การติดตั้ง Outdoor Termination

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 54

เอกสาร

ประกอบการเรียน
ประจําป 2566
การติดตั้ง Outdoor Termination
และ Plug in GIS 115 เควี
2

การพัฒนาการจากสายเหนือดินสูสายใตดิน
3

สายตัวนําเปลือย (CONDUCTOR)

พบไดในระบบจําหนายแบบเหนือดิน
( Overhade Distribution Line )
AAC ; All Aluminum Conductor
AAAC ; All Aluminum Alloy Conductor
ACSR ; Aluminum Conductor Steel Reinforced
4

สายตัวนําหุมฉนวน (Cable)

พบไดในระบบจําหนายแบบเหนือดิน
( Overhade Distribution Line )
PIC ; Pacial Insulation Cable
หุมดวยฉนวน XLPE 1 ชั้น ไมสามารถจับตอง
สายดวยมือเปลาได เนื่องจากฉนวนบางมาก ซึ่ง
ชวยปอง กันการเกิดลัดวงจรจากกิ่งไม หรือวัสดุ
พาดสายของสายเปลือยเทานั้น ใชเดินในอากาศ
โดยวางบนฉนวน
5

สายตัวนําหุมฉนวน (Cable)

พบไดในระบบจําหนายแบบเหนือดิน
( Overhade Distribution Line )
PIC ; Pacial Insulation Cable
หุมดวยฉนวน XLPE 1 ชั้น ไมสามารถจับตอง
สายดวยมือเปลาได เนื่องจากฉนวนบางมาก ซึ่ง
ชวยปอง กันการเกิดลัดวงจรจากกิ่งไม หรือวัสดุ
พาดสายของสายเปลือยเทานั้น ใชเดินในอากาศ
โดยตองวางบนวัสดุฉนวน
6

สายตัวนําหุมฉนวน (Cable)

พบไดในระบบจําหนายแบบเหนือดิน
( Overhade Distribution Line )
SAC
PIC ; ;Pacial SpaceInsulation
Aerial Cable Cable
หุหุมมดดววยฉนวน
ยชั้นสารกึ
XLPE ่งตัว1นําชั้นและไมสชัามารถจั
้น XLPEบและ ตอง
เพิ่มชั้นวเปลื
สายด ยมืออเปล
กสายาไดที่เเนืปน่องจากฉนวนบางมาก
XLPE อีก 1 ชั้น ทําใหซึม่งี
ชความหนาของฉนวนเพิ
วยปอง กันการเกิดลัดวงจรจากกิ ่มขึ้น ไมส ามารถจั
่งไม หรืบอวัตสอดุง
สายด ว ยมื อ เปล า ไดอสามารถติ
พาดสายของสายเปลื ยเทานั้น ใชดเตัดิ้ งนได ใ กล กั น
ในอากาศ
มากกว
โดยต า สาย PIC
องวางบนวั สดุฉแต นวน ยั ง ต อ งติ ด ตั้ ง บนฉนวนที่
เรียกวา Spacer
7

เมื่อนําสายไฟฟาแรงสูงหุมฉนวนรอยทอฝงดินหรือวางใกลบริเวณที่เปนกราวด

บริเวณที่สัมผัสหรือใกลกับกราวดจะมีความ
หนาแนนของสนามไฟฟาไมสม่ําเสมอสูง
High Electric Stress
ผลของสนามไฟฟาไมสม่ําเสมอสูงทําใหเกิด
Partial discharge เกิดความรอน นํามาซึ่งการ
เสื่อม สภาพของฉนวนแข็ง คา Dielectric
Strength ของเนื้อฉนวนลดลง และเกิดการเบรก
ดาวนในที่สุด
8

นํากราวดมาหุมรอบสายเคเบิ้ล เพื่อกระจายสนามไฟฟาใหสม่ําเสมอ
โดยหุมสายดวยชั้นสารกึ่งตัวนํา ( Semi-Cond. )
และ Metallic Shield
Insulation screen ชวยใหสายเคเบิลมีลักษณะเปน
ทรงกระบอกซ อ นแกนร วมโดยสมบู รณ ทํ าให สนามไฟฟ า
กระจายสม่ําเสมอมากขึ้น
Metal Shield ใชเปนจุดเชื่อมตอกราวนของสายเคเบิล
และเป น ทางให ก ระแสลั ด วงจรไหลกลั บ ในกรณี ลั ด วงจร
บางประเทศใชเปนทางเดินกลับของกระแสนิวทรัลดวย
9

