรม
ราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ 10 สู่การปฏิบัติ
4) มีโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรม
ที่เป็นวิถีชีวิตประจาวันในโรงเรียน
5) มีโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมให้นักเรียนมคุณธรรมจริยธรรม เป็น
พลเมืองคุณภาพ รู้จักรากเหง้า ตัวตน ประวัติศาสตร์ชาติด้วยการใช้สื่อการ
จัดการเรียนรู้ที่ทันสมัยเหมาะกับเด็กยุคใหม่

ประเด็นที่ 8 : เก่งกาจนวัตกรรม
ตัวชี้วัด : โรงเรียนมีการดาเนินการเพื่อพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
ค าอธิ บ าย : ผู้ อ านวยการสถานศึ ก ษา ประยุ ก ต์ ออกแบบ คิ ด ค้ น สร้ า งนวั ต กรรมเพื่ อ แก้ ปั ญ หาหรือ
พัฒนาการบริหารจัดการสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพและมีความยั่งยืน แก้ปัญหา ริเริ่มและ/หรือพัฒนานวัตกรรม
การบริ ห ารงานด้ า นวิ ช าการ ด้ า นงบประมาณ ด้ า นงานบุ ค คล และด้ า นบริ ห ารทั่ ว ไป ตลอดจนใช้ น วั ต กรรม
ทีเ่ กี่ยวข้องพร้อมทั้งใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัลมาช่วยในการบริหารจัดการ
ครูผู้สอน มีสื่อและนวัตกรรมด้านการจัดการเรียนการสอน การจัดการชั้นเรียน การวัดและประเมินผล
และการพัฒนาวิชาชีพเพื่อใช้แก้ปัญหาหรือพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ ตรงตามเป้าหมายของหลักสูตร
ส่งผลให้นักเรียนผู้มีความสุข ดี มีทักษะและเก่งเต็มศักยภาพ รวมทั้งสนองความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น
เกณฑ์การพิจารณาผลการปฏิบัติของสถานศึกษา คะแนน ร่องรอย/หลักฐาน
1) ผู้อานวยการสถานศึกษา ประยุกต์ ออกแบบ คิดค้น ริเริ่ม พัฒนาหรือ
สร้างนวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการบริหารจัดการสถานศึกษา
ให้มีประสิทธิภาพและมีความยั่งยืน
2) ใช้นวัตกรรมการบริหารงานด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านงาน
บุคคล และด้านบริหารทั่วไป โดยนาสารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัล
มาช่วยในการบริหารจัดการ
3) ครูผู้สอน มีสื่อและนวัตกรรมด้านการจัดการเรียนการสอน การจัดการ
ชั้นเรียน การวัดและประเมินผลที่เป็นปัจจุบัน และเป็นแบบอย่างได้
4) ครูใช้สื่อ นวัตกรรม ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยนาสารสนเทศ
และเทคโนโลยีดิจิทัลมาช่วยในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
5) ครูพัฒนาวิชาชีพเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาการจัดการเรียนรู้
อย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามเป้าหมายของหลักสูตร ส่งผลให้นักเรียน
มีความสุข ดี มีทักษะ และเก่งเต็มศักยภาพ ตลอดจนสนองความต้องการ
ของชุมชนและท้องถิ่น

ประเด็นที่ 9 : ก้าวนานวัตกร
ตัวชี้วัด : โรงเรียนดาเนินการเพื่อการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นนวัตกร
ค าอธิ บ าย : โรงเรี ย นส่ ง เสริ ม และพั ฒ นานั ก เรี ย นให้ มี ทั ก ษะการคิ ด ทั ก ษะที่ จ าเป็ น ในศตวรรษ
ที่ 21 และทักษะในอนาคต สามารถเรียนรู้และปรับตัวเข้ากับสิ่งใหม่ ๆ มีความรู้ดิจิทัลและการคิดเชิงคานวณ
การนาความรู้ที่ได้เรียนจากชั้นเรียนและเพิ่มเติมนอกห้องเรียนมาออกแบบ ทดลอง สร้างสรรค์ชิ้นงาน และโครงงาน
ร่ ว มกัน ส่ งเสริ มนั กเรี ย นให้ เป็ น นั กคิ ด นั กประดิษฐ์ มีผ ลงานเชิงประจักษ์ในทุ ก กลุ่ มสาระการเรีย นรู้ ต่อยอด
การเรียนรู้สู่การพัฒนานักเรียนให้เป็นนวัตกร (Young Innovator)

เกณฑ์การพิจารณาผลการปฏิบัติของสถานศึกษา คะแนน ร่องรอย/หลักฐาน


1) ผู้เรียนร้อยละ 80 ขึ้นไป มีความสามารถทางการคิด ทักษะที่จาเป็น
ในศตวรรษที่ 21 และทักษะในอนาคต
2) ผู้เรียนร้อยละ 80 ขึ้นไป มีทักษะดิจิทัลและการคิดเชิงคานวณ
3) ผู้เรียนร้อยละ 80 ขึ้นไป มีทักษะทางสังคม และทักษะเชิงระบบ ดังนี้
(3.1) ทักษะการวินิจฉัยและการตัดสินใจ (3.2) ทักษะการวิเคราะห์อย่างเป็น
ระบบ (3.3) ทักษะการแก้ปัญหาที่ซับซ้อน และ (3.4) ทักษะการบริหาร
ทรัพยากรและทักษะเฉพาะทาง
4) ผู้เรียนร้อยละ 80 ขึ้นไป มีทักษะการออกแบบ ทดลอง สร้างสรรค์
ชิ้นงาน และโครงงานร่วมกัน
5) ผู้เรียนร้อยละ 80 ขึ้นไป เป็นนักคิด นักประดิษฐ์ มีผลงานเชิงประจักษ์
ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และต่อยอดการเรียนรู้สู่การพัฒนานักเรียน
ให้เป็นนวัตกร (Young Innovator) อย่างเป็นรูปธรรม

You might also like