นํากราวดมาหุมรอบสายเคเบิ้ล เพื่อกระจายสนามไฟฟาใหสม่ําเสมอ
เมื่อนํามกราวน
โดยหุ สายดวมยชั าห้นอสารกึ
หุมสายเคเบิ
่งตัวนํา้ล(ไวSemi-Cond.
สนามไฟฟาก็จ)ะ
กระจายตั
และ วอยางสม่
Metallic Shieldําเสมอ แตในการนําไปใชงาน เพื่อ
ป องกั นชั้ น Insulation
Insulation screenScreen ชวยใหสและ ายเคเบิMetal Shieldน
ลมีลักษณะเป
จากสภาพแวดล
ทรงกระบอกซ อม และวมโดยสมบู
อ นแกนร แรงทางกลรณจึงทํตาอใหงมีสชนามไฟฟ
ั้นเปลือกา
สาย (Jacket)
กระจายสม่ หอหุม้นไวอีกชั้นหนึ่ง
ําเสมอมากขึ
Metalอกสาย
โดยเปลื Shieldอาจป
ใชเปนนจุวัดสเชืดุ่อปมตระเภท
อกราวนPVC
ของสายเคเบิ
, PE หรื ลอ
และเป น ทางให ก ระแสลั ด วงจรไหลกลั บ ในกรณี ลั ด วงจร
HDPE ซึ่งโครงสรางนี้จะเปนโครงสรางพื้นฐานของสาย
บางประเทศใชเปนทางเดินกลับของกระแสนิวทรัลดวย
Power Cable โดยในการใชงาน อาจมีลักษณะหรือชั้น
วัสดุอื่นเพิ่มเติม ตามสภาพพื้นที่ หรือตามความจําเปน
การใชงาน
10

โครงสรางสาย Underground Cable


1. Conductor : ทําหนาที่นํากระแสไฟฟา ที่ใชงานในปจจุบันมักทําจากทองแดง ตีเกลียวอัดแนน (Compact Strand Conductor) เพื่อบีบใหขนาดเสนผานศูนยกลาง
ของตัวนําลดลง ชวยลดขนาดของวัสดุที่นํามาหุมได
2. Conductor Screen : ทําจากวัสดุกึ่งตัวนําซึ่งอาจเปนผาอาบ Carbon หรือเปน Extrude Layer ของสารสังเคราะหพวกพลาสติกผสมตัวนํา ทําหนาที่ใหผิวสัมผัส
ของตัวนํากับฉนวนเรียบไมมีชองวางอากาศที่มีศักดาไฟฟาสูงตกครอมซึ่งเปนสาเหตุของการเกิด Partial Discharge
3. Insulation : เปนสวนที่กันไมใหกระแสไฟฟารั่วไหล วัสดุที่นํามาใชมีหลายชนิด เชน กระดาษชุบน้ํามัน , XLPE (Cross linked Polyethylene) (สายเคเบิลใตดินของ
กฟภ.) มีลักษณะสีใสขาวขุน
4. Insulation Screen : วัสดุเปนสารสังเคราะหพวกพลาสติกผสมตัวนํา ทําหนาที่เหมือน Conductor Screen ทําใหผิวสัมผัสระหวาง Insulation และ Metallic
Screen เรียบเนียน ทําใหโครสรางของสายเคเบิลเปน ทรงกระบอกซอนแกนรวมโดยสมบูรณ
5. Metallic Screen (CU Wire & Tape) : เปนชั้นโลหะตัวนํามีหลายลักษณะ เชน เทปทองแดง (Tape Shield) , ลวดตัวนํา (Wire Shield) , ทอตะกั่ว (Lead
Sheet) ทออลูมิเนียม (Corrugated Cable) ทําหนาที่เปนจุดตอลงกราวดระบบ และกั้นสนามไฟฟาไมใหออกมาภายนอก ทําใหศักยไฟฟาตรงผิวสายเปนศูนย และเปน
เสนทางการนํากระแสลัดวงจร (Fault Return Path) กรณีที่มี Fault เกิดขึ้นภายในสายเคเบิล
6. Water Blocking Tape : เปนชั้นเทปทําจากสารสังเคราะหที่มี Swellable Powder ที่ใชเปนตัวดูดซับน้ํา ซึ่งจะขยายตัวกรณีที่มีความชึ้นเขามายังชั้นดังกลาว โดยจะ
ทําหนาที่ปองกันน้ําที่ทะลุชั้น Jacket เขามาอยูระหวางชั้น Metallic Screen และ PE Jacket ไมใหไหลตอเนื่องไปตามแนวยาว
7. PE Sheath (Jacket) : เปลือกชั้นนอกสุดของสายเคเบิลใตดิน เรียกโดยทั่วไปวา Jacket ทําจากวัสดุ PE, PVC ทําหนาที่ปองกันแรงทางกลที่มากระทําตอสายเคเบิล
11

ทําไมตองทํา Termination ในสาย Underground Cable

ELECTRIC FIELD
12

ทําไมตองทํา Termination ในสาย Underground Cable

0%
20 %
40 %
60 %
80 %
100 %

EQUIPOTENTIAL
LINES
13

เมื่อเปลี่ยนจาก Underground Cable ไป Overhead หรือเขาอุปกรณ

50% 60% 70% 80%


30% 40% 90%
20%
10%

Power Cable 19/33(36kV) kV

10%
20%
30% 40% 90%
50% 60% 70% 80%
14

การควบคุมสนามไฟฟาบริเวณปลายสายเคเบิลแบบ CAPACITIVE
50% 60%
40%

20% 80%

20% 80%

40%
50% 60%
15

การควบคุมสนามไฟฟาบริเวณปลายสายเคเบิลแบบ GEOMETRIC

40%
20% 50%
60%
80
%

80
60%
%
20% 50%
16

Outdoor Termination 115 kV Oil Type


17

Outdoor Termination 115 kV Dry Type


18

ขอมูลที่ตองใชในการพิจารณาในการเลือก Termination มาใชงาน

 โครงสรางสายของวงจรที่จะนําอุปกรณไปติดตั้ง
 ชนิดโลหะและพื้นที่หนาตัดของตัวนํา
 เสนผานศูนยกลางของชั้นฉนวน XLPE
 รูปแบบ และชนิดของชั้น Metallic shield
 ตําแหนงและลักษณะของพื้นที่ ที่จะนําอุปกรณไปติดตั้ง
 ระดับแรงดันใชงาน
ขั้นตอนการติดตั้ง Outdoor Termination 115 kV G&W
20

ขั้นตอนการติดตั้ง Outdoor Termination 115 kV G&W


21

ขั้นตอนการติดตั้ง Outdoor Termination 115 kV G&W


22

ขั้นตอนการติดตั้ง Outdoor Termination 115 kV G&W


23

ขั้นตอนการติดตั้ง Outdoor Termination 115 kV G&W


ขั้นตอนการติดตั้ง Outdoor Termination 115 kV G&W
25

ขั้นตอนการติดตั้ง Outdoor Termination 115 kV G&W


26

ขั้นตอนการติดตั้ง Outdoor Termination 115 kV G&W


27

ขั้นตอนการติดตั้ง Outdoor Termination 115 kV G&W


ขั้นตอนการติดตั้ง Outdoor Termination 115 kV G&W
ขั้นตอนการติดตั้ง Outdoor Termination 115 kV G&W
30

ขั้นตอนการติดตั้ง Outdoor Termination 115 kV G&W


31

ขั้นตอนการติดตั้ง Plug-in Termination 115 kV G&W


32

ขั้นตอนการติดตั้ง Plug-in Termination 115 kV G&W


33

ขั้นตอนการติดตั้ง Plug-in Termination 115 kV G&W


34

ขั้นตอนการติดตั้ง Plug-in Termination 115 kV G&W


ขั้นตอนการติดตั้ง Plug-in Termination 115 kV G&W
36

ขั้นตอนการติดตั้ง Plug-in Termination 115 kV G&W


37

ขั้นตอนการติดตั้ง Plug-in Termination 115 kV G&W


38

ขั้นตอนการติดตั้ง Plug-in Termination 115 kV G&W


ขั้นตอนการติดตั้ง Plug-in Termination 115 kV G&W
40

ขั้นตอนการติดตั้ง Plug-in Termination 115 kV G&W


ขั้นตอนการติดตั้ง Plug-in Termination 115 kV G&W
ขั้นตอนการติดตั้ง Plug-in Termination 115 kV G&W
ขั้นตอนการติดตั้ง Plug-in Termination 115 kV G&W
44

ขั้นตอนการติดตั้ง Plug-in Termination 115 kV G&W


45

ขั้นตอนการติดตั้ง Plug-in Termination 115 kV G&W


ขั้นตอนการติดตั้ง Plug-in Termination 115 kV G&W
ขั้นตอนการติดตั้ง Plug-in Termination 115 kV G&W
48

ขั้นตอนการติดตั้ง Plug-in Termination 115 kV G&W


49

ขั้นตอนการติดตั้ง Plug-in Termination 115 kV G&W


50

ขั้นตอนการติดตั้ง Plug-in Termination 115 kV G&W


51

ขั้นตอนการติดตั้ง Plug-in Termination 115 kV G&W


52

ขั้นตอนการติดตั้ง Plug-in Termination 115 kV G&W


ขั้นตอนการติดตั้ง Plug-in Termination 115 kV G&W
54

Q&A
ขอแนะนํา / ขอสงสัย / คําถาม

You might also like